"ต้นทุน" ในการดำรงชีพ

Download Report

Transcript "ต้นทุน" ในการดำรงชีพ

การวิเคราะห์และออกแบบโครงการ
ช่วงหัวข้อที่ 3
โดย จีรวัฒน์ เจนผาสุก
Program Coordinator
Caritas Thailand
การวิเคราะห์และออกแบบโครงการ
การวิเคราะห์และออกแบบโครงการ หมายถึง
"การกาหนดวิธกี ารปฏิบตั ทิ ่ดี ีท่สี ุด คือ
เหมาะสม คุม้ ค่า และรวดเร็วที่สุด
ในการแก้ไขปัญหาที่กาหนดไว้ในโครงการ"
เครือ่ งมือในการวิเคราะห์ชมุ ชน
แนวคิดการดารงชีพอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Livelihoods)
การแสดงออกถึงศักยภาพในการต่อสูห้ รือรับมือกับความตึงเครียดหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น
โดยดารงประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจหรือความมัน่ คงของระบบนิ เวศน์ ทรัพยากรธรรมชาติ
และความเสมอภาคในสังคมซึ่งเป็ นการใช้โอกาส การดารงชีวิตของคนกลุม่ หนึ่ ง
โดยไม่รุกรานคนอีกกลุม่ หนึ่ งทัง้ ในปัจจุบนั หรืออนาคต หรืออีกนัยหนึ่ งหมายถึง
ความสามารถของมนุ ษย์ท่จี ะมีชีวิตอยู่และปรับปรุงคุณภาพชีวิตที่ปราศจาก
การสร้างความเดือดร้อนให้ผูอ้ น่ื ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต
แนวคิดการดารงชีพอย่างยัง่ ยืน
Sustainable Livelihoods Approach (SLA)
 นาเสนอโดย Department for international development
(DFID) ใน The 1997 UK government white paper on
international development committee
 เพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของความยากจนได้ดีข้ ึน
 ใช้เป็ นเครื่องมือทางานพัฒนาเพื่อลดความยากจนของประชากรโลก
 มีวตั ถุประสงค์ท่จี ะทาความเข้าใจ ระบบการดารงชีวิต ซึ่งเป็ นการสนับสนุ นโอกาสใน
การปรับปรุงเพื่อลดความยากจน การทาความเข้าใจการดารงชีพอย่างยัง่ ยืน
แนวคิดหลัก 6 ประการของ SLA
1. คนเป็ นสาคัญ (People-centered)
2. องค์รวม (Holistic) หรือหลากหลายมิติ
3. พลวัต (Dynamic)
4. สร้างบนความเข้มแข็ง (Building on strengths)
5. เชื่อมโยงมหภาคและจุลภาค (Macro-micro links)
6. ความยัง่ ยืน (Sustainability)
กรอบการทางานตามแนวคิด SLA
การศึกษาการดารงชีพอย่างยัง่ ยืนเป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
5 ประการที่จะนาไปสูเ่ ป้ าหมายในการดารงชีพของกลุม่ เป้ าหมายคือ
1. องค์ประกอบด้านบริบทของความอ่อนแอและไม่แน่ นอน
2. ทรัพย์สนิ หรือ "ต้นทุน" ในการดารงชีพ
3. โครงสร้างและกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
4. ยุทธ์วธิ ีการดารงชีพ
5. ผลลัพธ์
กรอบการทางานตามแนวคิด SLA
1. องค์ประกอบด้านบริบทของความอ่อนแอและไม่แน่ นอน
เป็ นภาวะทีเ่ กิดขึ้นและส่งผลกระทบโดยตรงต่อทรัพย์สนิ
และผลลัพธ์จากวิถกี ารดาเนินชีวติ ได้แก่
 ภาวะที่เกิดผลกระทบอย่างทันทีทนั ใดและรุนแรงส่งผลเสียหายต่อการดารงชีพ เช่น
ภัยธรรมชาติ การขาดเงินใช้จา่ ย ความขัดแย้งในสังคม ปัญหาสุขภาพมนุ ษย์ พืช
สัตว์ ฯลฯ
 ภาวะแนวโน้มของการเคลื่อนไหวของปัจจัยต่างๆ เช่น แนวโน้มประชากร ทรัพยากร
เศรษฐกิจ รัฐบาล นโยบาย และเทคโนโลยี ฯลฯ
 การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล เช่น ราคาผลผลิต สุขภาพ โอกาสการจ้างงาน ฯลฯ
กรอบการทางานตามแนวคิด SLA
2. ทรัพย์สนิ หรือ "ต้นทุน" ในการดารงชีพ
เป็ นต้นทุนทีก่ ลุม่ เป้ าหมายนามาใช้ในกระบวนการดารงชีพ ซึง่ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ
การเกิดผลลัพธ์ มีผลต่อโอกาสการเลือกวิถกี ารดารงชีพ ได้รบั อิทธิพลโดยตรงจากบริบท
ความอ่อนแอ และการเปลีย่ นแปลงของโครงสร้างและสถาบัน ได้แก่ H
 ต้นทุนมนุ ษย์ (Human capital)
 ต้นทุนธรรมชาติ (Natural capital)
S
N
 ต้นทุนการเงิน (Financial capital)
 ต้นทุนกายภาพ (Physical capital)
 ต้นทุนสังคม (Social capital)
P
F
กรอบการทางานตามแนวคิด SLA
3. โครงสร้างและกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
เป็ นองค์ประกอบทีม่ ผี ลกระทบโดยตรงทีท่ าให้เกิดความอ่อนแอในกระบวนการ
และส่งผลต่อการเลือกวิถกี ารดารงชีพ มีส่วนประกอบย่อย 2 ส่วนคือ
 โครงสร้าง (Structures) มี 2 ระดับคือระดับสาธารณะและระดับเอกชน
เช่น รัฐบาล องค์กร ประชาสังคม
 กระบวนการ (Processes) หมายถึง ส่วนขับเคลือ่ นของโครงสร้าง
เช่น นโยบาย กฎหมาย ข้อกาหนด สถาบัน และวัฒนธรรม
กรอบการทางานตามแนวคิด SLA
4.ยุทธ์วธิ ีการดารงชีพ
เป็ นทางเลือก โอกาส ทีก่ ลุม่ เป้ าหมายใช้เป็ นกลยุทธ์ในการดาเนินชีวิต
ซึง่ จะมีลกั ษณะของความหลากหลาย ตามลักษณะพื้นที่ ภูมปิ ระเทศ ที่ถอื ครอง
และช่วงเวลา เป็ นลักษณะทีเ่ คลือ่ นไหว กระจายหลายสถานที่ และเชื่อมโยง
กรอบการทางานตามแนวคิด SLA
5. ผลลัพธ์
เป็ นผลได้ทเ่ี กิดจากการเลือกวิถหี รือยุทธ์วธิ ใี นการดาเนินชีวติ ซึง่ แสดงออกถึง
การดารงชีพอย่างยัง่ ยืน ได้แก่ การมีรายได้เพิม่ ขึ้น การเพิม่ การเป็ นอยู่ทด่ี ขี ้นึ
การลดความอ่อนแอ การเพิม่ ความมันคงด้
่ านอาหาร และการเกิดความยัง่ ยืน
ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
กรอบการดาเนินงานตามแนวคิด SLA
H
H=
N=
F=
P=
S=
S
N
P
F
-
-
-
-
human capital)
natural capital)
financial capital)
physical capital)
social capital)
*ภาพโดย ศิรนิ นั ต์ สุวรรณโมลี,
สุรพงษ์ ชูเดช และ มิชติ า จาปาเทศ รอดสุทธิ
ตัวอย่างกรอบการทางานตามแนวคิด SLA
บริบทความอ่อนแอและไม่แน่ นอน
ภาวะที่เกิดผลกระทบอย่างทันทีทนั ใด
และรุนแรง -ภัยธรรมชาติ การขาดเงินใช้จา่ ย
ระบบการผลิตเดิม
ของเกษตรกร
ปัญหาสุขภาพ การระบาดของศัตรูพชื /สัตว์
ภาวะถึงจุดจากัด
ภาวะแนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงตาม
ฤดูกาล -ราคาผลผลิต ผลผลิต การใช้หนี้ การ
พัฒนาเมือง สภาพทรัพยากรธรรมชาติ
วางแผน
เลือกกลยุทธ์
1
โครงสร้างและกระบวนการที่กอ่ ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง
- โครงการส่งเสริมและวิธีการส่งเสริม
- กฎหมาย
- ผูน้ าและการเปลี่ยนผูน้ า
- กลุม่ ในชุมชน
ผลลัพธ์
- การเพิ่มรายได้
ผลการปรับปรุง
ทรัพย์สนิ หรือ ต้นทุน
ทุนมนุ ษย์ -ทักษะความรู ้ แรงงาน การเป็ นผูน้ า
ทุนธรรมชาติ -ดิน น้ า ความหลากหลายฯ
ทุนการเงิน -เงินสะสม เงินไหลเวียน
ทุนทางกายภาพ -การขนส่ง วัสดุการผลิต
- ความมัน่ คงทางด้านอาหาร
- ความเป็ นอยู่
- ลดความอ่อนแอ
- ความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
เกษตรกรดาเนิ นการ
ผลิตตามระบบใหม่
ตลาด การสื่อสาร จานวนการผลิต
ทุนทางสังคม -กลุม่ การมีสว่ นร่วม การอานวย
ความสะดวก
เตรียมการ
ปรับปรุง
กรอบแนวความคิดการศึกษากระบวนการปรับปรุงการผลิตเพือ่ การดารงชีพอย่างยัง่ ยืน
ตัวอย่างกรอบการทางานตามแนวคิด SLA
2
ตัวอย่างกรอบการทางานตามแนวคิด SLA
3
การวิเคราะห์ และออกแบบโครงการ
การวิเคราะห์และออกแบบโครงการ หมายถึง
"การกาหนดวิธกี ารปฏิบตั ทิ ่ดี ีท่สี ุด คือ
เหมาะสม คุม้ ค่า และรวดเร็วที่สุด
ในการแก้ไขปัญหาที่กาหนดไว้ในโครงการ"
การออกแบบโครงการ

ความเหมาะสม ได้แก่
 ส่งผลในการแก้ไขปัญหาหลักที่ระบุไว้
 ได้รบั การยอมรับจากทุกกลุม่ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถปฏิบตั ไิ ด้จริง
ตามวันเวลาและสถานที่ซ่งึ ระบุไว้
 คานึ งถึงศักยภาพของชุมชน บริบทและปัจจัยต่างๆ
ที่ได้วเิ คราะห์ ศึกษา
การออกแบบโครงการ

ความคุม้ ค่า
เป็ นการวัดหรือเปรียบเทียบโดยพิจารณาจากทรัพยากรที่คาดว่าจะถูกใช้ไป
และประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั กลับคืนมา ซึ่งต้องให้ความสาคัญทัง้ ในด้าน
 เชิงปริมาณ (เป็ นตัวเลขหรือร้อยละ)
 เชิงคุณภาพ โดยเชิงคุณภาพจะต้องมีความสาคัญ
"เท่ากัน หรือมากกว่าด้านปริมาณ" เสมอ และจะต้องระบุออกมา
เป็ นตัวเลข หรือร้อยละหรือสิง่ ที่เข้าใจได้อย่างเป็ นรูปธรรมด้วย
การออกแบบโครงการ

ความรวดเร็ว
 กิจกรรมต่างๆ ที่สามารถแก้ไขปัญหาหลักนั้นได้รวดเร็วที่สดุ
จากทุกทางเลือกกิจกรรมที่มีอยู่
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้เพือ่ ออกแบบโครงการ

ค้นหาปัญหาหลัก
โดยค้นหาจากข้อมูลที่ได้ระหว่างการลงเก็บข้อมูลชุมชน
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้เพือ่ ออกแบบโครงการ

กาหนดเป้ าหมายสุดท้ายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในโครงการว่าจะเป็ น
เช่นใด ซึ่งควรสอดคล้องกับปัญหาที่ถกู แก้ไข โดยมีขอ้ พิจารณา
เพิ่มเติม ดังนี้
◦ เป้ าหมายนี้ อาจแก้ไขปัญหาหลักที่ระบุไว้ได้ทนั ทีจากการดาเนิ นโครงการ
จนแล้วเสร็จ หรือ
◦ เป้ าหมายนี้ อาจช่วยแก้ไขปัญหาหรือทุเลาเบาบางปัญหาดังกล่าวได้เพียง
บางส่วน แต่ตอ้ งเป็ นพื้นฐานที่จะนาไปสูก่ ารแก้ไขปัญหาหลักนั้นได้ หากจะ
ดาเนิ นการต่อไปในอนาคต
◦ เป้ าหมายนี้ ต้องเป็ นสิง่ ที่หน่ วยงานโครงการสามารถทาได้จริง และท้าทาย
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้เพือ่ ออกแบบโครงการ

ปัจจัยสาคัญที่สดุ 3 ประการแรก หรือ "วัตถุประสงค์" ข้อที่ 1-3
เพื่อที่จะนาไปสูเ่ ป้ าหมายนี้ ได้ คืออะไร
 จากนั้น กาหนด "ตัวชี้วดั " หรือสิง่ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก
วัตถุประสงค์แต่ละข้อมีอะไรบ้าง เป็ นจานวนเท่าใด โดย
วัตถุประสงค์แต่ละข้อไม่ควรกาหนดตัวชี้วดั เกิน 2 ตัว
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้เพือ่ ออกแบบโครงการ

กิจกรรม ที่จะนาไปสูก่ ารเกิดขึ้นของตัวชี้วดั เหล่านี้ มีอะไรบ้าง และไม่ควร
เกินวัตถุประสงค์ละ 3 กิจกรรม โดยกิจกรรมจะมีอะไรบ้าง ต้องดาเนิ นการ
โดยใคร มีรูปแบบอย่างไร วันเวลา สถานที่จะเป็ นอย่างไรบ้าง ขอให้ขอ้ มูล
ที่ได้จาก “เครื่องมือในการเก็บข้อมูล” มาใช้พจิ ารณา ดังนี้
◦ การใช้ดา้ นบวกที่มีอยู่ เพื่อแก้ไขด้านลบ หรือหากไม่สามารถแก้ไขด้านลบได้ ก็
ใช้การสร้างด้านบวกเพิ่มเติมเพื่อลดจานวนของด้านลบก็ได้ (กิจกรรมเชิง
Reduce or Rebuilt)
◦ การใช้ขอ้ มูลภายนอกเพื่อสนับสนุ นการแก้ไขปัญหาภายใน เช่น เอกสารงานวิจยั
ได้ระบุถงึ แนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งสามารถนามาใช้ประกอบการออกแบบ
กิจกรรมในโครงการได้
เครื่องมือในการวิเคราะห์และออกแบบโครงการ
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้เพือ่ ออกแบบโครงการ

เมื่อกาหนดข้อมูลลงไปในตารางเรียบร้อยแล้ว ขอให้พจิ ารณาลาดับ
ความสัมพันธ์เป็ นเหตุ-ผล โดยเริ่มลาดับจากล่างขึ้นบนดังนี้
ปัญหาหลัก
เป้ าหมาย
วัตถุประสงค์
สามารถแก้ไขหรือทุเลาเบาบางปัญหาหลักที่ระบุไว้ได้จริงหรือไม่?
สามารถนาไปสูเ่ ป้ าหมายที่คาดหวังไว้ได้หรือไม่?
ตัวชี้วดั
สามารถนาไปสูว่ ตั ถุประสงค์ท่กี าหนดไว้ได้หรือไม่?
กิจกรรม
สามารถทาให้เกิดตัวชี้วดั ขึ้นได้หรือไม่?
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้เพือ่ ออกแบบโครงการ

ตัวอย่าง
ปัญหา - เด็กในชุมชนป่ วยเป็ นโรคใข้เลือดออกมาก
เป้ าหมาย - ลดจานวนเด็กที่ป่วยโรคไข้เลือดออกลงครึ่งหนึ่ ง
วัตถุประสงค์ - เพื่อสร้างความตระหนักถึงพิษของยุงลายพาหะของโรคไข้เลือดออก...
ตัวชี้วดั - เด็กในชุมชนเกินครึ่งรูว้ ิธีการกาจัดลูกน้ ายุงลาย...
กิจกรรม - 1. รณรงค์ให้เด็กนักเรียนเทน้ าแจกันดอกไม้/น้ าอ่างกระถางทุกวันศุกร์...
2. อบรมให้ความรูเ้ รื่องพิษภัยของยุงลายและวิธีการกาจัดลูกน้ ายุงลาย...
สิง่ ที่ตอ้ งทา
นาข้อมูลที่ได้จากการลงพื้นที่
เขียนกรอบโครงการตามแบบที่เสนอ
ทดลองทาดูนะครับ...ขอบคุณครับ