การสรรค์คำใช้และการเรียบเรียงคำ

Download Report

Transcript การสรรค์คำใช้และการเรียบเรียงคำ

คุณค่า
ด้านวรรณศิลป์
คืออะไร?
ความหมายของคุณค่าด้านวรรณศิลป์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความงามที่เกิด
จากกลวิธใี นการแต่งวรรณคดีหรื อวรรณกรรม
เรื่ องนั้น ๆ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
พิจารณาจากอะไรบ้าง?
การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
พิจารณาจากองค์ประกอบ ๓ ด้าน ได้แก่
๑. การสรรคาใช้
๒. การเรียบเรียงคา
๓. การใช้โวหารภาพพจน์
(แต่ในที่น้ ีเราจะกล่าวถึงเพียงการสรรค์คาใช้และการเรียบเรียงคาเท่านั้น)
๑.การสรรคาใช้
การสรรคาใช้
คืออะไร?
ความหมายของการสรรคาใช้
การสรรคาใช้ คื อ การเลื อกคามาใช้ได้อ ย่าง
เหมาะสม สื่ อความคิ ด ความเข้า ใจ สร้า ง
อารมณ์ความรู ส้ ึก ให้เกิดแก่ผูอ้ า่ น
การสรรคาใช้
พิจารณาจาก
อะไรบ้าง?
การพิจารณาการสรรคาใช้
การพิจารณาการสรรคาใช้ ต้องพิจารณาว่า
๑. เลือกตรงตามความหมายหรื อไม่
๒. เหมาะแก่เนื้ อเรื่ องและบุคคลเพียงใด
๓. เหมาะกับลักษณะของคาประพันธ์แค่ไหน
๔. มีคาที่เลียนเสียงธรรมชาติได้เหมาะสมเพียงใด
การพิจารณาการสรรคาใช้
การพิจารณาการสรรคาใช้ ต้องพิจารณาว่า
๕. มีคาที่เล่นเสียงวรรณยุกต์หรื อไม่
๖. การเล่นเสียงสัมผัส ทัง้ สัมผัสในและสัมผัสนอก
เป็ นอย่างไร
๗. การเล่นคาพ้องเสียงพ้องรู ปและคาซา้ มีหรื อไม่
ตัวอย่างการสรรคาใช้
“แสง .... (สุ ริยา–ตะวัน-แดด-อาทิ ตย์) .... ร้อนเป็ น
เปลวเพลิ ง เผาแผ่นหลังชาวนาให้แห้งเกรี ยม”
ภายในวงเล็บมีความหมายเดียวกัน แต่ดูเหมือนว่า
ถ้าจะเลือก “แสงแดด” มาใช้น่าจะเหมาะสมที่สุดที่จะ
เผาแผ่นหลังชาวนาให้แห้งเกรียม
ตัวอย่างการสรรคาใช้
การเลื อกใช้คาให้ถกู ต้องตรงตามความหมายที่ตอ้ งการ
“วิ ไ ลเตรี ย มอาหารกลางวัน เธอตัด ผัก คะน้า เป็ น ท่อ นยาวๆ
หั่นเนื้ อหมู เป็ นชิ้นๆ แล้วบดจนละเอียด แล่เนื้ อวัวเป็ นแผ่นบางๆ
และซอยกระเทียมเป็ นชิ้นเล็กๆ”
ตัวอย่างการสรรคาใช้
เลือกใช้คาที่เหมาะสมแก่เนื้ อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
“ทัว่ ประเทศเขตแคว้นแดนพริ บพรี
ที่พวกทาน้าโตนดประโยชน์ทรัพย์
พะองยาวก้าวตีนปีนทะยาน
เหมือนจะชี้ไปไม่พน้ แต่ตน้ ตาล
มีดสาหรับเหน็บข้างอย่างทหาร
กระบอกตาลแขวนก้นคนละพวง”
(นิ ราศเมืองเพชร ของ สุ นทรภู)่
ผูป้ ระพันธ์เลือกสรรคาใช้ได้เหมาะสมแก่เรื่ อง ซึ่งเกี่ยวกับการประกอบอาชีพทา
น้าตาลโตนดของคนเมืองเพชร ทาให้ผูอ้ า่ นที่ไม่เคยเห็นนึ กภาพได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างการสรรคาใช้
เลื อ กใช้ค าให้เ หมาะสมแก่ ล ัก ษณะของค าประพัน ธ์
คาจานวนมากใช้ได้ทงั้ ในร้อยแก้ว และร้อยกรอง แต่คา
บางคาใช้เฉพาะแต่ในคาประพันธ์เท่านัน้
“เพรางายวายเสพรส
แสนกาสรดอดโอชา
อิ่มทุกข์อ่ มิ ชลนา
อิ่มโศกาหน้านชล
(กาพย์เห่เรื อ ของ เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศร)
ตัวอย่างการสรรคาใช้
คาเลียนเสียงธรรมชาติ คาเลียนเสียงธรรมชาติในบทประพันธ์ทาให้
ผู ้ อ่ า น เ ห็ น ภ า พ ชั ด เ จ น แ ล ะ เ กิ ด ค ว า ม รู ้ สึ ก ค ล้ อ ย ต า ม เ ช่ น
“กลองทองตีครุ ่มครึ้ ม
เดินเรียง
ท้าตะเติงเติงเสียง
ครุ ่มครื้ น
เสียงปี่รี่เรื่ อยเพียง
การเวก
แตร้นแตร่นแตรฝรั่งขึ้น
หวูห่ วูเ้ สียงสังข์”
(กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ของ เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศร)
เป็ นคาเลียนเสียงกลอง เสียงแตร และเสียงสังข์
ตัวอย่างการสรรคาใช้
คาที่เล่นวรรณยุกต์ เช่น
“ฝูงลิงใหญ่นอ้ ยกระจุย้
ชะนีอุย่ อุย้ ร้องหา
ฝูงค่างหว่างพฤกษา
ค่างโจนไล่ไขว่ปลายยาง”
(กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ของ เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศร)
ตัวอย่างการสรรคาใช้
คาที่เล่นเสียงสัมผัส คนไทยเป็ นคนเจ้าบทเจ้ากลอน ชอบพูดจาให้คล้องจองกัน
ดังจะเห็นได้จากสานวน พังเพย สุภาษิ ต ชื่ อเฉพาะ คาขวัญ ที่มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน
เช่น
สานวน พังเพย สุภาษิต
- กินอยูก่ บั ปาก อยากอยูก่ บั ท้อง
- ข้าวยากหมากแพง
ชื่ อเฉพาะ
- มูลบทบรรพกิจ วาหนิ ต์ กิ ร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พจิ ารณ์ พิศาลการันต์
(ชื่อแบบเรียน 6เล่ม ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร))
- เจริ ญกรุ ง บารุ งเมือง เฟื่องนคร
คาขวัญ
- เด็กดีเป็ นศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติเจริ ญ
- สะอาดกายเจริ ญวัย สะอาดใจเจริ ญสุ ข
ตัวอย่างการสรรคาใช้
ค าโดยค านึ ง ถึ ง ค าพ้อ งเสี ย งและค าซ้ า เมื่ อน าค าพ้อ งเสีย งมาเรี ย บเรี ย งหรื อ ร้อ ยกรอง
เข้าด้วยกัน จะทาให้เกิดเสียงไพเราะ เพิ่มความพิศวง น่ าฟัง หากใช้ในบทพรรณนาหรื อ
บทคร่ าครวญยิ่งทาให้สะเทือนอารมณ์
หัวลิงหมากเรียกไม้
ลางลิง
ลางลิงหู ลงิ ลิง
หลอกชู ้
ลิงไต่กะไดลิง
ลิงห่ม
ลิงโลดฉวยชมผู ้
ฉีกคว้าประสาลิง
(กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ของ เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศร)
๒.การเรียบเรียงคา
การเรียบเรียงคา
คืออะไร?
ความหมายของการเรียบเรียงคา
การเรียบเรียงคา คือ การจัดวางคาที่เลือกสรร
แล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่ อง
ตามจังหวะ
ตามโครงสร้างภาษา หรื อ
ตามฉันทลักษณ์
ตัวอย่างการเรียบเรียงคา
รัก โลก บาน ใน ดอก ทัง้ ใจ แต่ หัว ใคร ฉัน โศก
ตัวอย่างการเรียบเรียงคา
รัก โลก บาน ใน ดอก ทัง้ ใจ แต่ หัว ใคร ฉัน โศก
นาคามาเรียบเรียงใหม่ เช่น
ตัวอย่างการเรียบเรียงคา
เรียงข้อความที่บรรจุสารสาคัญไว้ทา้ ยสุด
"แม้ฉั น จะ จน แต่ ฉั น ก็ ไ ม่ เ คย ขอใครกิ น "
ตัวอย่างการเรียบเรียงคา
เรียงคา วลี หรือประโยคที่มีความสาคัญเท่ากกัน
"รัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน
และเพื่อประชาชน เท่านั้นที่ทกุ คนปรารถนา"
ตัวอย่างการเรียบเรียงคา
เรียงประโยคให้เนื้ อหาเข้มข้นขึ้นไปตามลาดับ ดุจ
ขัน้ บันได จนถึงขัน้ สุดท้าย ซึ่งสาคัญที่สุด
"สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือคลา
สิบมือคลาไม่เท่าชานาญ"
ตัวอย่างการเรียบเรียงคา
เรียงถ้อยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์
" อันท้าวดาหาธิบดีนั้นมิใช่อาหรื อว่าไร"
"ใครบ้างไม่อยากเป็นไทย"
ผูจ้ ดั ทา
๑. น.ส.ธัญรมณ มณีรัตน์
เลขที่ ๒
๒. น.ส.ชญานิ ษฐ์ ชูแข
เลขที่ ๕
๓. น.ส.ธัญชนก รักแก้ว
เลขที่ ๑๕
๔. น.ส.อัญชิษฐา วิภูษิตวรกุล
เลขที่ ๑๗
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ ี ๕/๖
แหล่งอ้างอิง
๑. คุณค่ าของวรรณคดี และวรรณกรรมด้านวรรณศิ ลป์ . (ออนไลน์ ) .
สืบค้นจาก: http://www.thaigoodview.com. (วันที่สืบค้น : ๔ มิถุนายน
๒๕๕๕).
๒. คุณค่าของวรรณกรรมด้านวรรณศิลป์. (ออนไลน์) .สืบค้นจาก: http://
www.mwit.ac.th. (วันที่สืบค้น : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๕).
๓. การใช้ภ าษาให้ง ดงาม. (ออนไลน์ ) .สื บ ค้น จาก: http://thaimode.
blogspot.com/2011/01/blog-post_24.html. (วันที่สืบค้น : ๑๐
มิถุนายน ๒๕๕๕).