ขมุ - WordPress.com

Download Report

Transcript ขมุ - WordPress.com

ขมุ เป็ นชาวเขาเผ่าหนึ่ งซึ่ งส่ วนใหญ่มีถิ่นที่อยูท่ างภาคเหนือของประเทศ
ไทย นักภาษาศาสตร์ จาแนกภาษาของชาวขมุอยูใ่ นตระกูลภาษา มอญ – เขมร ซึ่ งอยูใ่ น
ตระกูลออสโตรเอเชียติก ชาวขมุเรี ยกตัวเองว่า “ขมุ”
อ่านว่า ขะ – มุ (เสี ยงวรรณยุกต์ตรี ) แต่คนต่างเผ่ากับชาวขมุจะเรี ยกชาวขมุวา่ “ขะหมุ” (เสี ยงวรรณยุกต์เอก) ซึ่ งคาว่า “ขมุ” นี้มีความหมายในภาษาไทยว่า “คน”
ขมุในประเทศไทยแบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่มย่ อย คือ
1.1 ขมุมกพลาง หรื อขมุฮอก
1.2 ขมุล้ือ
โดยแยกตามความแตกต่างทางภาษาท้องถิ่นและลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
กล่าวคือ ชาวขมุล้ือ ค่อนข้างจะเป็ นกลุ่มที่ได้รับอิทธิ พลจากโลกภายนอกมากกว่า ภาษาที่ใช้
พูดจะมีภาษาไทยเหนือปะปนอยูม่ าก การยึดถือจารี ตประเพณี และความเชื่อดั้งเดิมก็ค่อนข้าง
จะเปลี่ยนแปลงไปมากกว่า ขมุมกพลาง
เชื่อกันว่า ขมุ เป็ นชนพื้นเมืองดั้งเดิมของเอเชียอาคเนย์ ในปัจจุบนั ขมุ
กระจายตัวอยูท่ างประเทศลาวตอนเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในแขวงหลวง
พระบางสาหรับในประเทศไทยนั้น ขมุ มีอยูอ่ ย่างหนาแน่นในจังหวัด
น่าน นอกจากนั้นมีอยูใ่ นจังหวัดเชียงราย ลาปาง เชียงใหม่ สุ โขทัยและ
อุทยั ธานี
จานวนประชากร ขมุ ในประเทศไทยนั้น จากการสารวจพบว่า
มี 40 หมู่บา้ น 2,212 หลังคาเรื อน 10,519 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.15 ของ
จานวนประชากรชาวเขาทั้งหมดในประเทศไทย
หมู่บา้ นชาวขมุในจังหวัดเชียงรายมีที่บา้ นห้วยเย็น และบ้านห้วยกอก อาเภอ
เชียงของ บ้านห้วยเอียนบ้านห้วยข่อย บ้านโละ บ้านป่ าตึง บ้านห้วยจ้อ อาเภอเวียงแก่น
เป็ นต้น ส่ วนในจังหวัดน่านมีในหลายเขต ได้แก่ เขตอาเภอเมืองที่บา้ นหนองคา บ้าน
ห้วยไฮ ตาบลฝายแก้ว, บ้านห้วยปุก ตาบลสะเบียน และบ้านหาดปลาแห้ง ตาบลบ่อ
เขตอาเภอท่าวังผา มีที่บา้ นห้วยโป่ ง บ้านวังผา ตาบลตาลชุม, บ้านปางสา และบ้านน้ า
โขง ตาบลผาตอ เขตอาเภอเชียงกลาง มีที่บา้ นวังผาง และบ้านปางสา บ้านน้ าโม ตาบล
ผาตอย, บ้านวังเสา บ้านน้ า ปาน บ้านห้วยม้อย บ้านห้วยเลา บ้านห้วยแกลบ บ้านสบ
พาง บ้านน้ าหลุ และบ้านน้ าหลุใหม่ ตาบลชนแดน เขตอาเภอทุ่งช้าง มีที่บา้ นน้ าสอดใต้
ตาบลและ, บ้านห้วยสะแตง บ้านภูคา บ้านน้ าลาด ตาบลงอบ และบ้านไชยธงรัตน์ บ้าน
สบปาง ตาบลปอน และยังมีที่เขตบ้านป่ าแพะ อาเภอเวียงสา อีกด้วย สาหรั บที่จงั หวัด
กาญจนบุรีน้ นั พบที่อาเภอศรี สวัสดิ์ นอกจากนี้ ยังพบขมุที่จงั หวัดสุ พรรณบุรีดว้ ย
เนื่องจากขมุเป็ นกลุ่มชาวเขากลุ่มหนึ่งที่ไม่ปลูกฝิ่ น ดังนั้นส่ วนใหญ่จึงตั้ง
บ้านในระดับความสูงที่ต่ากว่า 1,000 เมตร เหนือระดับน้ าทะเล และที่ต้ งั
หมู่บา้ นส่ วนใหญ่จะนิยมพื้นที่ราบระหว่างหุบเขา นอกจากนี้ยงั นิยมตั้ง
หมู่บา้ นที่มีทางเข้าหมู่บา้ นหันไปทางทิศตะวันออก ซึ่งขมุถือว่าจะนาความ
ร่ วมเย็นเป็ นสุ ขมาให้แก่คนในหมู่บา้ น
ลักษณะบ้านขมุ เป็ นบ้านยกพื้นและพื้นบ้านมี 2 ระดับ บ้าน
ส่ วนใหญ่จะมีหอ้ งนอนเดียวซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
รู ปแบบบ้านกับลักษณะโครงสร้างของครอบครัว กล่าวคือ ขมุมกั จะมี
ครอบครัวเป็ นครอบครัวเดี่ยว จึงมิได้มีโครงสร้างบ้านที่สามารถจะแบ่ง
ออกเป็ นห้องเล็ก ๆ ได้มากนัก และการที่ที่จะต่อเติมบ้านก็กระทาได้
ยาก เนื่องจากเป็ นบ้านยกพื้น
การแต่งกาย ชาวขมุไม่มีวฒั นธรรมในการทอผ้าเอง มีเฉพาะใน
กลุ่มขมุล้ือ ชาวขมุบางกลุ่มจะนิยมเสื้ อผ้าสี ดา หรื อสี คล้ าเข้ม ผูห้ ญิงจะใช้
ซิ่นลายขวางแบบไทลื้อ สวมเสื้ อผ้าหนาสี น้ าเงินเข้มตัวสั้น ตกแต่งด้วยผ้า
ด้ายสี และเหรี ยญเงิน ใส่ กาไลเงินที่คอ และกาไลข้อมือ โพกผ้าสี ขาว หรื อ
สี แดง สาหรับผูช้ ายปัจจุบนั มีการแต่งกายที่ไม่ต่างจากคนเมือง และในบาง
หมู่บา้ นจะไม่พบการแต่งกายประจาเผ่าเลย
ครอบครัว มีขนาดครัวเรื อนขนาดเล็ก สมาชิกน้อย
ระบบเครื อญาติของขมุเป็ นระบบที่ซบั ซ้อน ให้
ความสาคัญทั้งพ่อแม่ฝ่ายชายและหญิง กฎการแต่งาน
ในหมู่ญาติ ลูกชายสามารถแต่งงานกับลูกพี่ลูกน้องได้
ส่ วนลูกหญิงจะต้องแต่งกับผูอ้ ื่น
อาชีพ ทาการเกษตรเป็ นหลักแบบยังชีพ ปลูกข้าว เผือกมัน
และเครื่ องปรุ งรสอาหารต่างๆ พืชไร่ และไม้ยนื ต้นมีเล็กน้อย
ส่ วนใหญ่ปลูกไว้กิน หากมีเหลือก็จะแบ่งปันให้ญาติพี่นอ้ ง
นอกจากนี้ยงั มีการเลี้ยงสัตว์ เช่นหมู ไก่ วัวควาย ส่ วนใหญ่
เลี้ยงไว้เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรม
ความเชื่อและพิธีกรรม ชาวขมุนบั ถือผี(โร้ย) มีพิธีเซ่นไหว้ดว้ ย หมู
ไก่ ข้าว เหล้า จะเลี้ยงผีในพิธีสาคัญๆต่างๆ มีท้ งั ผีป่า ผีบา้ น ผีน้ า ผี
หมู่บา้ น ทุกบ้านจะมีผเี รื อน (โร้ยกาง) ซึ่งเชื่อว่าประดิษฐานในบริ เวณ
เตาหุงข้าวเวลามีพิธีเลี้ยงผีจะมีการติด “ เฉลว” (ตแล้) ไว้ เป็ น
เครื่ องหมายที่ปฏิบตั ิมาแต่โบราณ พิธีกรรมที่สาคัญของชาวขมุจะใช้
ในการรักษาความเจ็บป่ วย โดยจัดพิธีเลี้ยงผีดว้ ยไก่และหมู (ซู้ ฮเอี้ยร
ซู้ เซื้อง) พิธีการการฆ่าควาย(ซังพ้าน ตร้าก) เพื่อรักษาผูป้ ่ วยหนัก พี
ผูกข้อมือ(ตุก๊ ติ้)
คาที่ใช้เรี ยกชาวขมุดว้ ยกันเองแต่ต่างกลุ่มกัน คือคาว่า ตม้อย และถ้าหากต้องการ เจาะ
กลุ่ม ก็จะใช้ลกั ษณะเฉพาะของกลุ่มนั้น ๆ ต่อท้าย เช่น ตม้อยปูลวง (ชาวขมุจากหมู่บา้ น
ปูลวงซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นที่อยูเ่ ดิม) ตม้อยดอย (ชาวขมุจากเขตภูเขา ซึ่ งเป็ นเขตที่อยูเ่ ดิม)
ตม้อยเพอะ (ชาวขมุที่ใช้คาว่า เพอะ แปลว่า “ กิน” ) ตม้อยลื้อ (ชาวขมุที่อยูใ่ นกลุ่มพวก
ลื้อ) ตม้อยอัน (ชาวขมุที่ใช้คาปฏิเสธว่า “ อัน” ) ตม้อยอัล (ชาวขมุที่ใช้คาปฏิเสธว่า “
อัล” ) ตม้อยอู (ชาวขมุที่อยูใ่ นเขตแม่น้ าอู) ส่ วนการแยก ชาวขมุออก จากกลุ่มเชื้อชาติ
อื่น ๆ นั้นจะใช้คาว่า คมุ ้ khmu หมายถึงกลุ่มของตน และใช้คาว่า แจะ หมายถึงกลุ่ม
อื่น เช่นกลุ่มคน เชื้อสายไทย ทั้งไทยภาคกลาง ไทยภาคเหนือ (คนเมือง) ลาว ลื้อ และ
ไทยดา โดยอาจเติมชื่อเฉพาะกลุ่มลงไปด้วยเพื่อให้ชดั เจนเช่น แจะคนเมือง แจะลื้อ
แจะไทยดา ฯลฯ และใช้คาว่า แจะแมว เรี ยกชาวม้ง เป็ นต้น
1. พิธีเซ่นไหว้ผหี ลวง จัดขึ้นปี ละครั้งหลังการเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว
2. พิธีเซ่นไว้ผหี มู่บา้ น จัดขึ้นเวลาประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ
3. พิธีเซ่นไหว้ผปี ระจาตระกูลหรื อผีบรรพบุรุษในบ้านจัดขึ้นในช่วง
เทศกาลสงกรานต์
4. พิธีสงเคราะห์ จัดขึ้นในวันสงกรานต์ เพื่อขับไล่สิ่งชัว่ ร้ายให้ออกจาก
หมู่บา้ น
5. พิธีเซ่นไหว้ผไี ร่ จัดขึ้นปี ละสี่ ครั้ง คือ ก่อนถางป่ า ก่อนปลูก
ข้าว ขณะข้าวเริ่ มออกรวง และเมื่อข้าวแก่พร้อมที่จะเก็บเกี่ยว
ขมุมีความเชื่อเรื่ องขวัญว่า คนเรามีขวัญเก้าขวัญ คนที่เจ็บป่ วย เพราะขวัญ
ออกร่ างไป การเรี ยกขวัญให้กลับคืน ต้องเชิญหมอขวัญมาทาพิธีเรี ยกขวัญ
พิธีกรรมที่สาคัญของชาวขมุจะใช้ในการรักษาความเจ็บป่ วย โดย
จัดพิธีเลี้ยงผีดว้ ยไก่และหมู (ซู้ ฮเอี้ยร ซู้ เซื้อง) พิธีการการฆ่า
ควาย(ซังพ้าน ตร้าก) เพื่อรักษาผูป้ ่ วยหนัก พีผกู ข้อมือ(ตุก๊ ติ้) ชาว
ขมุจะให้ความเคารพผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่และญาติผใู้ หญ่ของตนอย่าง
เคร่ งครัด ถ้าปฏิบตั ิตนไม่เหมาะสมจะถือว่าทาผิดประเพณี และถูก
ปรับไห
“ชนเผ่าขมุ.”(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:http://www.tpso10.org/index.
php?option=com_content&view=article&id=82&
Itemid=135(ม.ป.ป.). สื บค้น 24 พฤศจิกายน 2555
“ขมุ.”(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:http://lib.payap.ac.th/webin/ntic/
K%20mu.htm (ม.ป.ป.). สื บค้น 24 พฤศจิกายน 2555
“ชนเผ่าขมุ.”(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:http://www.mhsdc.org/
interest19.htm (ม.ป.ป.). สื บค้น 24 พฤศจิกายน 2555