ก.ย. ๕๕ ๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน

Download Report

Transcript ก.ย. ๕๕ ๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน

V.0206.11.40
แผนการดาเนินงาน
ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
(ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธารงเวช)
สานักงาน กศน.
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แผนการดาเนินงาน
ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบาย : จัดการศึกษาให้ประชาชนจบขั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๖ หรือเทียบเท่า
จนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หรือระดับชั้น ปวช.๓
การดาเนินงาน : การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน
นโยบาย : จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และ
การศึกษาตลอดชีวิต
การดาเนินงาน : ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต
แผนการดาเนินงาน
ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบาย : จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษา
ตลอดชีวิต
การดาเนินงาน : จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด
นโยบาย : เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับ
นานาชาติ
การดาเนินงาน : การจัดการศึกษาทางไกลและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
นโยบาย : เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับ
นานาชาติ
การดาเนินงาน : Internet กศน.ตาบล
๑. การจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานให้กับประชาชน
ยกระดับการศึกษา จบ ม.๖ อย่างมีคุณภาพกับ กศน. โดย
๑) การเทียบระดับการศึกษา ประเมินความรู้และประสบการณ์โดยการ
สอบทฤษฎีและประสบการณ์ ถ้าสอบผ่านสามารถเทียบระดับนั้นๆ ได้
๒) เดิมมีสถานศึกษาที่ดาเนินการเทียบระดับ จานวน ๑๒๘ แห่ง จะจัด
เพิ่ม เป็น ๔๘๔ แห่ง เพื่อให้สามารถดาเนินการได้อย่างเร่งด่วนตามนโยบาย
๓) เพิ่มจานวนครั้งในการประเมินเทียบระดับจาก ปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง
เป็น ปีการศึกษาละ ๔ ครัง้
๑. การจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานให้กับประชาชน (ต่อ)
การเรียนแบบพบกลุ่ม
๑) เพิ่มจานวนหน่วยกิตในการลงทะเบียนเรียนต่อภาคเรียนมากขึ้น จาก
ม.ปลายปกติ ๑๘ หน่วยกิต ปรับเป็น ๒๓ หน่วยกิต
๒) เพิ่มการเทียบโอนความรู้ประสบการณ์จากการประกอบอาชีพ และให้
จบภายใน ๑ ปี
* ทั้งนี้ต้องมีการปรับกฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน
กิจกรรม
ระยะเวลา
๑. จัดทาฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
๑.๑ สารวจจานวนประชากรที่ไม่จบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖)
๑.๒ จัดทารายงานสรุปจานวนประชากรที่ไม่จบ ม.๖ ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของ กศน.จาแนกตามกลุ่มอายุ
๑.๓ จัดกลุ่มประชากร จาแนกตามวิธีเรียน ๓ วิธี คือ การเทียบระดับการศึกษา การพบกลุ่ม และการศึกษา
ทางไกล
ก.พ. – มี.ค. ๕๕
๒. ดาเนินการจัดการศึกษา“ยกระดับการศึกษา จบ ม.๖ อย่างมีคุณภาพกับ กศน.”
๒.๑ การเทียบระดับการศึกษา
๒.๒ การเรียนแบบพบกลุ่ม/การศึกษาทางไกล (ใช้วิธีการเทียบโอนส่วนหนึง่ และเรียนเพิ่มเติมส่วนทีเ่ หลือ)
ก.พ. – ก.ย. ๕๕
๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน (ต่อ)
กิจกรรม
๓. จัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายตามที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณโดย
ในปีการศึกษา๑/๒๕๕๕ ดาเนินการตามที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ต่อจากนั้นดาเนินการเพิ่มเติมจนครบ
๑๐๐%
ระยะเวลา
พ.ค. – ก.ย. ๕๕
๔. ผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔
รับประกาศนียบัตร *
มี.ค. ๒๕๕๕
๕. รายงานผลจานวนผู้เรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ก.ย. ๕๕
๒. ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต
ด าเนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายโดยการจั ด เตรี ย มความพร้ อ ม
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการ เช่น จัดหา Tablet เพื่อการส่งเสริม
การอ่าน, ติดตั้งสัญญาณ Wi-Fi สาหรับรถโมบาย และเรือห้องสมุด , เผยแพร่
หลักสูตร/เนื้อหาในรูปแบบการเรียนผ่าน ETV, Wi-Fi, Tablet และสื่อเอกสาร
และจัดทา โครงการ Tablet เคลื่อนที่สู่ชุมชน* โดยใช้รถโมบาย และเรือ
ห้องสมุด เพื่อเป็นการจัดการศึกษาเชิงรุกในการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชน
๒. ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต
กิจกรรม
ระยะเวลา
๑. สารวจ วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
ก.พ. ๕๕
๒. จัดทาหลักสูตร/เนื้อหาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม
ก.พ. ๕๕
๓. จัดเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการ เช่น จัดซื้อ Tablet, ติดตั้งสัญญาณ Wi-Fi สาหรับ
รถโมบาย และเรือห้องสมุด, ETV
๔. เปิดตัวโครงการ Tablet เคลื่อนที่สู่ชุมชน *
ก.พ. – มี.ค. ๕๕
๒๓ พ.ค. ๕๕
๕. เผยแพร่หลักสูตร/เนื้อหาในรูปแบบการเรียนผ่าน ETV, Wi-Fi, Tablet และสื่อเอกสาร
เม.ย. – ก.ย. ๕๕
๖. จัดอบรมพัฒนาบุคลากร
มี.ค. – เม.ย. ๕๕
๗. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบที่หลากหลายให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
เม.ย. – ก.ย. ๕๕
๘. ติดตามและประเมินผลและรายงาน
เม.ย. – ก.ย. ๕๕
๓. จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด
ดาเนินการตามนโยบายการจัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคม
แห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
จังหวัดทุกจังหวัดเพื่อการจัดการศึกษาอาชีพให้กับประชาชนในชุมชน โดย
เร่งสารวจความต้องการฝึกอาชีพของกลุ่มเป้าหมายและจัดลาดับอาชีพยอด
นิยมในแต่ละภาค จัดทาหลักสูตรอาชีพและเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ อาทิ สื่อ
สิ่งพิมพ์ online Tablet และจัดการศึกษาอาชีพตามความต้องการของ
ประชาชน รวมทั้ ง จั ด เที ย บโอนความรู้ ผู้ ที่ ผ่ า นหลั ก สู ต รการศึ ก ษาอาชี พ
เข้าสู่การศึกษาขั้นพื้นฐาน
๓. จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด
กิจกรรม
ระยะเวลา
๑. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพจังหวัด
ก.พ. ๕๕
๒. สารวจความต้องการฝึกอาชีพของกลุ่มเป้าหมายและจัดลาดับอาชีพยอดนิยม
ก.พ. ๕๕
๓. จัดทาแผนความต้องการการฝึกอาชีพและเสนอแผนการฝึกอาชีพให้คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพ
ของสานักงาน กศน. จังหวัด
๔. จัดทาหลักสูตรอาชีพจานวน ๘๐ เรื่อง
๕. จัดพิมพ์เผยแพร่หลักสูตรอาชีพ ๘๐ เรื่อง และเผยแพร่ใน Tablet
ก.พ. – มี.ค. ๕๕
มี.ค. ๕๕
มี.ค. - เม.ย. ๕๕
๖. จัดทาคู่มือการดาเนินงานศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
เม.ย. ๕๕
๗. เปิดตัวโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน *
เม.ย. ๕๕
๓. จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด (ต่อ)
กิจกรรม
ระยะเวลา
๘. จัดสอนอาชีพตามความต้องการตามแผน
เม.ย. – ก.ย. ๕๕
๙. ดาเนินการเทียบโอนความรู้
พ.ค. – ก.ย. ๕๕
๑๐. ติดตาม ประเมินผล รายงานผล
เม.ย. – ก.ย. ๕๕
๔. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
การจัดการศึกษาทางไกลและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ผลิ ต พั ฒ นา เผยแพร่ สื่ อ เทคโนโลยี เ พื่ อ การจั ด การศึ ก ษาและจั ด
การศึกษาทางไกล ผ่านสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งสถานี ETV วิทยุศึกษา
วิทยุชุมชน อินเทอร์เน็ต เคเบิ้ลทีวี โทรศัพท์มือถือ และสื่ออื่นๆ
๔. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
กิจกรรม
ระยะเวลา
๑. สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
๒. วิเคราะห์ความต้องการและวางแผนการจัดการศึกษาทางไกลและสื่อเทคโนโลยีที่ใช้
ก.พ. ๕๕
ก.พ. ๕๕
๓.วิเคราะห์เลือกเนื้อหารายวิชา
๔. วิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้ในการผลิตสื่อให้มีความเหมาะสม
๕. ผลิตและพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาเช่น รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ e-Book eLearning
ก.พ.-มี.ค. ๕๕
ก.พ. ๕๕
มี.ค. – ก.ย. ๕๕
๔. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
กิจกรรม
ระยะเวลา
๖. ขยายการดาเนินงานลงพื้นที่
มี.ค.-ก.ย. ๕๕
๗. ดาเนินการจัดการเรียนการสอน
มี.ค.-ก.ย. ๕๕
๘. เผยแพร่สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มี.ค.-ก.ย. ๕๕
๙. ติดตามและประเมินผล
ก.ย. ๕๕
๕. Internet กศน.ตาบล
เพื่อสนับสนุนนโยบายการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ สานักงาน กศน.จะเร่งดาเนินการพัฒนา
กศน.ต าบล ที่ เ ป็ น หน่ ว ยจั ด การศึ ก ษาในชุ ม ชนให้ เ ป็ น ศู น ย์ Internet
กศน.ตาบล เพื่อเป็นแหล่งบริการการสืบค้นข้อมูล เป็นช่องทางการค้าขาย
สิ น ค้ า ของประชาชนและชุ ม ชน ทางระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต โดยการจั ด หา
คอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้ครบ ๗,๔๐๙ แห่ง ทั่วประเทศ
๕. Internet กศน.ตาบล
กิจกรรม
ระยะเวลา
๑. จัดทาข้อมูลด้านสารสนเทศของ กศน.ตาบล ดังนี้
๑) ข้อมูลจานวนคอมพิวเตอร์ในแต่ละ กศน.ตาบล
๒) ข้อมูลพิกัดพื้นที่ของ กศน.ตาบล
๓) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ก.พ. – มี.ค. ๕๕
๒. ประสานการดาเนินงานกับ สพฐ.และกระทรวงไอซีทีเพื่อเชื่อมสัญญาณ
Wi-Fi ใน กศน.ตาบลทุกแห่ง
ก.พ. – เม.ย. ๕๕
๓. ให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นข้อมูลใน กศน.ตาบลทุกแห่ง
พ.ค. – ก.ย. ๕๕
สานักงาน กศน.
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ