หลักกา

Download Report

Transcript หลักกา

สือ่ การเรียนการสอน
วิชา
หลักการจัดซื้อ
บทที1่ หลักการใจการจัดซื้อ

บทนาในการบริหารการจัดซื้อ ในการผลิตสินค้าขององค์การอุตสาหกรรมหนึ่ง ๆ จาเป็ นอย่าง
ยิ่งจะต้องมีวตั ถุดบิ หรือพัสดุตา่ ง ๆ อย่างเพียงพอไม่นอ้ ยเกินไปหรือมากเกินไป เพราะถ้า
หากมีวตั ถุดบิ น้อยเกินไปอาจทาให้วตั ถุดบิ ขาดมือ และถ้าหากมีวตั ถุดบิ มากเกินไป จะทาให้มี
ค่าจ่ายสูงเกินความจาเป็ น และจะส่งผลต่อราคาสินค้าต่อหน่วยทีจ่ ะมีราคาสูงตามด้วย ในทาง
การบริหารจาเป็ นอย่างยิ่งทีจ่ ะทาให้วตั ถุดบิ มีเพียงพอต่อการผลิต การจัดซื้อและการบริหาร
เกี่ยวกับสินค้าคงคลัง จึงเป็ นงานหลักอย่างหนึ่งในการประกอบธุรกิจ

ความหมายของการจัดซื้อ การจัดซื้อ (Purchasing) หมายถึง การ
ดาเนินงานตามขัน้ ตอนต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึง่ วัตถุดบิ วัสดุ และสิง่ ของเครือ่ งใช้
ต่าง ๆ ทีจ่ าเป็ นโดยมีคณ
ุ สมบัติ ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา แหล่งขาย และการ
นาส่ง ณ สถานทีถ่ ูกต้อง (ปราณี ตันประยูร, 2537 : 137)
 นโยบายการจัดซื้อ
ตุรกีเป็ นอีกประเทศหนึ่งทีใ่ ห้ความสาคัญกับนโยบายส่งเสริม
การลงทุนโดยตรงจาก
ต่างประเทศ(Foreign Direct Investment: FDI) มาก
โดยได้มีการแก้ไขกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจของคนต่างชาติ การ
ร่วมลงทุน และได้พฒ
ั นามาตรการส่งเสริมการลงทุนมาโดยตลอดนับตัง้ แต่ปี
1954 จนถึงปั จจุบนั
ปั จจุบนั มีบริษทั ทีร่ ว่ มลงทุนระหว่างชาวตุรกีกบั ต่างชาติ(Foreign
Partnership) ประมาณ 5,000 บริษทั โดยประเทศทีเ่ ข้ามาลงทุนตุรกี
สูงสุดพิจารณาจากการเคลื่อนย้ายทุนสะสม (Cumulative
Capital Inflow) ตัง้ แต่ปี 1995 คือ กลุม่ สหภาพยุโรป (เยอรมัน
ฝรัง่ เศส เนเธอร์แลนด์ สวิสเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และอิตาลี)
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ซาอุดอิ าระเบีย

วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ
1. เพื่อให้มีวตั ถุดบิ และวัสดุอน่ื ๆ ในการผลิตอย่างเพียงพอ
2. เพื่อรักษาคุณสมบัตขิ องวัตถุดบิ ทีจ่ ดั ซื้อให้ได้มาตรฐานเดียวกัน
3. เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียหาย และความล้าสมัยวัตถุดบิ
4. เพื่อให้กิจการมีกาไร มีตน้ ทุนในการจัดซื้อตา่ วัตถุดบิ ทีใ่ ช้เพียงพอ
5. หลีกเลี่ยงปั ญหาพัสดุซา้ กัน

หน้าที่เกีย่ วกับการจัดซื้อสินค้า การจัดซื้อวัสดุเพื่อนามาใช้ในการผลิตและการ
ดาเนินงานของธุรกิจเป็ นภาระกิจที่ตอ้ งปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง การปฏิบตั ิงานใน
ช่วงหนึ่ง ๆ จะเกี่ยวพันกับการจัดซื้อหลาย ๆ รายการ แต่ละรายมีความแตกต่าง
ในด้านคุณสมบัติ ราคา จานวน แหล่งขาย การปฏิบตั ิการจัดซื้อมีหลาย
ขัน้ ตอน แต่ละขัน้ ตอนมีเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องจานวนมาก ด้วยเหตุน้ ีการจัดซื้อจึง
ต้องใช้แรงงาน เวลาและต้นทุนสูง การจัดระบบปฏิบตั ใิ นการสัง่ ซื้ออย่างมี
ประสิทธิภาพจะช่วยให้การจัดซื้อดาเนินไปด้วยความคล่องตัว และถูกต้อง
เหมาะสม

ความรับผิดชอบของฝ่ ายจัดซื้อ เมื่อองค์การมีความจาเป็ น ทีจ่ ะต้องมีการ
ซื้อ (Purchasing) แผนกจัดซื้อหรือแผนกจัดซื้อ จะต้องพยายาม
จัดซื้อให้ดที ส่ี ุด เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายของการจัดซื้อ โดยการจัดซื้อทีด่ ที ส่ี ุด
จะต้องคานึงถึงประเด็นสาคัญ ดังนี้
1. คุณสมบัตทิ ถี่ ูกต้อง
2. ปริมาณทีถ่ ูกต้อง
3. ราคาทีถ่ ูกต้อง
4. ช่วงเวลาทีถ่ ูกต้อง
5. แหล่งขายทีถ่ ูกต้อง
6. การนาส่งทีถ่ ูกต้อง
 การสารวจความต้องการของลูกค้า
เมื่อได้ผลการสารวจความต้องการของลูกค้า
(Whats) และระดับความสาคัญของความต้องการแต่ละข้อแล้ว ทีมงาน
จะต้องพิจารณาข้อกาหนดทางเทคนิคต่างๆ (Hows) ทีจ่ ะสามารถตอบสนอง
ความต้องการของลูกค้าได้ โดยนามาเขียนอยูใ่ นรูปของแมทริกซ์ความสัมพันธ์
(What V.S. Hows) และข้อกาหนดทางเทคนิคต่างๆ นัน้ จะถูกนามา
หาความสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน โดยเขียนเป็ นแมทริกซ์รูปสามเหลี่ยม เหนือ
แมทริกซ์ความสัมพันธ์ระหว่าง Whats กับHows อันเปรียบเสมือน
หลังคาของบ้านคุณภาพ

การจัดการสารสนเทศในงานจัดซื้อสินค้าและวัตถุดบิ ขบวนการในการผลิต
ประกอบด้วยงานทีข่ ้ นึ ต่อกันมากมาย โดยการนาระบบการวางแผนทรัพยากรของ
องค์กรมาใช้รว่ มในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิตจะช่วยให้การทางานมี
ความยืดหยุน่ และมีการจัดหาทรัพยากรทีต่ อ้ งการใช้ได้ทนั ต่อความต้องการ โดย
จุดประสงค์ของขบวนการผลิตก็คอื การผลิตได้ตรงตามความพอใจหรือความต้องการ
ของลูกค้านัน่ เอง
ในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิต ภาระของผูบ้ ริหารในการดูแล
ควบคุมงานจะถูกลดลงไป, งานด้านเอกสารต่างๆ จะถูกปรับให้อยูใ่ นรูปของขบวนการ
ออนไลน์และการติดต่อสือ่ สารข้อมูลจะใช้งานผ่านระบบการ แลกเปลีย่ นข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ (EDI) และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทน อีกทัง้ ในการวางแผนการใช้
ทรัพยากรของ องค์กรเพื่อการผลิตจะใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายอินทราเน็ต
ในองค์กร เพื่อติดต่อกับหน่วยงานธุรกิจทัง้ ในและต่างประเทศ เพื่อปฏิบตั งิ านและงาน
ควบคุมงานต่างๆ ทัง้ แบบศูนย์กลางและแบบกระจายได้ รูปที่ 16 แสดงภาพรวมของ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิต

หลักการพิจารณาจัดซื้อสินค้า
1. รับการวิเคราะห์ใบขอให้ซ้ อื (Purchase Requisition) ซึง่ จะวิเคราะห์
ถึงประเภทของสิง่ ของและจานวนทีซ่ ้ อื
2. ศึกษาถึงสภาตลาด แหล่งทีจ่ ะจัดซื้อ และผูข้ าย
3. ส่งใบขอให้เสนอราคา (Request for Quotations) ไปยังผูข้ าย
หลาบ ๆ แหล่ง
4. รับและวิเคราะห์ใบขอให้เสนอราคาจากผูข้ าย
5. เลือกผูข้ ายทีเ่ สนอราคาและเงื่อนไขต่าง ๆ ทีด่ ที สี่ ุด
6. คานวณราคาของสิง่ ของทีจ่ ะสัง่ ซื้อให้ถูกต้อง
7. ส่งใบสัง่ ซื้อ (Purchase Order) ไปยังผูข้ ายทีต่ อ้ งการจะซื้อ
8. ติดตามผลให้เป็ นไปตามทีไ่ ด้ตดิ ต่อหรือตามสัญญา
9. วิเคราะห์รายงานการรับรองของ
10. วิเคราะห์และตรวจสอบใบกากับสินค้า (Invoice) ของผูข้ ายเพื่อการจ่ายเงิน

วิธีการบริหารการจัดซื้อ การจัดซื้อวัสดุเพื่อนามาใช้ในการผลิตและการดาเนินงาน
ของธุรกิจเป็ นภาระกิจที่ตอ้ งปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง การปฏิบตั งิ านในช่วงหนึ่ง ๆ
จะเกี่ยวพันกับการจัดซื้อหลาย ๆ รายการ แต่ละรายมีความแตกต่างในด้าน
คุณสมบัติ ราคา จานวน แหล่งขาย การปฏิบตั ิการจัดซื้อมีหลายขัน้ ตอน แต่
ละขัน้ ตอนมีเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องจานวนมาก ด้วยเหตุน้ ีการจัดซื้อจึงต้องใช้
แรงงาน เวลาและต้นทุนสูง การจัดระบบปฏิบตั ใิ นการสัง่ ซื้ออย่างมีประสิทธิภาพ
จะช่วยให้การจัดซื้อดาเนินไปด้วยความคล่องตัว และถูกต้องเหมาะสม

การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า ในการสัง่ สินค้าคงคลังเข้ามาในโรงงาน เพื่อทา
การผลิตหรือสัง่ สินค้าเพื่อเข้ามาจาหน่ายนัน้ ผูบ้ ริหารโรงงาน หรือผูส้ งั่ จะต้องตัง้
คาถามให้ตวั เองว่าจะสัง่ จานวนเท่าใด จึงจะเหมาะสมต้นทุนการสัง่ อยูใ่ นระดับ
ตา่ สุด เพราะถ้าสัง่ มากจะทาให้เกิดปั ญหาอืน่ ๆ ตามมา เช่น สถานที
เก็บ ดอกเบี้ย ค่าดูแลรักษา เงินจม (Sleeping capital) ใน
รูปผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น ฉะนัน้ การสัง่ สินค้าคงคลังเข้ามานัน้ จึงต้องวิเคราะห์
ต้นทุนให้ตา่ วิธีการสัง่ สินค้าคงคลังให้ตน้ ทุนตา่ และถ้าผลิตจะต้องผลิตให้มี
ความเหมาะสม
บทที2่ การจัดซื้อกับโลจิสติกส์

โลจิสติกส์กบั การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดจ้างนัน้ มีทงั้ ผลประโยชน์และความเสีย่ งที่
เราจะต้องเข้าใจมันเป็ นอย่างดีกอ่ นทีจ่ ะมีการตัดสินใจทีจ่ ะมีการจัดจ้างกิจกรรมใด
กิจกรรมหนึ่งในองค์กรนัน้ ออกไป ซึง่ ผลประโยชน์ทม่ี กั จะมีการกล่าวถึงเป็ นอย่าง
มากก็อย่างเช่น การลดต้นทุน การลดเงินทุนทีต่ อ้ งใช้ และการทีอ่ งค์กรสามารถที่
จะมุง่ เน้นในธุรกิจหลัก ซึง่ จากผลประโยชน์ตา่ งๆ เหล่านี้เองทีเ่ ป็ นเหตุจงู ใจให้
หลายๆ บริษทั นัน้ มีการริเริม่ การจัดจ้างด้านโลจิสติกส์กนั มากขึ้นโดยก็มีตวั อย่าง
ให้เห็นกันพอสมควร เช่น การทีบ่ ริษทั นา้ มันจัดจ้างการขนส่งให้กบั บริษทั ผูข้ นส่ง
การทีบ่ ริษทั ค้าปลีกจัดจ้างการบริหารการกระจายสินค้าให้กบั ผูใ้ ห้บริการโลจิ
สติกส์ และการทีบ่ ริษทั ประกอบรถยนต์จดั จ้างการนาชิ้นส่วนประกอบรถยนต์เข้า
โรงงานให้กบั ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์

การจัดซื้อ กับแบบจาลองอ้างอิงการดาเนินงานซัพพลายเซน โลจิสติกส์ บิวโร
(เอเชีย) เป็ นบริษทั ทีป่ รึกษาทางด้านโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน ทีก่ ล้ารับประกัน
ผลงาน เรากล้ารับประกันว่าเราจะนาเสนอผลงานตามทีเ่ ราได้ตกลงกับท่านไว้
บริษทั ของเราประกอบไปด้วยทีป่ รึกษาทีม่ ีประสบการณ์ มีความรู ้ ความสามารถ
และความเชีย่ วชาญด้านโลจิสติกส์ และซัพลายเชน เนื่องจากเราเข้าใจเป้ าหมาย
การดาเนินธุรกิจเป็ นอย่างดี เราจึงสามารถให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงและ
พัฒนาซัพพลายเชน และระบบโลจิสติกส์ของธุรกิจของท่าน เพื่อให้ธุรกิจของท่าน
บรรลุผลตามเป้ าหมายทีต่ งั้ ไว้

ความสัมพันของงานจัดซื้อกับฝ่ ายงานอืน่ ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์
(Customer Relationship Management : CRM) เป็ น
กลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว กับลูกค้า เรียนรูค้ วามต้องการ
ทีแ่ ตกต่างกันของลูกค้า และตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยสินค้า หรือ
บริการทีเ่ หมาะสมกับลูกค้าแต่ละคนมากที่สุด

ต้นทุนรวมการได้มาของสินค้า ในแนวทางปฏิบตั ิทางการบัญชี ตาม มาตรฐาน
การบัญชีฉบับที่ 33 เรือ่ ง ต้นทุนการกูย้ ืม กาหนดให้ถือปฏิบตั ิ คือ ต้นทุนการ
กูย้ ืมต้องถือเป็ นค่าใช้จา่ ยในงวดบัญชีทค่ี า่ ใช้จา่ ยนัน้ เกิดขึ้น โดยมิตอ้ งคานึงถึง
วัตถุประสงค์ของการกูย้ ืม ยกเว้น ต้นทุนการกูย้ ืมทีเ่ กี่ยวข้องโดยตรงกับการ
ได้มา การก่อสร้าง หรือ การผลิตสินทรัพย์ทเี่ ข้าเงื่อนไข และมีความเป็ นไปได้
ค่อนข้างแน่นอนว่า ต้นทุนการกูย้ ืมดังกล่าว จะก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
แก่กิจการในอนาคต และ กิจการสามารถประมาณการจานวนต้นทุนการกูย้ ืมได้
อย่างน่าเชือ่ ถือ กิจการจึงสามารถนามารวมเป็ นราคาทุนของสินทรัพย์นนั้ ได้

การกาหนดปริมาณการจัดซื้อสินค้า การกาหนดจานวนระดับของช่องทางการ
จาหน่าย (the level of distribution channel) เป็ นการ
พิจารณาถึงจานวนระดับคนกลางภายในเส้นทางที่สนิ ค้าและ (หรือ) กรรมสิทธิ์ใน
สินค้าเคลื่อนย้ายจากผูผ้ ลิตไปยังตลาด ถ้าไม่ผา่ นคนกลางเลยเรียกว่า ช่อง
ทางการจัดจาหน่ายตรง (direct channel) หรือ การขายตรง (direct
selling) หรือช่องทางการจัดจาหน่ายทีส่ นั้ ถ้าผ่านคนกลางน้อยระดับ
เรียกว่า ช่องทางการจัดจาหน่ายค่อนข้างสัน้ ถ้าผ่านคนกลางหลายระดับ เรียกว่า
ช่องทางการจัดจาหน่ายยาว ซึง่ ศิรวิ รรณ เสรีรตั น์ และคณะ (2541 : 408) ได้
แบ่งปั จจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่อการกาหนดจานวนระดับของช่องทางการจัดจาหน่าย
บทที่ 3 วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง

วิธีการจัดซื้อ
1. รับการวิเคราะห์ใบขอให้ซ้ อื (Purchase Requisition) ซึง่ จะวิเคราะห์ถึง
ประเภทของสิง่ ของและจานวนทีซ่ ้ อื
2. ศึกษาถึงสภาตลาด แหล่งทีจ่ ะจัดซื้อ และผูข้ าย
3. ส่งใบขอให้เสนอราคา (Request for Quotations) ไปยังผูข้ ายหลาบ ๆ
แหล่ง
4. รับและวิเคราะห์ใบขอให้เสนอราคาจากผูข้ าย
5. เลือกผูข้ ายทีเ่ สนอราคาและเงื่อนไขต่าง ๆ ทีด่ ที สี่ ุด
6. คานวณราคาของสิง่ ของทีจ่ ะสัง่ ซื้อให้ถูกต้อง
7. ส่งใบสัง่ ซื้อ (Purchase Order) ไปยังผูข้ ายทีต่ อ้ งการจะซื้อ
8. ติดตามผลให้เป็ นไปตามทีไ่ ด้ตดิ ต่อหรือตามสัญญา
9. วิเคราะห์รายงานการรับรองของ
10. วิเคราะห์และตรวจสอบใบกากับสินค้า (Invoice) ของผูข้ ายเพื่อการจ่ายเงิน
 การจัดซื้อแบบพิเศษ
และการจัดซื้อในซัพพลายเชน การจัดการซัพพลายเชน
และลอจิสติกส์ (Supply Chain and Logistics
Management) เป็ นกระบวนการทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดบิ
การผลิต การจาหน่าย การจัดเก็บสินค้า การขนส่งหรือการส่งมอบสินค้าและ
บริการให้กบั ลูกค้า โดยเชือ่ มโยงกระบวนการทุกขัน้ ตอนเข้าด้วยกันเป็ นห่วงโซ่
หรือเครือข่าย ทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร ตัง้ แต่ธุรกิจต้นนา้ กลางนา้ และ
ปลายนา้ อาทิ คูค่ า้ ผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ ผูจ้ ดั จาหน่าย หรือ ร้านค้าปลีก ให้เกิดการ
ประสานงานอย่างต่อเนื่องและไปในแนวทางเดียวกัน ด้วยการนาสินค้าทีถ่ ูกต้อง
ไปยังสถานทีท่ ถี่ ูกต้อง ในเวลาทีถ่ ูกต้อง ต้นทุนตา่ ลง
บทที่ 4 วิธีปฏิบตั ใิ นการจัดซื้อ

ขัน้ ตอนในการจัดซื้อเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ จะประกอบไปด้วยขัน้ ตอนทีส่ าคัญ 5 ประการด้วยกันคือ
1 กาหนดทิศทาง (Direction Setting) ในการกาหนดทิศทางขององค์กรจะ
ประกอบด้วย การกาหนดวิสยั ทัศน์ ( Vision ) ภารกิจ ( Mission ) และเป้ าหมาย
(Gold) ซึง่ วิสยั ทัศน์ (Vision)
2. การประเมินสภาพแวดล้อมขององค์กร(Environment Scanning) ในการประเมิน
สภาพแวดล้อมขององค์กรนัน้ จะประกอบไปด้วยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
3. การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) เป็ นการพัฒนาแผนระยะยาว
ขององค์กร ธุรกิจโดยอาศัยข้อมูลโอกาสและอุปสรรคทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายนอก และจุดแข็ง จุดอ่อนทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน โดยผูบ้ ริหารองค์กร
จะต้องกาหนด
4. การนากลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ (Strategy Implementation) เป็ นกระบวนการที่
ผูบ้ ริหารแปลงกลยุทธ์ และนโยบายไปสูแ่ ผนการดาเนินงาน กาหนดรายละเอียดด้านต่าง ๆ
เช่น ด้านงบประมาณ หรือวิธีการดาเนินงานซึง่ กระบวนการนี้อาจจะเกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงภายในด้านวัฒนธรรม โครงสร้าง
5. การควบคุม และการประเมินผล(Control and Evaluation) การควบคุมกล
ยุทธ์ เป็ นหน้าทีส่ าคัญทีเ่ กี่ยวข้องกับการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลกลยุทธ์ทน่ี าไปปฏิบตั ิ
ทัง้ นี้ในการนากลยุทธ์ไปปฏิบตั นิ นั้ มักจะเกิดข้อผิดพลาดทีต่ อ้ งการการปรับปรุงเพื่อให้แน่ใจว่า
กลยุทธ์นนั้ จะก่อให้เกิดผลการปฏิบตั งิ านทีต่ รงตามแผนทีไ่ ด้ตงั้ เอาไว้

กิจกรรมที่เกีย่ วข้องในงานจัดซื้อ การจัดซื้อจัดหา หรือทีเ่ ป็ นทีร่ ูจ้ กั ในชือ่ ของการ
จัดหา (Procurement) เป็ นจุดเชือ่ มโยงทีส่ าคัญในโซ่อุปทาน สามารถมี
อิทธิพลต่อความสาเร็จโดยรวมขององค์กรได้มาก สิง่ สาคัญของงานจัดซื้อจัดหาก็
คือ จะต้องมีอุปทานของวัตถุดบิ ที่พอเพียง ในราคาทีเ่ หมาะสม มีคณ
ุ ภาพตามที่
ต้องการ ในสถานทีท่ ถี่ ูกต้อง และในเวลาทีถ่ ูกต้องมีความสาคัญต่อโรงงานผลิต
ใดๆ ก็ตาม กระบวนการนี้มีความสาคัญมากทีใ่ นช่วงเวลาหลายปี ทผี่ า่ นมา
หลายๆ องค์กรได้สร้างหน่วยงานและฝ่ ายทีม่ ีขนาดใหญ่ เพื่อจัดการกับธุรกรรม
กับซัพพลายเออร์

การคัดเลือกผูข้ ายปั จจัยการผลิตและการให้คะแนน
ธุรกิจทีป่ ระสบความสาเร็จได้นนั้ แน่นอนว่าต้องมีองค์ประกอบหลายอย่างเข้ามา
เกี่ยวข้องด้วยโดยเฉพาะในส่วนของปั จจัยการผลิตทีเ่ รียกว่า “วัตถุดบิ ” เพราะ
สินค้าทีว่ างขายอยูบ่ นชัน้ วางจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลยหากปราศจาก
องค์ประกอบต่างๆ จึงไม่แปลกทีผ่ ปู ้ ระกอบการจะให้ความสาคัญในเรือ่ งการ
คัดเลือกวัตถุดบิ มาเป็ นพิเศษ ทาให้ผปู ้ ระกอบการหลายๆคนมักจะสร้างปั จจัย
การผลิตเองแทบจะทุกขัน้ ตอน ซึง่ ในความเป็ นจริงแล้วยังมีอกี ทางเลือกหนึ่งที่
ประหยัดทัง้ เวลาและทรัพย์ นัน่ ก็คอื การสร้างเครือข่ายเพื่อป้ อนปั จจัยการผลิต
ให้กบั บริษทั นัน่ เอง ซึง่ ข้อดีของวิธีดงั กล่าวมีดงั ต่อไปนี้

วิธีปฏิติเกีย่ วกับการจัดซื้อ การจัดซื้อวัสดุเพื่อนามาใช้ในการผลิตและการ
ดาเนินงานของธุรกิจเป็ นภาระกิจที่ตอ้ งปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง การปฏิบตั ิงานใน
ช่วงหนึ่ง ๆ จะเกี่ยวพันกับการจัดซื้อหลาย ๆ รายการ แต่ละรายมีความแตกต่าง
ในด้านคุณสมบัติ ราคา จานวน แหล่งขาย การปฏิบตั ิการจัดซื้อมีหลาย
ขัน้ ตอน แต่ละขัน้ ตอนมีเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องจานวนมาก ด้วยเหตุน้ ีการจัดซื้อจึง
ต้องใช้แรงงาน เวลาและต้นทุนสูง การจัดระบบปฏิบตั ใิ นการสัง่ ซื้ออย่างมี
ประสิทธิภาพจะช่วยให้การจัดซื้อดาเนินไปด้วยความคล่องตัว

กระบวนการจัดซื้อภาครัฐระดับสากล
สาหรับการประชุมในครัง้ นี้ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากส่วนราชการภาครัฐภาค
เอกชน และภาคประชาสังคม ได้แก่ กระทรวงการคลัง สานักงานคณะกรรมการ
ป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) สานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดิน (สตง.) สานักงบประมาณ สานักงานอัยการสูงสุด สานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา สานัก งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภา
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยในพระบรมราชู
ประถัมภ์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สมาคมวิศวกรทีป่ รึกษา
แห่งประเทศไทย และธนาคารโลก (World Bank)

กระบวนการจัดซื้อแบบอิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้ ามีบทบาทอันสาคัญยิง่ ต่อความเจริญก้าวหน้าใน
ทุกๆ ด้านของประเทศ ในปี 2250 ประเทศไทยมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้ าสูงถึง
132,492.12 GWH ซึง่ เพิ่มขึ้นจาก 28,110.37 GWH เมื่อ 20 ปี ทแี่ ล้ว และมีแนวโน้ม
การใช้งานทีม่ ากยิ่งขึ้นกว่าเดิมด้วย การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคเป็ นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจทีใ่ ห้บริการ
จาหน่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั ผูใ้ ช้ไฟในพื้นทีส่ ว่ นภูมิภาค 73 จังหวัดทัว่ ประเทศ จึงต้องเพิ่มขีด
ความสามารถในการบริการเพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟอย่างเพียงพอ ดังนัน้ ความต้องการ
พัสดุอุปกรณ์ตา่ งๆ เพื่อใช้ในแผนงานการก่อสร้าง ปรับปรุง และขยายเขตระบบสายส่งและ
ระบบจาหน่ายจึงเพิ่มขึ้นมากตามไปด้วย ปัญหาสาคัญทีก่ ารไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคกาลังประสบอยู่
ขณะนี้คอื ระยะเวลาในการดาเนินการจัดซื้อจัดหาทีน่ าน 7 ถึง 8 เดือน ทาให้การไฟฟ้ าส่วน
ภูมิภาคนัน้ มีพสั ดุคงคลังในมูลค่าสูงกว่า 6,000 ล้านบาท การวิจยั โครงการเฉพาะเรือ่ งฉบับนี้
เป็ นการศึกษากระบวนการจัดซื้อจัดหาพัสดุโดยการประกวดราคาด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Auction) และใช้เทคนิคการสร้างแบบจาลองสถานการณ์กระบวนการธุรกิจ
(Business Process Simulation) ด้วยโปรแกรม ARENA เวอร์ชนั่ 10.0
มาเป็ นเครือ่ งมือในการหาแนวทางปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อเพื่อลดระยะเวลาดาเนินการลง
สาหรับแนวทางการปรับปรุงนัน้ จะใช้แนวคิดการปรับปรุงกระบวนการธุรกิจ (Business
Process Reengineering) โดยออกแบบ
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง

การจัดองค์การจัดซื้อจัดจ้าง ในการจัดซื้อวัสดุนนั้ บริษทั เป็ นฝ่ ายผูซ้ ้ อื เจ้าของ
แหล่งวัสดุเป็ นฝ่ ายผูข้ าย ฝ่ ายใดมีอานาจการต่อรองสูงฝ่ ายนัน้ จะเป็ นฝ่ าย
ได้เปรียบ เพื่อป้ องกันมิให้เสียเปรียบบริษทั จึงต้องพยายามรักษาดุลยภาพของ
อานาจในการต่อรองเอาไว้

วิธีการออกแบบโครงสร้างองค์การฝ่ ายจัดซื้อ การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็ นการ
กาหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทาง ภารกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์การธุรกิจอย่างเป็ น
ระบบ ดังนัน้ การจัดการเชิงกลยุทธ์จงึ เป็ นสิง่ ทีก่ าหนดทิศทางขององค์การ และ
ช่วยให้นกั บริหารปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การตระหนัก
ถึงความเปลี่ยนแปลงนัน้ ทาให้นกั บริหารสามารถกาหนดวัตถุประสงค์และทิศ
ทางการดาเนินงานอย่างเป็ นรูปธรรม สอดคล้องกับสภาวะความเปลี่ยนแปลงได้
. วางแผนงานของบริษทั โดยการกาหนด
พันธกิจของบริษทั จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
และอุปสรรคของบริษทั เป้ าหมาย กลยุทธ์ แผนงาน วิธีการปฏิบตั ิงาน ตลอดจน
การประเมินผล และควบคุมการทางานร่วมกับฝ่ ายต่างๆ ของบริษทั
 อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
 การจัดการองค์การของฝ่ ายจัดซื้อ
แต่ละฝ่ ายแต่ละส่วนงานทีม่ ีเจ้าหน้าทีธ่ ุรการ
ส่วนใหญ่จะมีหน้าทีใ่ นการดาเนินงานด้านเอกสารภายในส่วนในฝ่ ายนัน้ ๆ และจะ
เหมารวมไปถึงการประสานงานกับส่วนงานอืน่ ๆ ทัง้ ภายในองค์กรและภายนอก
องค์กรก็ได้ ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ องค์กรส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญกับงานธุรการใน
แง่ทวี่ า่ งานธุรการเป็ นหัวใจหลักของการประสานงานต่างๆ การเก็บข้อมูลเอกสาร
ทีส่ าคัญๆ ของส่วนงานต่างๆ ภายในองค์กรนัน่ เอง

การบริหารบุคลากรฝ่ ายจัด ต้องเริม่ ตัง้ แต่กระบวน การคัดเลือกผูข้ ายทีม่ ี
คุณภาพ เมื่อสัง่ สินค้าแล้วควรมีการติดตามของว่าจะเข้าทันกาหนดหรือไม่ และ
ควรตัง้ เรือ่ งการส่งมอบเป็ นหัวข้อหนึ่งในการประเมินผูข้ ายด้วย ควรทาความ
เข้าใจ Lead time ของผูข้ าย อย่าเร่งรัด บีบบังคับให้ผขู ้ ายรับปาก เพราะ
การรับปาก หรือการยืนยันอาจทาไปแบบต้องเกรงอกเกรงใจผูซ้ ้ อื ก็ได้
ซื้อ

คุณสมบัติของบุคลากรฝ่ ายจัดซื้อ
1. วางแผนการจัดซื้อจัดหาวัตถุดบิ และอุปกรณ์เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการ
ดาเนินงานของบริษทั
2. กาหนดวิธีและกระบวนการในการจัดซื้อจัดจ้าง และควบคุมดูแลการจัดซื้อของพนักงานใน
แผนก
3. ร่วมกับผูใ้ ช้งานในการกาหนดคุณลักษณะและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และบริการที่
ต้องการ
4. เจรจาต่อรองกับผูข้ าย ในด้านราคา คุณลักษณะของสินค้าทีเ่ หมาะสม
5. ร่วมในการคัดเลือกและประเมินผูข้ าย เพื่อให้ได้ผขู ้ ายทีม่ ีคณ
ุ ภาพ

คุณสมบัติของผูจ้ ดั ซื้อ
1. ซือ่ สัตย์และโปร่งใส
ข้อนี้ยกให้เป็ นสิง่ ทีส่ าคัญอันดับแรก นักจัดซื้อทีด่ ี ต้องมีจติ สานึกของความซือ่ สัตย์
และทางานทุกอย่างด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
2.รูจ้ กั วางแผน
การวางแผนช่วยให้เราเตรียมตัวป้ องกัน สิง่ ผิดพลาดทีอ่ าจจะเกิดขึ้นได้
และช่วยเราให้ประหยัดต้นทุนค่าใช้จา่ ย และประหยัดเวลาได้อย่างมาก
การวางแผนในการจัดซื้อช่วยให้เรา ซื้อของในปริมาณทีพ่ อเหมาะ
และได้ราคาทีเ่ หมาะสม
3.บริหารเวลาเป็ น
งานจัดซื้อทุกอย่างมีกาหนดระยะเวลามาเป็ นเงื่อนไข กาหนดกรอบการทางานของเรา
4.จัดลาดับความสาคัญของงาน
5. มีทศั นคติทดี่ ตี อ่ งาน หรือ ทาใจให้รกั งาน
6. มีความอดทนสูง ต่อแรงกดดันจากรอบข้าง
งานจัดซื้อนอกจากต้องแข่งกับเวลาแล้ว ยังต้องติดต่อ
ประสานงานกับหน่วยงานอืน่ ๆอีกมาก ทัง้ จากภายใน ภายนอก รวมทัง้ ผูม้ ีอานาจบริหาร
ความอึดและอดทนต่อแรงกดดัน เสียงวิจารณ์รอบข้าง สาคัญต่อจิตใจและร่างกายมากๆ

การคัดเลือกบุคลากรฝ่ ายจัดซื้อ
1.
ควบคุมดูแลรับผิดชอบงานของฝ่ ายจัดซื้อในส่วนสานักงานใหญ่ รวมถึง
การติดต่อระหว่างฝ่ ายจัดซื้อของโรงงานและสานักงานใหญ่ดว้ ย
2. วางแผนการจัดซื้อจัดหาวัตถุดบ
ิ และอุปกรณ์เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ เพื่อให้สอดคล้อง
กับแผนการดาเนินงานของบริษทั
3. กาหนดวิธีและกระบวนการในการจัดซื้อจัดจ้าง และควบคุมดูแลการจัดซื้อของ
พนักงานในแผนก
่ ีประสิทธิภาพ
4. ร่วมในการคัดเลือกและประเมินผูข้ าย เพื่อให้ได้ผขู ้ ายทีม
5. เจรจาต่อรองกับผูข้ ายในด้านราคา คุณลักษณะของสินค้าทีเ่ หมาะสม

การพัฒนาผลงานและจรรยาบรรณของนักจัดซื้อ ใครๆก็สามารถทีจ่ ะจัดซื้อสินค้า
และบริการได้ แต่การบริหารงานจัดซื้อทีม่ ีประสิทธิภาพเท่านัน้ ทีช่ ว่ ยให้องค์กร
สามารถแข่งขันได้ในธุรกิจทุกวันนี้ นอกจากประสบการณ์แล้ว นักจัดซื้อ
จาเป็ นต้องรูห้ ลักการและแนวทางทีถ่ ูกต้อง ซึง่ นักบริหารงานจัดซื้อมืออาชีพได้
นาไปปฏิบตั ิอย่างได้ผลมาแล้ว การสัมมนาในครัง้ นี้ถือเป็ นหลักสูตรขัน้ พื้นฐาน
ซึง่ จะทาให้ผเู ้ ข้าอบรมได้เห็นภาพรวมของการบริหารงานจัดซื้อ เข้าใจเป้ าหมาย
และความสาคัญของงานจัดซื้อทีม่ ีตอ่ องค์กร และทราบเทคนิคต่างๆทีใ่ ช้ในการ
บริหารงานจัดซื้อ
บทที่ 6 การวางแผน และงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง

วัตถุประสงค์ของการวางแผนจัดซื้อ ทุกวันนี้ "นักจัดซื้อและฝ่ ายจัดซื้อ" เป็ นที่
ยอมรับโดยทัว่ ไปทัง้ ในหน่วยงานภาครัฐบาล
และเอกชนภายในประเทศและในระดับสากลว่า...
มีบทบาทสาคัญอย่างมากในการสนับสนุนการทางานขององค์กร
ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทัง้ ยังสามารถเพิ่มพูนผลกาไรให้กบั บริษทั
ส่งผลให้ชนะคูแ่ ข่งขันในเชิงธุรกิจได้ในทีส่ ุด

กระบวนการการวางแผนการจัดซื้อ ในการวางแผนความต้องการวัตถุดบิ นัน้
เป็ นการวางแผนการผลิตและควบคุมวัตถุดบิ ทีอ่ าศัยคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย หรือ
เป็ นทีร่ ูจ้ กั กันว่าเป็ นการวางแผนความต้องการตามช่วงเวลา (Time Phase
Requirement Planning) MRP จะเกี่ยวข้องกับการจัดตารางการ
ผลิต และควบคุมวัสดุคงคลัง โดยทาหน้าทีเ่ ป็ นกลไกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ตารางการผลิต เมื่อมีการทบทวนแผนงานเกิดขึ้น นอกจากนัน้ ยังช่วยทาให้การ
คงคลังมีระดับตา่ สุด และมีวตั ถุดบิ ไว้ใช้อย่างพอเพียงเมื่อต้องการ โดย
จุดประสงค์หลักของระบบ MRP

งบประมาณการจัดซื้อ
ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิตจะให้ความสาคัญกับงบประมาณการผลิต เพื่อให้ใกล้เคียงกับ
ความเป็ นจริงมากทีส่ ุด
วัตถุดบิ ทางอ้อม ถือเป็ นค่าใช้จา่ ยประเภทวัสดุส้ นิ เปลือง รวมอยูใ่ นงบประมาณ
ค่าใช้จา่ ยในการผลิต

การคัดเลือกแหล่งผูข้ าย การคัดเลือกผูข้ ายวัตถุดบิ เป็ นปั ญหาด้านการตัดสินใจที่
เกี่ยวข้องกับปั จจัยเชิงคุณภาพและปั จจัยเชิง
ปริมาณ ซึง่ ในกรณีของปั จจัยเชิงคุณภาพนัน้ การพิจารณาคัดเลือกผูข้ ายวัตถุดบิ ด้วย
วิธีการประเมินด้วย
ตัวเลขธรรมดานัน้ อาจทาให้ผลของการคัดเลือกมีความคลุมเครือและไม่ถูกต้องตรงกับ
ความเป็ นจริง ดังนัน้ ใน
การศึกษานี้จงึ มีวตั ถุประสงค์เพื่อทีจ่ ะนาทฤษฎีฟัซซีเซตมาประยุกต์ใช้รว่ มกับการแปลง
หน้าทีท่ างคุณภาพใน
การคัดเลือกผูข้ ายวัตถุดบิ โดยได้นาเสนอวิธีการประเมินและคัดเลือกผูข้ ายวัตถุดบิ ของ
บริษทั กรณีศึกษาผ่าน
ขัน้ ตอนการดาเนินงานของบ้านแห่งคุณภาพ ซึง่ ทฤษฎีฟัซซีเซตถูกนามาใช้ในส่วนของ
การประเมินเกณฑ์

การตรวจสอบและการควบคุม เพื่อให้รฐั วิสาหกิจเข้าใจในงานตรวจสอบภายในว่า
เป็ นเครือ่ งมือสาคัญของฝ่ ายบริหาร โดยเฉพาะการช่วยติดตามงานเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย และเป็ นกลไกทีส่ าคัญประการหนึ่งในกระบวนการ
กากับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการและฝ่ ายบริหารจะต้องเข้าใจบทบาทและใช้
ประโยชน์จากหน่วยงานตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ หน่วยงานตรวจสอบภายใน
ยังเป็ นหน่วยงานหลักทีจ่ ะช่วยคณะกรรมการตรวจสอบภายในให้ปฏิบตั ิหน้าทีใ่ ห้
บรรลุเป้ าหมาย
ทัง้ นี้ โดยมีวตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน เพื่อให้รฐั วิสาหกิจพัฒนางาน
และหน่วยงานตรวจสอบภายในบนพื้นฐานของหลักการที่พึงประเมิน เพื่อให้
รัฐวิสาหกิจมีความเข้าใจในบทบาท และประโยชน์ขององค์กรทีไ่ ด้จากหน่วย
ตรวจสอบภายใน และเพื่อช่วยให้รฐั วิสาหกิจมีระบบการกากับดูแลกิจการทีด่ ี
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
 เป้าหมายการบริหารการลงทุนจัดซื้อจัดจ้าง
ผูบ้ ริหารโครงการจึงต้องการเห็น
อนาคตของโครงการ การเผชิญกับปั ญหาทีไ่ ม่ได้คาดการณ์ไว้ลว่ งหน้า และการ
เข้าไปสอดแทรกการดาเนินการให้ประสบการณ์ความสาเร็จ
โดยศึกษาและทาความเข้าใจระหว่างโครงการกับข้อจากัดที่กอ่ ให้เกิดความเสีย่ ง

แหล่งเงินทุนเพือ่ การกูย้ มื ของธุรกิจ ในการเริม่ ต้นทาธุรกิจ เงินทุนถือปั จจัยที่
สาคัญมากปั จจัยหนึ่ง เพราะไม่วา่ คุณจะทาอะไรคุณก็จาเป็ นต้องใช้มนั ในการ
แลกเปลี่ยนเพื่อให้ได้มาซึง่ สิง่ ทีค่ ณ
ุ จาเป็ น สาหรับนักธุรกิจหน้าใหม่ทม่ี ีฐานะ
รา่ รวยอยูแ่ ล้วก็คงไม่มีปัญหา แต่สาหรับอีกหลายคนทีไ่ ม่เป็ นเช่นนัน้ ก็จาต้องหา
แหล่งเงินทุนเพื่อกูย้ ืม ซึง่ ต่อไปนี้เราจะแนะนาแหล่งเงินทุนต่างๆให้คณ
ุ ได้รู ้

การวางแผนการใช้จา่ ยเงินทุน บุคคลแต่ละคนย่อมมีเป้ าหมายในชีวติ แตกต่าง
กันออกไป บางคนก็ตอ้ งการให้ตวั เองมีเงินให้มากที่สุด จึงพยายามเก็บออมทุก
วิถีทาง ส่วนบางคนก็ตอ้ งการให้มีชวี ติ ครอบครัวทีด่ ลี ูกๆ มีการศึกษาอย่างเต็มที่
ก็พอใจแล้ว ไม่วา่ เป้ าหมายของแต่ละคนจะกาหนดไว้อย่างไรก็ตามเราอาจสรุปได้
ว่าเป้ าหมาย

การกาหนดเป้าหมายการขาย