Transcript Document

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
อาเซียน (ASEAN)
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
สัญลักษณ์อาเซียน คือ ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิก
รวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้าหนึ่ งใจเดียวกัน
สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง
่
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้ า
สีขาว หมายถึง ความบริสทุ ธ์ ิ และ
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
อาเซียน (ASEAN)
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติ
แห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ก่อตัง้ ขึน้ เมื่อ 8 สิงหาคม 2510
ปัจจุบนั มีสมาชิกรวม 10 ประเทศ
คือ อินโดนี เซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ ไทย บรูไน ลาว พม่า
เวียดนาม และกัมพูชา
 วัตถุประสงค์เพื่อสร้างสันติภาพ
เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค

2540
2540
2510
2510
2538
2542
2510
2510
2510
อาเซียน 6
สมาชิ กใหม่ CLMV
2527
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
“One Vision, One Identity, One Community”

ปี 2546 ผูน้ าอาเซียนเห็นพ้องกันว่า
ภายในปี 2558 จะจัดตัง้ “ประชาคม
อาเซียน” (ASEAN Community) ที่
ประกอบด้วย 3 เสา คือ
–
–
–
ประชาคมการเมือง และความมันคง
่
อาเซียน (ASEAN Political Security
Community : APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community : AEC)
ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community :
ASCC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)
AEC
ลักษณะ
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างความมันคง
่ มังคั
่ ง่
และความสามารถในการ
แข่งขันของอาเซียน
เป็ นตลาดและฐานการผลิต
ร่วมกัน
การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ
การลงทุน แรงงานมีฝีมือ
อย่างเสรี
เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี
มากขึน้
เป้ าหมายของ AEC : ปี 2558
แผนงานเพื่อจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint)
การเป็ นตลาด การสร้างเสริมขีด
การพัฒนา
การบูรณาการ
และฐานการ ความสามารถในการ เศรษฐกิจอย่าง เข้ากับเศรษฐกิจ
ผลิตร่วมกัน
แข่งขัน
เสมอภาค
โลก
-เคลื่อนย้าย
-นโยบายภาษี
- ลดช่องว่างใน -ประสาน
สินค้า/ บริการ -นโยบายการแข่งขัน การพัฒนา
นโยบาย
การลงทุน /
-สิทธ์ ิ ทรัพย์สินทาง ระหว่าง ASEAN เศรษฐกิจ
แรงงานฝี มือ ปัญญา
เดิมกับ ASEAN - สร้างเครือข่าย
อย่างเสรี
-การคุ้มครอง
ใหม่ (CLMV)
ในการผลิต การ
-- เคลื่อนย้าย
ผูบ้ ริโภค
- สนับสนุนการ จาหน่ าย
เงินทุนอย่างเสรี -การพัฒนา
พัฒนา SME
- จัดทา FTA กับ
มากขึน้
โครงสร้างพืน้ ฐาน
ประเทศนอก
ภูมิภาค
แนวทางการดาเนินงานไปสู่การเป็ น AEC
เพื่อเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
1.
2.
3.
4.
5.
เปิดเสรีการค้าสินค้า
การเปิดเสรีการค้าบริการ
การเปิดเสรีการลงทุน
การเปิดเสรีด้านเงินทุน
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี
1. การเปิดเสรีการค้าสินค้า
ATIGA - ความตกลงด้านการค้าสินค้าอาเซียน

ครอบคลุมมาตรการด้านการส่งออกและนาเข้าสินค้าระหว่าง
10 ประเทศ
–
–
–
–
–
–
ตารางการลดภาษี ตามพันธกรณี ของอาฟตา (AFTA)
กาหนดให้ใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี (NTMs) ได้เฉพาะเท่าที่จาเป็ น
ส่งเสริมความสะดวกด้านการค้าสินค้าระหว่างกัน
หลักปฏิบตั ิ ด้านศุลกากรที่อ้างอิงหลักการของสากล
การปฏิบตั ิ ด้านเทคนิค กระบวนการตรวจสอบรับรองมาตรการ
สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
มาตรการเยียวยาทางการค้า
การเปิดเสรีการค้าสินค้า
 การลด/ยกเลิกภาษี
สินค้าในรายการลดภาษี
ปี 2553
อาเซียนเดิม
ปี 2558
ภาษี 0%
เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา
ภาษี 0%
ยกเว้น สินค้าในรายการสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List:SL) ภาษี ไม่ต้องเป็ น 0% แต่ต้อง <
5% (ไทยมีเมล็ดกาแฟ มันฝรัง่ ไม้ตดั ดอก เนื้ อมะพร้าวแห้ง ภาษี เหลือ 5%)
และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List:HSL) ลดภาษี ลงในระดับที่ต้อง
ตกลงกัน (ได้แก่ ข้าว (ID, MY, PH) และน้าตาล (ID,PH))
 การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Measures)
 การกาหนดกฎว่าด้วยถิ่นกาเนิด (Rules of Origin)
สินค้าอ่อนไหวของประเทศอาเซียน (ภาษี นาเข้า 0-5%)
ไทย
บรูไน
มาเลเซีย
เมล็ดกาแฟ มันฝรัง่ เนื้ อมะพร้าวแห้ง ไม้ตดั ดอก
กาแฟ ชา
สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้ อสุกร ไก่ ไข่ พืชและผลไม้บางชนิด ยาสูบ
5%
5%
5%
ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ และ
อินโดนี เซีย
กัมพูชา
ลาว
สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้ อสุกร ไก่ มันสาปะหลัง ข้าวโพด
ไม่มี
5%
-
เนื้ อไก่ ปลามีชีวิต ผักผลไม้บางชนิด พืชบางชนิด
สัตว์มีชีวิต เนื อ้โคกระบือ สุกร ไก่ ผักผลไม้บบางชนิด ข้าว ยาสูบ
5%
5%
ถัว่ กาแฟ น้าตาล ไหม ฝ้ าย
สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้ อไก่ ไข่ พืชบางชนิด เนื้ อสัตว์ปรุงแต่ง
น้าตาล
5%
5%
เมียนมาร์
เวียดนาม
การเปิดเสรีการค้าสินค้า (ต่อ)
การปฏิบตั ิ ด้านเทคนิค กระบวนการตรวจสอบรับรองมาตรการ SPS




ปรับประสานมาตรฐาน กฎระเบียบด้านเทคนิคและการประเมินให้เป็ นไป
ตามหลักสากล ปฏิบตั ิ ได้ และโปร่งใส
พัฒนาและใช้ระบบบริหารจัดการคุณภาพผลิตภัณฑ์ทงั ้ พืช ประมง ปศุสตั ว์
อาหาร
จัดตัง้ ระบบโดยใช้ GAP, GAHP, GHP, GMP, HACCP เป็ นพืน้ ฐานสาหรับ
ผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหารให้สอดคล้องกับสากล
ปรับประสานระบบและเกณฑ์ต่างๆ เช่น ระบบการกักกันและตรวจสอบ
หรือสุ่มตัวอย่าง ระดับปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในอาหาร มาตรฐาน
ด้านความปลอดภัยและคุณภาพ แนวทางการใช้สารเคมี การควบคุม
สุขภาพสัตว์ (สัตว์น้า/บก) เป็ นต้น
3. การเปิดเสรีการลงทุน
ACIA – ความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน

ACIAประกอบด้วยหลักการของการลงทุน 4 ด้านได้แก่ ส่งเสริมการลงทุน
อานวยความสะดวก การเปิดเสรีเพื่อให้เข้ามาลงทุน และการคุ้มครองการลงทุน


ครอบคลุม 1. เกษตร 2. ประมง 3.ป่ าไม้ 4. เหมืองแร่ 5. อุตสาหกรรมการ
ผลิตและบริการที่เกี่ยวเนื่ องกับทัง้ 5 สาขาการผลิต
เปิดโอกาสให้สมาชิกทาข้อสงวนสาขาที่ไม่ต้องการเปิดเสรีไว้ในตารางข้อ
ผูกพันโดยไม่ต้องมีการเจรจาต่อรอง
พันธกรณี ของไทยภายใต้ ACIA



ไทยผูกพันการเปิดเสรีการลงทุนภายในปี 2553 ใน 3 สาขา ดังนี้
- การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
- การทาไม้จากป่ าปลูก
- การเพาะ ขยาย และปรับปรุงพันธุพ์ ืช
อาเซียนเห็นด้วยให้ใช้วิธีการเปิดเสรีแบบค่อยเป็ นค่อยไป โดยแบ่งออกเป็ น
3 ช่วง คือ ปี 2553 ปี 2555 และ ปี 2557
ปี 2555 สาขาประมงจึงเปิดให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ไม่เกิน 51% ในสาขา
เพาะเลี้ยงทูน่าในกระชังน้าลึก และการเพาะเลี้ยงกุ้งมังกรสายพันธุใ์ น
ประเทศไทยที่ได้จากการเพาะพันธุ์ และในอนาคตอันใกล้นี้ ยังไม่ต้องเปิดเสรี
เพิ่มมากขึน้ อาจเพียงแค่เพิ่มความสะดวกในการเข้ามาลงทุน
5. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มืออย่างเสรี
 เป้ าหมายเพื่อสร้างมาตรฐานที่ชด
ั เจนของแรงงานมีฝีมือ
(โดยทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition
Arrangements: MRAs) ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก
 อานวยความสะดวกให้กบ
ั เฉพาะ “แรงงานฝี มือ” ที่มี
คุณสมบัติตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ใน MRAs เท่านัน้
 ปัจจุบน
ั อาเซียนได้จดั ทา MRAs ไว้แล้ว 8 สาขา คือ วิศวกรรม
สถาปนิก แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ นักบัญชี และช่าง
สารวจ และบุคลากรด้านการท่องเที่ยว
สิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึน้ หลังการเป็ น AEC
มีการรวมตัวกันเป็ นตลาดขนาดใหญ่
บรรยากาศการค้าและการลงทุนเสรีมากขึน้
มีการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมถึงกันหมด
มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่เสมอภาค
เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศนอกภูมิภาค
โอกาสทางการค้าและการลงทุนจาก AEC








ขยายช่องทางและโอกาสการค้าเข้าสู่ตลาดอาเซียน มีสินค้าและบริการที่
เกี่ยวข้องเพิ่มขึน้ ทัง้ ด้านปริมาณและความหลากหลาย
เกิดการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale)
ลดต้นทุน นาเข้าวัตถุดิบในราคาถูกลง ทาให้ผลิตและขายในราคาถูกลง
เสริมสร้างโอกาสในการลงทุน เช่น ขยายกิจการ ย้ายฐานการผลิต
สร้างงานเพิ่มขึน้
เกิดการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมใหม่ในสินค้าและบริการ
มีการพัฒนาและเพิ่มคุณภาพบุคลากร/แรงงาน ลดช่องว่างการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ เพิ่มอานาจการซื้อ
เศรษฐกิจในภาพรวมแข็งแกร่งขึน้
ภัยคุกคามที่อาจเกิดขึน้ จากการเป็ น AEC
 ต้องเผชิญกับคู่แข่งขันและมีการแข่งขันในตลาดมากขึน
้
 สินค้าหลากหลายที่ ไม่ได้มาตรฐาน/คุณภาพตา่ เข้ามาขาย
ในตลาดมากขึน้
 นักลงทุนต่างชาติที่ได้สิทธิการเป็ นนักลงทุนอาเซียนเข้า
มาลงทุนในประเทศไทยมากขึน้
 การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือของไทยไปประเทศที่มี
ค่าตอบแทนสูงกว่า
การเตรียมความพร้อมของไทย
โครงการพัฒนาภาคการประมงสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน ปี งบประมาณ 2556





ปรับปรุ งกระบวนการผลิต ตั้งแต่ ธนาคารพ่ อแม่ พนั ธุ์สัตว์ นา้ ศึกษา
เทคโนโลยีการลดต้ นทุนการเพาะเลีย้ งปลานิล กุ้งขาว
ปรับปรุ งระบบการตรวจสอบรับรองมาตรฐานฟาร์ มสั ตว์ นา้
ปรับปรุ งระบบการตลาด Shrimp cluster พัฒนาศักยภาพการผลิตปลา
นา้ จืด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ส่ งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร
ส่ งเสริมการยกระดับมาตรฐานสิ นค้ าประมงพืน้ บ้ าน
โครงการพัฒนาภาคการประมงสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจา
เซียน ปี งบประมาณ 2556
เผยแพร่ ความรู้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 ศู นย์ ข้อมูลข่ าวสารการประมงประเทศสมาชิ กอาเซียน
 การจัดงาน ASEAN Seafood Exposition

and Fisheries Conference
รอติดตาม เอกสาร โอกาสการทาธุรกิจประมงในประเทศสมาชิก
อาเซียน ภายในปี 2556