บทที่ ๒ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขปัญหาปัจจุบัน

Download Report

Transcript บทที่ ๒ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขปัญหาปัจจุบัน

๒.๑ ปัญหาสิ่ งแวดล้อมด้ านกายภาพและชีวภาพ
๒.๑.๑. การร่ อยหรอของทรัพยากรพืชและสั ตว์
๒.๑.๒.การร่ อยหรอของทรัพยากรดิน
๒.๑.๓.การขาดแคลนนา้
๒.๑.๔. การร่ อยหรอของโอโซนในบรรยากาศโลก
๒.๑.๕.ขยะเน่ าเสี ย
๒.๑.๖. ความเสื่ อมโทรมระบบนิเวศ
๒.๑.๗.มลพิษ
๒.๑.๘.การเพิม่ ของประชากรโลก
๒.๑.๑. การร่ อยหรอของทรัพยากรพืชและสัตว์
๑. การตัดไม้ ทาลายป่ า ทาให้ สัตว์ ป่าไร้ ที่อยู่อาศัย
๒. การดักจับสั ตว์ ป่าอย่ างไร้ ขอบเขต ทาให้ สัตว์ ป่าบางชนิดสู ญพันธุ์
๓. การเกิดภัยธรรมชาติ เช่ น การเกิดไฟป่ า เป็ นต้ น
สาเหตุการร่ อยหรอของทรัพยากรพืชและสั ตว์
๑. ประชากรเพิม่ ขึน้ ทาให้ เกิดการบุกรุกพืน้ ทีป่ ่ าไม้ เพือ่ แสวงหา
ที่ทากิน
๒. การพัฒนาในหลายรูปแบบ เช่น การสร้างชลประทาน เป็ นต้น
๓. การลักลอบตัดไม้
๔. การลักลอบล่าสั ตว์ ป่า เพือ่ ยังชีพและเพือ่ การค้ า
วิธีการแก้ ไขปัญหาการร่ อยหรอของทรัพยากรพืชและสั ตว์
๑. การอนุรักษ์พ้นื ที่ที่อยูอ่ าศัยสัตว์ป่า
๒. การเพิ่มปริ มาณสัตว์ป่าให้มากขึ้น
๓. การพัฒนาป่ าไม้ เช่น การทาไม้ การบารุ งป่ าไม้
การปลูกป่ า เป็ นต้น
๒.๑.๒. การร่ อยหรอของทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินมีความสาคัญและคุณประโยชน์ ต่อการ
ดารงชีวติ ของ
มนุษย์ พืช และสั ตว์
สาเหตุการร่ อยหรอของทรัพยากรดิน
๑. อันตรายจากสารอินทรีย์อนั ตรายจากโลหะหนัก
๒. อันตรายจากสารกาจัดศัตรู พชื
๓. เกิดการชะล้ างพังทลายของดิน
วิธีการแก้ ไขปัญหาการร่ อยหรอของทรัพยากรดิน
๑. การใช้ ดินอย่างถูกต้ องเหมาะสม
๒. การปรับปรุงบารุงดิน การเพิม่ ธาตุอาหารให้ แก่ดิน
๓. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน เช่น การปลูกพืชคลุมดิน
การปลูกพืชหมุนเวียน เป็ นต้น
๔. การให้ ความชุ่ มชื้นแก่ดิน
๒.๑.๓. การขาดแคลนนา้
นา้ เป็ นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่ อการดารงชีวติ ของมนุษย์
สาเหตุการขาดแคลนนา้
๑. ปล่ อยนา้ เสี ยลงสู่ แหล่ งนา้ ธรรมชาติ
๒. แหล่ งทีม่ ีชุมชนอยู่หนาแน่ น
๓. โรงงานอุตสาหกรรม
๔. การเกษตรกรรม
๕. ขยะ
๖. สารตะกัว่
วิธีการแก้ ไขปัญหาการขาดแคลนน้า
๑. การใช้ นา้ อย่ างประหยัด
๒. การสงวนนา้ ไว้ ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้ า การสร้างโอ่งน้ า เป็ นต้น
๓. การพัฒนาแหล่ งนา้ ในบางพืน้ ที่ขาดแคลนนา้
๔. การป้องกันนา้ เสี ย เช่น การไม่ทิ้งขยะ สิ่ งปฏิกลู และสารพิษลง
ในแหล่งน้ า เป็ นต้น
๒.๑.๔. การร่ อยหรอของโอโซนในบรรยากาศโลก
๑. เกิดช่ องโหว่ ของชั้นโอโซนในบริเวณขั้วโลกใต้
๒. ชั้นโอโซนในบรรยากาศถูกทาลายด้ วยสารซีเอฟซี (CFCs)
ซึ่งเป็ นสารสั งเคราะห์
๓. ชั้นโอโซนที่บางลงทาให้ รังสี อลั ตราไวโอเลตผ่ านลงยังพืน้
ดินมากขึน้
ผลกระทบที่ตามมา
๑. ระบบนิเวศเสี ยสมดุล
๒. ผลต่ อสุ ขภาพมนุษย์ เช่ น เกิดเป็ นโรคมะเร็งโรคผิวหนัง ต้ อกระจก
เป็ นต้ น
๓. ทาให้ เกิดภาวะโลกร้ อน เกิดปรากฏการณ์ เรือนกระจก
(Greenhouse Effect)
สาเหตุการร่ อยหรอของโอโซนในบรรยากาศโลก
๑. ชั้นโอโซนถูกทาลาย เกิดจากสารคลอโรฟลูโอโรคาร์ บอน
หรือสารซีเอฟซี (CFCs) ดูดความร้ อน
๒. CFCsไม่ เป็ นพิษต่ อมนุษย์ จึงถูกนาไปใช้ ในอุตสาหกรรม
๓. CFCs เป็ นสารที่สังเคราะห์ ขนึ้ มาจึงกลายเป็ นตัวแปลกปลอม
หรือส่ วนเกินของชั้นบรรยากาศโลก
วิธีแก้ ไขปัญหาการร่ อยหรอของโอโซนในบรรยากาศโลก
๑. ลดปริมาณการใช้ ก๊าซเรือนกระจก
๒. ปลูกต้ นไม้ เพิม่ ขึน้ เพือ่ เพิม่ ออกซิเจนให้ อากาศ
๓. ลดการใช้ พลังงานในบ้ าน
๔. ใช้ พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล เอธานอล ให้มากขึ้น เป็ นต้น
๑. ขยะเป็ นปัญหาทางสิ่ งแวดล้ อมที่สาคัญของชุมชนเมืองทั่วโลก
๒. ขยะก่ อให้ เกิดปัญหาหลายด้ าน เช่ น ปัญหาที่ดิน ปัญหาเรื่องนา้
ปัญหาเรื่องอากาศ ปัญหาเรื่องสุ ขภาพอนามัย เป็ นต้ น
สาเหตุการเกิดปัญหาขยะของเน่ าเสี ย
๑. ขาดการกาจัดอย่ างถูกวิธี
๒. การผลิตหรือใช้ สิ่งของมากเกินความจาเป็ น
๓. ขาดเทคโนโลยีในการกาจัดขยะ
วิธีการแก้ ปัญหาขยะของ ดร.สมไทย วงษ์ เจริญ
(เจ้ าพ่อขยะเมืองไทย)
จุดประกายขยะทองคา
ชายคนนีไ้ ม่ ประสบความสาเร็จในชีวติ วันหนึ่ง เขาจึงไปกราบขอพรองค์
พระพุทธชิ นราช ตั้งจิตอธิษฐานให้ พบเส้ นทางทากิน เมื่อออกมาเขาพบกับป้า
สู งวัย ขนขยะใส่ สามล้ อ เขาจึงถามว่ า
“ป้าปรกติดอี ยู่หรือเปล่ า” ป้ าบอกว่ า
“เอ็งนั่นล่ ะไม่ ปรกติ รู้ หรือเปล่ า ขยะในรถเข็นเป็ นของมีค่า ขายได้ 200 บาท”
จึงทาให้ เขา เกิดประกายความคิดว่ าเศษขยะสามารถสร้ างคุณค่ าและมีราคาได้
เริ่มต้ นค้ าขยะ
เขาเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการขั บ รถ
กระบะตระเวนรั บซื้อของ
เก่ า ตามหมู่ บ้ านต่ า งๆ แต่ กลั บ ไม่
มี ใ ครเอาขยะมาขายเลยเพราะ
ชาวบ้ า นมี ค วามเชื่ อ ว่ า การขายของเก่ า กิ น
แสดงว่ า หมดหนทางแล้ ว เขาจึ งใช้ วิ ธี ห าซื้ อ ถ้ ว ยชาม ลู ก อม ไข่ ไ ก่ ไ ปแลกขยะ
ผลปรากฏว่ าได้ ผล ขยะที่เหมือนดั่งทองคานี่แหละคือจุดเริ่ มต้ นตานานเจ้ าพ่ อขยะ
เมืองไทยดร.สมไทย วงษ์ เจริญ ผู้นีน้ ี่เอง
ความสาเร็จของ ดร.สมไทย วงษ์ เจริญ
พุทธศักราช 2553 ดร.สมไทย วงษ์เจริ ญ เจ้าของโรงงานรี ไซเคิลที่
ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยซึ่ งตั้งอยู่ที่จงั หวัดพิษณุ โลก เป็ นเจ้าของธุ รกิ จ
“เครื อข่ายธุรกิจคัดแยกขยะเพื่อรี ไซเคิลวงษ์พาณิ ชย์” ซึ่งมีสาขาทัว่ ประเทศ
ไทยกว่า 500 แห่ง สาขาที่ใกล้ตวั คนกรุ งที่สุดก็คือสาขาสุ วรรณภูมิที่ลูกค้าที่
เอาขยะมาขายส่ วนมากล้วนเป็ นระดับคุณนายนัง่ เบนซ์
วิธีการแก้ไขปัญหาขยะเน่ าเสี ย
๑.รู้ จักทิง้ ขยะลงในภาชนะให้ เป็ นที่เป็ นทาง
๒. นาขยะที่ยงั มีประโยชน์ ไปรีไซเคิล
๓. คัดแยกขยะให้ ถูกหมวดหมู่
๔. จัดสรรพืน้ ที่ทิง้ ขยะ
๕. การนาเทคโนโลยีมาใช้ ในการกาจัดขยะ
๒.๑.๖. ปัญหาความเสื่ อมโทรมของระบบนิเวศ
• ระบบนิเวศ หมายถึง หน่ วยของความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวติ ในแหล่งทีอ่ ยู่
แหล่งใดแหล่งหนึ่ง
องค์ ประกอบทีม่ ีชีวติ มีหน้ าทีเ่ ฉพาะดังต่ อไปนี้
๑. ผู้ผลิต (Producer) : ทาหน้ าทีผ่ ลิตอาหารให้ แก่สิ่งมีชีวติ กลุ่มอืน่
๒. ผู้บริโภค (Consumers) : สร้ างอาหารเองไม่ ได้ อาศัยสารอาหารที่ได้
จากการกินพืชหรือสั ตว์ ด้วยกัน
๓. ผู้กาจัดของเสี ย : บริโภคของเสี ยหรือซากสั ตว์ ที่ตายแล้ว
๔. ผู้ย่อยสลาย : ทาหน้ าทีย่ ่ อยสลายซากพืชซากสั ตว์
• ความสมดุลของระบบ หมายถึง สภาวะที่ปริ มาณผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภคและ
ผูย้ ่อยสลาย มีสัดส่ วนพอเหมาะ ทาให้เกิดการหมุนเวียนของอาหารและ
ไม่เป็ นอุปสรรค์ต่อวัฎจักรของธาตุอาหาร
๑. การผลิตทางการเกษตรทีไ่ ม่ ถูกต้ อง เช่ น การใช้ สารเคมีเร่ งผลผลิต เป็ นต้ น
๒. การพัฒนาท้ องถิ่นอย่ างไม่ รอบคอบ เช่ น การสร้ างเขื่อน และถนน เป็ นต้ น
๓. การขยายตัวของเมือง
๔. บุกรุกทาลายป่ า
๕. ทาลายพันธุ์พชื และพันธุ์สัตว์
สภาพความสกปรกหรื อความแปดเปื้ อนที่มีต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้ อมที่
เกิดจากสิ่ งที่ไม่ บริ สุทธิ์เข้ าไปปะปนอยู่ในสิ่ งแวดล้ อมนั้ นๆ ได้ แก่ น้าเสี ย
อากาศเสี ย ขยะมูลฝอย สารพิษ เสี ยงดังและความสั่ นสะเทือน ความร้ อน
สาเหตุของปัญหาภาวะมลพิษ
๑. เกิดจากการขายตัวของชุ มชนมากขึน้
๒.การใช้ สารมีพษิ เพือ่ การป้องกันและกาจัดศัตรูพชื
๓. การกาจัดขยะอย่ างผิดวิธี
๑. ส่ งเสริมการใช้ พลังงานหมุนเวียนทีม่ าจากธรรมชาติ
๒. สนับสนุนให้ มีการใช้ ระบบการขนส่ งทีม่ ีมลพิษน้ อย
๓. ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะมูลฝอยชุ มชน
๔. ลดการใช้ อุปกรณ์ เครื่องใช้ ทมี่ ีสารประกอบของสารทีท่ าให้ เกิดภาวะ
เรือนกระจก
๒.๑.๘. ปัญหาการเพิม่ ของประชากรโลก
ประชากรทีม่ ากเกินไปทาให้ เกิดปัญหาดังต่ อไปนี้
๑. สุ ขภาพอนามัย
๒. แหล่งนา้ ดื่มทีส่ ะอาดไม่ เพียงพอ
๓. การขาดแคลนอาหาร
๔. รัฐไม่ สามารถจัดสาธารณูปโภคให้ เพียงพอ
๕. ปัญหาชุ มชนแออัด
๑. ขาดการควบคุมปริมาณประชากรในแต่ ละพืน้ ที่
๒. ขาดการวางแผนทางด้ านประชากรศาสตร์
๓. การเจริญของวิทยาศาสตร์ ด้ านเทคโนโลยีทางการแพทย์ ที่เจริญมากขึน้
๑. รู้จักการวางแผนครอบครัว
๒. ให้ ความรู้ในเรื่องของการสร้ างคุณภาพของประชนชน
๓. กระจายความเจริญไปสู่ ภูมิภาคต่ าง ๆ
วิธีแก้ ปัญหา
โดยการปรับใช้ ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ใช้ เทคโนโลยีเพือ่ ลด เพิม่ ทาลาย หรือเปลีย่ นรูปของเสียหรือมลพิษ
สิ่ งแวดล้อมดังนี้
๑. ของเสีย / มลพิษของแข็ง
๑.๑ ระบบการแยก
๑.๒ ระบบกรอง
๑.๓ ระบบฝังกลบ
๑.๔ ระบบการทาปุ๋ ยหมัก
๑.๕ ระบบการเผา
วิธีแก้ ปัญหา
โดยการปรับใช้ ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๒. ของเสีย/มลพิษของเหลว
เช่ น นา้ เสี ย นา้ มัน และไขมัน เป็ นต้ น
๒.๑ ระบบใช้ จุลนิ ทรีย์ช่วยย่ อยสลาย
๒.๒ ระบบตกตะกอน
๒.๓ ระบบการแปรรูป
วิธีแก้ ปัญหา
โดยการปรับใช้ ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๓. ของเสี ย/มลพิษทีเ่ ป็ นก๊ าซและฝุ่ นละออง
๓.๑ ระบบการกรอง
๓.๒ การทาให้ ตกตะกอนโดยการพ่ นนา้
๓.๓ กระบวนการเคมีทใี่ ห้ ก๊าซพิษผ่ านสารละลายเพือ่ ให้ เกิดตะกอน
๓.๔ เครื่องอิเลกทรอนิกแบบแม่ เหล็กไฟฟ้าสถิตดูด
เทคโนโลยีรีไซเคิล
รี ไซเคิลเป็ นระบบที่อาจใช้ การเลื อ ก
ด้ วยมือ โดยใช้ เทคโนโลยีการกรอง และ
การดูดซับ
การเผา หรื อการใช้ เทคโนโลยี
ทางด้ านอุตสาหกรรมเปลี่ยนรู ปของเสี ย
จากทีเ่ ป็ นพิษมาใช้ ประโยชน์ ได้
เช่ น เศษพลาสติก เปลี่ยนรู ปเป็ นพลาสติก
ในรู ปแบบใหม่ เป็ นต้ น
เทคโนโลยีสังคม
ใช้ กระบวนการควบคุ มมลพิษโดยการให้ ความรู้ และวิธีปฏิบัติ
ส่ วนปั ญ หาทางสั ง คมนั้ น ได้ มี ก ารสร้ างเทคโนโลยี ท างสั ง คม
หลากหลาย เช่ น การวางผังเมือง การสร้ างวัฒนธรรม การสร้ าง
กฎหมาย ทั้งหมดนีต้ ้ องการให้ สังคมอยู่เป็ นสุ ข เป็ นต้ น
วิธีแก้ปัญหาโดยการการใช้กฎหมายบังคับ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ
พ.ศ.๒๕๓๕
มีสาระสาคัญดังนี้
๑. สิ ทธิและหน้ าที่ของประชาชนและการให้ ความช่ วยต่ อองค์ กรเอกชน
๒. คณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ
๓. กองทุนสิ่ งแวดล้อม
๔. การวางแผนจัดการคุณภาพสิ่ งแวดล้อม
๕. การควบคุมมลพิษ
๖. การดาเนินการควบคุมป้องกันมลพิษ
๗. การกาหนดความผิดและกาหนดโทษ
กฎหมายสิ่ งแวดล้อมระหว่างประเทศ
๑. อนุสัญญาว่ าด้ วยความหลากหลายทางชีวภาพ
๒. อนุสัญญาว่ าด้ วยการค้ าระหว่ างประเทศ
ประโยชน์ ที่ได้ รับ เช่ น ความร่ วมมือ ความช่ วยเหลืออืน่ ๆ
ถ้ าไม่ ปฏิบัติตาม จะมีกลไกบีบบังคับ การกีดกันทางการค้ า
ไม่ ให้ ค้าขายหรือซื้อของจากประเทศนั้น เป็ นต้ น
มาตรฐาน ISO 14000 ว่ าด้ วยระบบการจัดการสิ่ งแวดล้ อม
เป็ นการสร้ างคุณภาพสิ่ งแวดล้ อมซึ่งไม่ เคยมีและจาเป็ นต้ องมี เพือ่ ให้
สอดคล้ องกับตลาดยุคปัจจุบัน
sc 1 ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
sc 2 การตรวจสอบและบันทึกผลมลพิษ
sc 3 การใช้ ฉลากผลิตภัณฑ์เพือ่ สิ่งแวดล้อม
sc 4 การประเมินผลการดาเนินการด้านสิ่งแวดล้อม
sc 5 การประเมินวัฎจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์
sc 6 ข้อกาหนดและคานิยาม
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมเป็ นปัญหาที่สาคัญยิ่งในปัจจุบัน เช่ น ปัญหาความ
ร่ อยหรอของทรั พยากรธรรมชาติ ปั ญหาขยะของเน่ าเสี ย ปั ญหาระบบ
นิเวศ ปัญหามลพิษ ปัญหาการเพิม่ ประชากรโลกการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
หลัก การอนุ รั ก ษ์ คือ การใช้ แ บบยั่ง ยืน การฟื้ นฟู สิ่ ง ที่ เ สื่ อ มโทรม
และการสงวนของที่หายาก
วิ ธี ก ารอนุ รั ก ษ์ มี ๘ วิ ธี คื อ การใช้ การเก็ บ กั ก การรั ก ษา/การ
ซ่ อมแซม การฟื้ นฟู การพัฒนา การป้องกัน การสงวน และการแบ่ งเขต
การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม ทาได้ หลายวิธีด้วยกัน
๑. อนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมโดยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๒. การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมโดยใช้ กฎหมาย
๓. การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมโดยใช้ การศึกษาและจริยธรรม
๔. การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม ทุกคนต้ องมีส่วนร่ วม
๕. การแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อมต้ องเริ่มทีต่ ัวเราเองแล้ วจึงขยายไปสู่ ระดับโลก
๖. การสร้ างวัฒนธรรมใหม่ ทเี่ น้ นความตระหนักและความสมดุลของสิ่ งต่ าง ๆ
เอกสารอ้างอิง
ประเวศ อินทองปาน. (2545). พุทธศาสนากับสิ่ งแวดล้อม
บทที่ 2 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมและการแก้ไขปัญหาปัจจุบนั . จาก ชัชวาลย์ ชิงชัย.
เวปไซด์: http://buddhism.rilc.ku.ac.th/chachawarn/coursesy
llabus/2550_1/388222.html
koykom. (2554). ราชารีไซเคิล... ดร.สมไทย วงษ์ เจริญ “ศูนย์ กลางขยะส่ งออกพันล้ าน” จาก
atcoud.
เวปไซด์ : http://atcloud.com/stories/78616
ขอบคุณรู ปภาพจาก..
www.google.co.th
http://wallpaperart.org/2011/10/bring-back-nature-7/
ขอขอบคุณ Special
thank…
รายชื่อผูจ้ ดั ทา
อาจารย์ ชัชวาลย์ ชิงชัย
๑. นางสาวสุ ภสั สร
อินทรี ย ์
( หัวหน้ากลุม่ )
๒. นาย วรากร ภาควิชาปรั
งามกมลรั
ตน์ ( รองหัคณะมนุ
วหน้า ) ษยศาสตร์
ชญาและศาสนา
๓. นางสาว วรวีร์
วีระเสถียร ( เลขานุการ )
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
๔. นาย ธนากร
มลภิรมย์ ( ประชาสัมพันธ์ )
Adele – Rolling In The Deep
.….