PowerPoint_ดร.พรเทพ เบญญาอภิกุล

Download Report

Transcript PowerPoint_ดร.พรเทพ เบญญาอภิกุล

เลื่อน-เลิกประมูล 4G ใครได้–ใครเสีย: รัฐ
ผูป้ ระกอบการ ประชาชน?
พรเทพ เบญญาอภิกุล
โครงการติดตามนโยบายสือ่ และโทรคมนาคม
โครงการวิจยั ภายใต้การสนับสนุ นจาก สานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.)
ประเด็นการเสวนา
1. สาเหตุการแก้กฏหมาย
2. การประมูล vs Beauty contest
3. มายาคติเกี่ยวกับการประมูล
1.การประมูลทีอ่ อกแบบอย่างเหมาะสม เป็ นวิธที ด่ี ที ส่ี ดุ ใน
การจัดสรรทรัพยากร
• ทรัพยากรถูกจัดสรรให้ผทู้ ส่ี ร้างประโยชน์จากมันได้มากทีส่ ดุ
• สร้างประโยชน์ให้สงั คมสูงทีส่ ดุ จึงมีประสิทธิภาพ
2.การประมูลมีความโปร่งใส และดาเนินการได้รวดเร็ว
• กลไกราคาเป็ นตัวตัดสิน
• เมือ่ วิธกี ารประมูลถูกกาหนดมาแล้ว ผลการประมูลถูกแทรกแซงได้
ยาก
• มีความเป็ นธรรมในแง่ทไ่ี ม่มดี ุลยพินิจมาเกีย่ วข้อง
• ผูช้ นะคือผูเ้ สนอราคาสูงสุด ลดปญั หาการฟ้องร้องระหว่าง
ผูป้ ระกอบการ
3. Beauty contest ใช้ระยะเวลายาวนาน ขาดความโปร่งใส
•
ปญั หาใน 2 ประเด็น
1.
2.
การตัง้ หรือกาหนดเกณฑ์คดั เลือก เช่นการให้น้ าหนักกับปจั จัยต่าง ๆ (ราคา คุณภาพ เทคโนโลยี ความ
ครอบคลุม นวัตกรรม) เกีย่ วข้องกับดุลยพินจิ มาก ดุลยพินิจของกรรมการ ย่อมให้น้ าหนักต่างกัน ตัดสิน
ทีต่ ่างกัน ส่งผลต่อ outcome
การตัดสิน มีความไม่สมมาตรของข้อมูล (asymmetric information) ระหว่าง regulator กับ
ผูป้ ระกอบการ ทาให้ตดั สินได้ยาก ในขณะทีก่ ลไกราคาทาให้ผปู้ ระกอบการต้องเปิดเผยความต้องการ
ผ่านการเสนอราคา
• การประเมินปจั จัยต่าง ๆ (ราคา คุณภาพการให้บริการ เทคโนโลยี) ล่วงหน้า 15-20
ปี สาหรับกิจการโทรคมนาคมเป็ นเรือ่ งยาก บาง product or innovation อาจจะยัง
ไม่เกิด (ตัดสินอย่างไร?)
• เป็ นสาเหตุให้เกิดข้อโต้แย้งทางการเมือง และกฏหมายอยูเ่ สมอ
• รวมถึงความเคลือบแคลงต่อปญั หาคอรัปชันและความไม่
่
เป็ นธรรมในการเลือก
4. ปญั หาการบังคับใช้สญ
ั ญา (enforcement)
• ผูป้ ระกอบการมีแรงจูงใจทีจ่ ะเสนอแผนงานทีด่ เี กินจริง
• เสนอมาก ๆ ไว้ก่อน ค่อยไปแก้เงือ่ นไขทีหลัง ไม่มแี รงจูงใจจะพูด
ความจริง
• การได้สทิ ธิถูกมองเป็ นเพียง investment option
• ปญั หาการรักษาคามัน่ (commitment) ของผูป้ ระกอบการ กสทช.มี
ปญั หาในการกากับดูแลตามเงือ่ นไข (ดูจากเรือ่ งราคา 3G)
• การประมูลเป็ นการให้คามันที
่ ่ serious กว่า
5. เป็ นแหล่งรายได้เข้ารัฐ
• ไม่มปี ญั หาบิดเบือนตลาด
• แต่การประมูลไม่ใช่มเี ฉพาะแค่เป้าหมายเพือ่ สร้างรายได้ เงือ่ นไขอื่น
ใส่เข้าไปในเงือ่ นไขใบอนุญาตได้
มายาคติเกีย่ วกับการประมูล
1. การประมูลทาให้เอกชนมีคา่ ใช้จา่ ยสูง “เกินไป” และ
ต้องรับความเสีย่ ง
• ผูป้ ระมูลตัดสินใจภายใต้กาไรสูงสุด
• ความเสีย่ งเป็ นเรือ่ งปกติของการทาธุรกิจ
• วิธี beauty contest ไม่ได้ทาให้ความเสีย่ งลดลง
2. รายจ่ายของเอกชนในการประมูลจะส่งผ่านไปสูผ่ บู้ ริโภค
ในรูปของราคาทีส่ งู ขึน้
• ไม่จริง
• ปญั หาทิศทางการให้เหตุผล ราคาค่าบริการมีผลต่อราคาประมูล (ก่อน
การประมูล) แต่ราคาประมูล (หลังจากประมูลแล้ว) ไม่มผี ลต่อราคา
• ประมูลแพงมีผลทาให้ผปู้ ระกอบการมีแน้วโน้มร่วมมือกันตัง้ ราคาสูง?
– จริง แต่เป็ นปญั หาของการกากับดูแลการแข่งขันไม่ใช่การประมูล
3. การประมูลเป็ นเรือ่ งซับซ้อนยากทีจ่ ะทาความเข้าใจกับ
สาธารณะ
• ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด และสร้างประเด็นโต้แย้งกับสังคมเป็ น
อุปสรรคต่อการจัดสรรคลื่นความถี?่
• ปญั หา 3G ทีเ่ กิดขึน้ ไม่ใช่เพราะการประมูลซับซ้อน แต่เป็ นเพราะการ
ประมูลมีความโปร่งใส เข้าใจได้งา่ ยว่าสาเหตุอยูท่ ใ่ี ด
4. การประมูลเน้นแต่รายได้ทาให้สงั คมไม่ได้รบั ประโยชน์
สูงสุด
• จริง แต่ไม่ใช่เหตุผลทีจ่ ะปฏิเสธวิธปี ระมูล เพราะการประมูลสามารถ
ออกแบบเน้นไปทีป่ ระสิทธิภาพและการแข่งขันได้
5. การแข่งขันในการประมูล ผูป้ ระกอบการเสียค่าใช้จ่ายการประมูลสูง
ทาให้การลงทุนช้าลง
• ไม่จริงถ้าตลาดทุนมีประสิทธิภาพ (efficient capital market)
• อาจมีสว่ นจริงถ้าตลาดทุนไม่มปี ระสิทธิภาพ ผูใ้ ห้กไู้ ม่มขี อ้ มูลดีพอ แต่วธิ ี
Beauty contest ดีกว่าหรือไม่? รัฐควรช่วยเหลือแค่ไหนอย่างไร?
• การลดราคาค่าคลื่นความถี่ ผ่านวิธี Beauty Contest หรือ บางกรณียกคลื่นให้
ฟรี ถือเป็ นการช่วยเหลือ แต่ตอ้ งตัง้ คาถามว่าทาไมต้องช่วยเหลืออุตสาหกรรม
หนึ่งมากกว่าอุตสาหกรรมอื่น และผูก้ ากับดูแลมีขอ้ มูลทีด่ กี ว่าตลาดหรือผูใ้ ห้กู้
ขนาดทีส่ ามารถตัดสินใจบอกได้วา่ ควรช่วยเหลือใคร ด้วยมูลค่าเท่าใดจริงหรือ?
• การลดราคาค่าคลื่นอาจไม่สง่ ผลให้การลงทุนเร็วขึน้ กว่าเดิมมากนัก?
6. วิธี Beauty contest มีความยืดหยุน่ กว่า
• จริง ยืดหยุน่ กว่าเพราะจะกาหนดอะไรก็ได้
• แต่โอกาสเลือกผิดมีสงู เพราะต้องการข้อมูลในการตัดสินใจมาก
• และรูไ้ ด้อย่างไรว่าเหมาะสมกับสถานการณ์?