วิวัฒนาการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

Download Report

Transcript วิวัฒนาการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

การสื่ อสารข้ อมูลและเครือข่ าย
(Data Communications and Networks)
หน่ วยที่ 1ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการสื่ อสารข้ อมูล
และระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
อ.ปริญญา น้ อยดอนไพร (V.3.01112013)
วัตถุประสงค์ การเรียนรู้
1.
2.
3.
4.
อธิ บายความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับการสื่ อสารข้อมูลได้
อธิบายประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูลได้
อธิบายความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้
อธิ บายประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ได้
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารด้ วยเสี ยง
• ในปี ค.ศ. 1837 โดย ซามูเอล มอร์ ส (Samuel Morse) และผูช้ ่วยของเขา คือ อัลเฟรด
เวล (Alfred Vail) ได้ประดิษฐ์โทรเลขขึ้น เพื่อใช้รับส่ งข้อมูลโดยอาศัยการแปลงรหัส
ข้อมูลไปเป็ นรหัสสัญญาณทางไฟฟ้ าหรื อที่เรี ยกว่า รหัสมอร์ส (Morse code)
• ในปี ค.ศ. 1876 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล์ล (Alexander Graham Bell) ได้พฒั นาการ
สื่ อสารให้มีความก้าวหน้าขึ้นอีกขั้นหนึ่งจากโทรเลขของมอร์ส โดยแทนที่จะส่ งข้อมูล
ในรู ปของรหัสข้อมูลแล้วแปลงเป็ นรหัสสัญญาณไฟฟ้ า แต่เบล์ลใช้การแปลงข้อมูล
จากเสี ยงพูดโดยตรงไปเป็ นสัญ ญาณไฟฟ้ าแล้วส่ งไปตามสายสัญญาณที่ เชื่ อมโยง
ระหว่างผูส้ ่ งและผูร้ ับ เบล์ลได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ที่สามารถสื่ อสารในระยะไกลขึ้นเป็ น
ครั้งแรก
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารด้ วยเสี ยง (ต่ อ)
• ในปี ค.ศ. 1915 การบริ การโทรศัพท์ขา้ มทวีปและข้ามมหาสมุทรแอ็ตแลนติกได้เริ่ ม
เปิ ดให้บริ การในสหรัฐอเมริ กา และในช่วงต้นของทศวรรษ 1920 โทรศัพท์ที่ใช้การ
หมุนหมายเลข (dial telephone) โดยจะต้องมีเจ้าหน้าที่โอเปอร์เรเตอร์ ทาหน้าที่ในการ
สลับสายสัญญาณ
ที่มา : dailygizmo.files.wordpress.com
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารด้ วยเสี ยง (ต่ อ)
• ในปี ค.ศ. 1948 ระบบโทรศัพ ท์ที่ เ ชื่ อ มต่ อ โดยใช้สั ญ ญาณไมโครเวฟ จึ ง ได้ถู ก
พัฒ นาขึ้ น ในประเทศแคนาดา และในปี ค.ศ. 1951 โทรศัพท์ท างไกลที่ ไ ม่ ต ้อ งมี
เจ้าหน้าที่โอเปอร์เรเตอร์สลับสายโทรศัพท์ให้แก่ผใู ้ ช้
ที่มา : www.aowireless.com
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารด้ วยเสี ยง (ต่ อ)
• โทรศัพ ท์ ร ะหว่ า งประเทศที่ ใ ช้สั ญ ญาณดาวเที ย มเครื่ องแรกได้พ ัฒ นาขึ้ น ในปี
ค.ศ. 1962 โดยใช้สัญญาณจากดาวเทียมเทลสตาร์ วนั (Telstar I) และในปี ค.ศ. 1965
ระบบโทรศัพท์ระหว่างประเทศที่ใช้สัญญาณดาวเทียมก็ได้มีการใช้อย่างแพร่ หลายทัว่
โลก
ที่มา : telstarlogistics.typepad.com และ www.alcatel-lucent.com
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารด้ วยเสี ยง (ต่ อ)
• โทรสารหรื อ แฟ็ กซ์ (fax)
ได้เ ริ่ ม เกิ ด ขึ้ นในปี ค.ศ. 1962 และในปี ค.ศ. 1963 บริ ษ ัท
ต่าง ๆ ได้เริ่ มมีการจาหน่ายโทรศัพท์ที่ใช้การกดปุ่ ม (touch tone telephone) ให้แก่ผใู ้ ช้งานทัว่ ไป
นอกจากนี้ยงั ได้มีการพัฒนาโทรศัพท์ที่สามารถเห็นภาพใบหน้าระหว่างผูส้ นทนาขึ้น ในปี ค.ศ.
1969
• ในช่ ว งระหว่างปี ค.ศ. 1983-1984 ได้เ ริ่ ม มี การน าระบบโทรศัพท์ที่ ใช้เครื อข่ ายเซลลูลาร์ มา
ให้บริ การแก่สาธารณชน ซึ่ งในระหว่างนั้นโทรศัพท์ที่ใช้ยงั มีขนาดใหญ่เทอะทะ และมีน้ าหนัก
มากไม่สะดวกต่อการพกพาไปในที่ต่าง ๆ ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1990 ได้มีการพัฒนาโทรศัพท์
ดังกล่าวให้มีขนาดกะทัดรัด ง่ายและสะดวกต่อผูใ้ ช้ในการพกพา จึงทาให้โทรศัพท์ที่ใช้เครื อข่าย
เซลลูลาร์ ได้รับความนิ ยมมากขึ้ น ซึ่ งโทรศัพท์ดงั กล่ าวเรี ยกอี กชื่ อหนึ่ งว่า โทรศัพท์เคลื่ อนที่
(mobile telephone)
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• สรุ ป วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารด้ วยเสี ยง
ปี ค.ศ.
1837
1876
1915
1948
1962
1963
1969
1983-1984
ทศวรรษ 1990
เทคโนโลยี
รายละเอียด
โทรเลข
ซามูเอล มอร์ ส ประดิษฐ์โทรเลขขึ้นมา โดยใช้รหัสมอร์ ส
โทรศัพท์
อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล์ล ประดิษฐ์โทรศัพท์ระหว่างเมืองปารี สในแคนาดากับเมือง
แบรนด์ฟอร์ดในแคนาดาเช่นกัน
โทรศัพท์ขา้ มทวีป
เริ่ มเปิ ดให้บริ การในสหรัฐอเมริ กาเป็ นครั้งแรก
โ ท ร ศั พ ท์ ที่ เ ชื่ อ ม สั ญ ญ า ณ มีการพัฒนาขึ้นในประเทศแคนาดา
ไมโครเวฟ
โทรศัพท์ที่ใช้สัญญาณดาวเทียม/ โทรศัพท์ระหว่างประเทศโดยใช้สัญญาณดาวเทียมเทลสตาร์ วนั และเริ่ มมีการใช้โทรสาร
โทรสาร
โทรศัพท์ที่ใช้การกดปุ่ มแทนการ มีการจาหน่ายโทรศัพท์ที่ใช้การกดปุ่ มแทนการหมุน
หมุนหมายเลข
โทรศัพท์ภาพ
เริ่ มมีการพัฒนาระบบโทรศัพท์ภาพขึ้นมาใช้งาน
โทรศัพท์เครื อข่ายเซลลูลาร์
บริ ษทั หลายแห่งพัฒนาระบบโทรศัพท์ที่ใช้เครื อข่ายเซลลูลาร์ มาให้บริ การแก่สาธารณชน
โทรศัพท์เคลื่อนที่
บริ ษทั หลายแห่งเริ่ มพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ออกมาจาหน่ายและแพร่ หลายจนถึงปัจจุบนั
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารข้ อมูล
• คอมพิวเตอร์ ยคุ ใหม่กเ็ ริ่ มต้นขึ้นในช่วงทศวรรษ 1960 ซึ่ งเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ทาให้เกิด
ระบบงานประยุ ก ต์ ใ หม่ ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การสื่ อ สารข้อ มู ล ขึ้ น เช่ น ระบบ
ประมวลผลและกาหนดเส้นทางเชื่ อมต่อของโทรศัพท์ ประหยัดค่าใช้จ่าย ระบบ
รับส่ งข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่สองเครื่ องขึ้นไป โดยผูใ้ ช้สามารถใช้
คอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่ งที่เรี ยกว่า "ดัม เทอร์ มินลั (dumb terminal)" บันทึกข้อมูล
และส่ งข้อมูลนั้นผ่านสายโทรศัพท์ไปประมวลผลที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม
(mainframe) และเมื่อได้ผลลัพธ์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมก็จะส่ งผลลัพธ์น้ นั
กลับมายังเครื่ องเทอร์มินลั
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารข้ อมูล (ต่ อ)
• ในช่ วงทศวรรษ 1970 ระบบคอมพิวเตอร์ ออนไลน์ได้ถูกพัฒนาขึ้ นให้สามารถ
ทางานแบบเรี ยลไทม์ (real time)
• การทางานแบบการประมวลผลรายการธุรกรรมหรื อทรานแซกชัน (transaction) ณ
เวลาที่เกิดรายการธุ รกรรมได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งเก็บรวบรวมข้อมูลไว้เหมือนกับการ
ประมวลผลแบบแบทซ์
• มีการนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ พีซีที่มีซีพียอู ยูด่ ว้ ยภายในเครื่ อง มาเชื่อมต่อแทนดัมบ์
เทอร์ มิ นั ล ท าให้ เ ครื่ องพี ซี ส ามารถประมวลผลได้ เ อง โดยไม่ ต ้ อ งรอการ
ประมวลผลจากเครื่ อ งเมนเฟรมและได้วิ ว ฒ
ั นาการมาสู่ ร ะบบเครื อ ข่ า ยแบบ
ไคลเอนต์เซิ ร์ฟเวอร์ หรื อแม่ข่าย-ลูกข่าย
วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสาร
• สรุ ป วิวฒ
ั นาการของการสื่ อสารข้ อมูล
ปี ค.ศ.
1945
1947
เทคโนโลยี
เครื่ องคอมพิวเตอร์อีนิแอ็ก
ทรานซิสเตอร์
ทศวรรษ 1950
ทศวรรษ 1960
ระบบประมวลผลแบบแบทซ์
ระบบงานเครื อข่าย
ทศวรรษ 1970
ระบบเรี ยลไทม์
ทศวรรษ 1980
เครื่ องพีซี
รายละเอียด
เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลก
การประดิ ษ ฐ์ทรานซิ สเตอร์ ช่ วยให้สามารถประดิ ษ ฐ์
เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง
ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้ซีพียขู องเครื่ อง
เริ่ มเชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ระหว่างเครื่ องเมนเฟรม
และเครื่ องดัมบ์เทอร์มินลั
การทางานแบบประมวลผลรายการธุ รกรรม ณ เวลาที่
เกิดรายการธุ รกรรมได้ทนั ที มีการใช้เครื่ องเทอร์ มินลั ที่
ซีพียแู ทนดัมบ์เทอร์มินลั
การพัฒนาเครื่ องพีซีที่มีขนาดเล็กลงและมีราคาถูกขึ้นมา
ใช้งาน
ความหมาย องค์ ประกอบพืน้ ฐาน
และประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล
การสื่ อสารข้ อ มู ล หมายถึ ง การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล และ
สารสนเทศระหว่างอุปกรณ์หรื อจากคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็ น
ผู้ส่ ง ข้อ มู ล กับ คอมพิ ว เตอร์ ที่ ท าหน้ า ที่ เ ป็ นผูร้ ั บ ข้อ มู ล ผ่ า น
ตัวกลาง ผ่านทางสื่ อกลางที่ ใ ช้แ ลกเปลี่ ย น ข้อ มูล ที่ใ ช้ใ นการ
แลกเปลี่ ย นระหว่ า งกัน จะอยู่ใ นรู ป แบบของ 0 และ 1 หรื อ
เรี ย กว่ า ดิ จิ ต อล และจะต้อ งมี ข ้อ ตกลงหรื อกฎเกณฑ์วิ ธีก าร
สื่ อสารระหว่างกัน เรี ยกว่า โปรโตคอล
องค์ ประกอบของการสื่อสารข้ อมูล
Step 1:
Step 2:
Step 3:
……
ข่ าวสาร
(Message)
โปรโตคอล (Protocol)
ผู้ส่ง
(Sender)
Step 1:
Step 2:
Step 3:
……
โปรโตคอล (Protocol)
สื่ อกลางส่ งข้ อมูล
(Medium)
ผู้รับ
(Receiver)
องค์ ประกอบของการสื่อสารข้ อมูล (ต่ อ)
• ข่าวสาร (Message)
• ผูส้ ่ ง (Sender/Source)
• ผูร้ ับ (Receiver/Destination)
• สื่ อกลางส่ งข้อมูล (Transmission Medium)
• โปรโตคอล (Protocol)
องค์ ประกอบของการสื่อสารข้ อมูล (ต่ อ)
• ข่ าวสาร (Message) คือ ข้อมูลหรื อสารสนเทศต่างๆ ที่อาจเป็ น
ข้อความ ตัวเลข รู ปภาพ เสี ยง และวิดีโอ ข่าวสารที่ส่งไปจะต้อง
ได้รับการเข้ารหัส (Encoding) เพื่อส่ งผ่านสื่ อสาร เมื่อปลายทาง
ได้รั บ ข้อ มูล ก็จะท าการถอดรหัส (Decoding) ให้ก ลับมาเป็ น
ข้อมูลดังเดิมเช่นเดียวกับที่ส่งมา ระหว่างที่ลาเลียงข่าวสารผ่าน
สื่ อกลาง อาจมีสญ
ั ญาณรบกวนปะปนมากับข่าวสารได้
องค์ ประกอบของการสื่อสารข้ อมูล (ต่ อ)
• ผู้ส่ง (Sender/Source)
ผูส้ ่ งหรื อแหล่ งกาเนิ ดข่าวสาร คื อ
อุปกรณ์ที่ใช้สาหรั บส่ งข่าวสาร ซึ่ งอาจเป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์
เวิร์กสเตชัน่ โทรศัพท์ กล้องวิดีโอ เป็ นต้น
• ผู้รับ (Receiver/Destination) ผูร้ ับหรื อจุดหมายปลายทาง คื อ
อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับรั บข่าวสาร ซึ่ งอาจเป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์
เวิร์กสเตชัน่ โทรศัพท์ โทรทัศน์ เป็ นต้น
องค์ ประกอบของการสื่อสารข้ อมูล (ต่ อ)
• สื่ อกลางส่ งข้ อมูล (Transmission Medium) คือ เส้นทางเชิงกายภาพที่ ใช้
สาหรับการลาเลียงข่าวสารจากผูส้ ่ งไปยังผูร้ ับ กรณี ที่เป็ นการสื่ อสารแบบ
ใช้สาย ตัวกลางที่ใช้อาจเป็ นสายทองแดง สายโคแอกเชี ยล สายใยแก้วนา
แสง ฯลฯ กรณี ที่เป็ นการสื่ อสารแบบไร้สายตัวกลางที่ใช้เป็ นอากาศ
• โปรโตคอล (Protocol) คือ กลุ่มของกฎเกณฑ์และข้อปฏิบตั ิต่างๆ ที่กาหนด
ขึ้นมา เพื่อนามาใช้เป็ นข้อตกลงร่ วมกันระหว่างผูส้ ่ งและผูร้ ับ เพื่อให้การ
สื่ อสารบรรลุผล ถึงแม้อุปกรณ์ท้ งั สองฝั่งจะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ก็ตาม
หากไม่มีโปรโตคอล ก็จะไม่สามารถสื่ อสารกันได้อย่างเข้าใจ ส่ งผลให้การ
สื่ อสารล้มเหลวในที่สุด
ทิศทางการไหลของข้ อมูล (Direction of data flow)
•
•
•
•
สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้
การสื่ อสารข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex)
การสื่ อสารข้อมูลแบบกึ่งสองทิศทาง (Haft Duplex)
การสื่ อสารข้อมูลแบบสองทิศทาง (Full Duplex)
ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล
• ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร หรื อสารสนเทศ ระหว่างหน่วยงาน
กับหน่ วยงาน บุคคลกับหน่ วยงานและบุคคลกับบุคคล ซึ่ งการแลกเปลี่ ยน
ข้อมูล ข่าวสาร หรื อสารสนเทศระหว่างกันและกันนั้น ก่อให้เกิดประโยชน์
ในด้านต่างๆ ตามมาอีก เช่น การเรี ยนรู ้ การสร้างนวัตกรรม การสร้ างความ
เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ฯลฯ
• ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทาธุรกรรมด้านต่างๆ การสื่ อสารข้อมูลนอกจาก
จะช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร หรื อสารสนเทศ ระหว่างกันและ
กันแล้ว ยังทาให้การติดต่อประสานงานในด้านต่างๆ เป็ นไปด้วยความราบรื่ น
การทาธุรกรรมมีความง่าย สะดวกและรวดเร็ วมากขึ้น
ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล (ต่ อ)
• ช่ วยเพิ่มผลผลิ ตให้แก่การดาเนิ นงานทุกประเภท ทั้งนี้ เนื่ องจากการสื่ อสาร
ข้อมูลช่วยให้ทุคนที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานมีความเข้าใจที่ตรงกัน จึงทา
ให้เกิดการดาเนิ นงานที่สอดคล้องกับเป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยใช้ระยะเวลา
น้อยลง ทาให้มีเวลาเหลือที่จะไปดาเนิ นการในเรื่ องอื่นๆ เพิม่ มากขึ้น ซึ่ งช่วย
ทาให้ได้ผลผลิตของงานเพิ่มขึ้น
• ช่วยลดความขัดแย้งในการดาเนินงานลง ในการดาเนินงานใดๆ ให้สาเร็จตาม
เป้ าหมายก็ตาม ผูด้ าเนินงานจาเป็ นต้องมีความเข้าใจในขั้นตอน วัตถุประสงค์
และหน้า ที่ ค วามรั บ ผิด ชอบของตนที่ มี ต่ อ งาน รวมทั้ง เพื่ อ นร่ วมงานทั้ง นี้
เนื่ อ งจากความเข้า ใจที่ ไ ม่ ต รงกัน อาจก่ อ ให้เ กิ ด ความขัด แย้ง และปั ญ หา
อุ ปสรรคต่างๆ ได้ ดังนั้นการสื่ อ สารข้อ มูลจึ งมี บทบาทที่ สาคัญในการลด
ความขัดแย้งต่างๆ ลง
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
• ค.ศ.1940 จอร์ ช สทิบิทซ์ (George Stibitz) ได้ใช้เครื่ องพิมพ์ทางไกลหรื อ
เครื่ องเทเลไทป์ (teletype) ส่ งโจทย์หรื อปั ญหาคณิ ตศาสตร์ จากวิทยาลัยดาร์ ต
เมาท์ ในรัฐนิ วแฮมเชี ยร์ ไปยังเครื่ องคานวณเลขเชิ งซ้อนในรัฐนิ วยอร์ กและ
รั บข้อมูลคาตอบกลับมาด้วยวิธีเดี ยวกัน ซึ่ งเป็ นการเชื่ อมโยงเครื่ องจักรให้
สามารถทางานในลักษณะของเครื่ องพิมพ์ทางไกลได้
• ทศวรรษ 1950 เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้จะเป็ นเครื่ องเมนเฟรม และการ
ประมวลผลด้ว ยเครื่ องคอมพิ ว เตอร์ ใ นขณะนั้น จะมี ล ัก ษณะแบบแบทช์
(batch) โดยเจ้าหน้าที่ที่ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ จะต้อง
รวบรวมงานที่ผใู ้ ช้ส่งมาให้ได้ปริ มาณมากพอสมควร (ซึ่ งขณะนั้นงานที่นามา
ส่ งจะมีลกั ษณะเป็ นบัตรเจาะรู (punch card))
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• ทศวรรษ 1960
ได้เ ริ่ ม มี ก ารเชื่ อ มต่ อ เครื่ องเมนเฟรมเข้า กับ
เครื่ องเทอร์มินลั โดยใช้สายโทรศัพท์ เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผใู ้ ช้
ในการป้ อนงานผ่านเครื่ องเทอร์ มินลั ได้โดยไม่ตอ้ งนาบัตรเจาะรู มาส่ งที่
ศูนย์คอมพิวเตอร์
• ค.ศ.1962 เจซี อาร์ ลิกค์ไลเดอร์ (J.C.R Licklider) ซึ่ งทาหน้าอยู่ที่แอ็ด
วานซ์ รี เสิ ร์ ช โปรเจกต์ เ อเยนซี หรื อเรี ยกสั้ นๆ ว่ า อาร์ ป า (ARPA:
Advance Research Project Agency) ซึ่งเป็ นที่มาของชื่อระบบเครื อข่าย
อาร์ ปาเน็ต ได้พฒั นาเทคโนโลยีการทางานกลุ่มขึ้นมา เรี ยกว่า อินเทอร์
กาแลกติค เน็ตเวิร์ก (Intergalactic Network)
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• ค.ศ.1964 นักวิจยั ที่ดาร์ตเมาท์ได้พฒั นาระบบคอมพิวเตอร์ที่ผใู ้ ช้สามารถ
ร่ ว มกัน แบ่ ง ปั น เวลาการท างานของซี พี ยูข องเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้
เรี ยกว่า “ระบบดาต์ตเมาท์ไทม์แชร์ ริง (Dartmouth Time Sharing
System)”
• ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการจัดเส้นทางและควบคุมการทางานของการ
เชื่อมต่อโทรศัพท์
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• ค.ศ.1964 นักวิจยั ที่ดาร์ตเมาท์ได้พฒั นาระบบคอมพิวเตอร์ที่ผใู ้ ช้สามารถ
ร่ ว มกัน แบ่ ง ปั น เวลาการท างานของซี พี ยูข องเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้
เรี ยกว่า “ระบบดาต์ตเมาท์ไทม์แชร์ ริง (Dartmouth Time Sharing
System)”
• ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการจัดเส้นทางและควบคุมการทางานของการ
เชื่อมต่อโทรศัพท์
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• ทศวรรษ 1960 ลีโอนาร์ด ไคลน์ร็อค (Leonard Klienrock) พอล บาราน
(Paul Baran) และโดนัลด์ เดวีส์ (Donald Davies) ได้ร่วมกันคิดหลักการ
และพัฒนาระบบเครื อข่าย ซึ่ งใช้การรับส่ งข้อมูลแบบแพ็กเก็ต (packet)
หรื อ ดาต้า แกรม (datagram) ที่ ส ามารถน าไปใช้กับ เครื อ ข่า ยแพ็ก เก็ต
สวิตช์ (packet switch) เพื่อรับส่ งข้อมูลระหว่างระบบคอมพิวเตอร์
• ค.ศ.1965 โทมัส เมอร์ริลล์ (Thomas Merrill) และลอเรนซ์ จี โรเบิร์ตส์
(Lawrence G. Roberts) ได้สร้างระบบเครื อข่ายระยะไกลหรื อระบบแวน
(WAN: Wide Area Network)
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• ค.ศ.1969 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ยที่ ลอสแองเจิลลิส มหาวิทยาลัย
แคลิ ฟ อร์ เนี ย ที่ ซานตาบาร์ บารา มหาวิ ทยาลัย ยู ทาห์ และสถาบันวิ จัย
สแตนฟอร์ ด (SRI: Stanford Research Institute) ซึ่ งเป็ นองค์กรวิจยั
นานาชาติที่ไม่หวังผลกาไร
• ร่ วมกันเชื่ อมโยงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ของหน่ วยงานเข้าด้วยกัน
โดยความเร็ วที่ใช้ในขณะนั้น คือ 50 กิโลบิตต่อวินาที ซึ่ งแนวคิดดังกล่าว
ได้ถูกนาไปประยุกต์ และกลายเป็ นจุดเริ่ มต้นของเครื อข่ายอาร์ พาเน็ต
และเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• ค.ศ.1969 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ยที่ ลอสแองเจิลลิส มหาวิทยาลัย
แคลิ ฟ อร์ เนี ย ที่ ซานตาบาร์ บารา มหาวิ ทยาลัย ยู ทาห์ และสถาบันวิ จัย
สแตนฟอร์ ด (SRI: Stanford Research Institute) ซึ่ งเป็ นองค์กรวิจยั
นานาชาติที่ไม่หวังผลกาไร
• ร่ วมกันเชื่ อมโยงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ของหน่ วยงานเข้าด้วยกัน
โดยความเร็ วที่ใช้ในขณะนั้น คือ 50 กิโลบิตต่อวินาที ซึ่ งแนวคิดดังกล่าว
ได้ถูกนาไปประยุกต์ และกลายเป็ นจุดเริ่ มต้นของเครื อข่ายอาร์ พาเน็ต
และเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
• ทศวรรษ 1990 ได้เริ่ มมีการพัฒนาระบบเครื อข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ (World
Wide Web) หรื อที่รู้จกั กันในชื่อของระบบอินเทอร์เน็ต (internet)
• ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในหน่ วยงานต่างๆ รวมทั้งที่บา้ นต่างก็มีการ
เชื่อมโยงเป็ นระบบเครื อข่าย
• ค.ศ.1969 ระบบอินเทอร์ เน็ตได้ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยกระทรวงกลาโหม
ของสหรัฐอเมริ กา ให้เป็ นระบบเครื อข่ายสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่
ใช้ในราชการของกระทรวงฯ ที่เรี ยกว่า "อาร์ พาเน็ต (ARPANET)" โดย
เป้ าหมายของการพัฒนา ณ ขณะนั้น คือ การเชื่ อมโยงชุ ดคอมพิวเตอร์
ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริ กาที่กาลังทางานวิจยั ด้านการทหารให้แก่
กองทัพ
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)
• ค.ศ.1974 ได้มีการขยายการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ อื่นๆ รวมทั้งหมด
62 เครื่ อง และการเชื่อมต่อก็ยงั คงขยายอย่างต่อเนื่อง
• ค.ศ.1983 ระบบอินเทอร์ เน็ตได้ถูกแบ่งออกเป็ นสองส่ วน คือ ส่ วนแรก
ใช้สาหรับงานของกองทัพเรี ยกว่า "มิลเน็ต (Milnet)" และอีกส่ วนเป็ น
ของมหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการทางานวิจยั ร่ วมกันเรี ยกว่า "อินเทอร์ เน็ต
(Internet)" ซึ่งมีเครื่ องแม่ข่ายในระบบมากกว่า 1,000 เครื่ องเชื่อมต่อกัน
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)
• ค.ศ.1985 รัฐบาลแคนาดาได้พฒั นาระบบเครื อข่ายที่ชื่อว่า "บิตเน็ต
(Bitnet)" เพื่อเชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยในแคนาดา
• เพื่ อเชื่ อมโยงเครื่ องคอมพิ ว เตอร์ ของมหาวิ ทยาลัย ในแคนาดา โดยมี
วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการท างานวิ จ ัย ร่ ว มกัน และยัง สนับ สนุ น ให้มี ก าร
เชื่อมโยงกับเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตของสหรัฐอเมริ กาด้วย
วิวฒ
ั นาการของระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)
• ค.ศ.1986 มูลนิ ธิวิทยาศาสตร์ แห่ งชาติของสหรัฐอเมริ กา ได้พฒั นาระบบเอ็น
เอสเอฟเน็ต (NSFNET) ขึ้นมา โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นระบบเครื อข่าย
เชื่อมโยงมหาวิทยาลัยชั้นนาของสหรัฐอเมริ กาเข้าด้วยกัน
• ค.ศ.1987 พบว่ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายที่เชื่ อมโยงทั้งหมดประมาณ
10,000 เครื่ อง และในช่วงเวลาดังกล่าวพบว่าการทางานของระบบค่อนข้างช้า
จึงพัฒนาระบบแบ็คโบนความเร็ วสู งของระบบเอ็นเอสเอฟเน็ต ขึ้นมาใหม่ ทา
ให้สามารถรองรับการเชื่อมโยงเครื่ องแม่ข่ายได้มากขึ้น
• โดยในปี ค.ศ.1988 ระบบสามารถเชื่อมโยงกับระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
โดยมีเครื่ องแม่ข่ายที่เชื่อมโยงในระบบประมาณ 56,000 เครื่ อง
ความหมาย องค์ ประกอบพืน้ ฐาน และประโยชน์
ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
• ระบบเครื อข่า ยคอมพิว เตอร์ คื อ การน ากลุ่ ม เครื่ อ งคอมพิว เตอร์ และ
อุปกรณ์ ต่อพ่วงต่างๆ มาเชื่ อมต่อกันเป็ นเครื อข่าย ผ่านสื่ อกลางต่างๆ
เช่ น สายสั ญ ญาณ หรื อคลื่ น วิ ท ยุ โดยมี ว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สื่ อ สาร
ใช้ทรัพยากร และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันและกัน
องค์ ประกอบพืน้ ฐานของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
• เครื่ องคอมพิวเตอร์
• อุปกรณ์เครื อข่าย หมายถึ ง อุ ปกรณ์ต่อพ่วงที่ จาเป็ นต้องใช้ในการเชื่ อมต่อ
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการรับส่ งข้อมูล ทาให้
สามารถติดต่อสื่ อสารระหว่างกันและกันได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ วมากยิง่ ขึ้น
• สายสัญญาณหรื อสายเคเบิ้ล (Cable)
• ซอฟต์แวร์ โดยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบเครื อข่ายนั้น บางครั้งเรี ยกว่า เน็ตเวิร์ก
ซอฟต์แวร์ (Network Software) หรื อ โปรแกรมเน็ตเวิร์ก หรื อโปรแกรม
ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย (NOS: Network Operating System)
• โปรโตคอล
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
• การเชื่ อมต่อและการสื่ อสาร ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยเชื่อมต่อ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้เข้าด้วยกัน ทาให้ผใู ้ ช้สามารถติดต่อสื่ อสาร
ระหว่างกันได้สะดวกและรวดเร็ วยิง่ ขึ้น และประหยัดค่าใช้จา่ ย
• การแบ่งปั นข้อมูลกัน ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถ
เข้าถึงข้อมูลต่างๆ และสามารถแบ่งปันข้อมูลกันได้สะดวก
• การแบ่งปั นกันใช้ฮาร์ ดแวร์ การเชื่ อมต่อระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ช่วยทาให้องค์กรประหยัดงบประมาณในการซื้ อฮาร์ ดแวร์ หรื ออุปกรณ์
ต่อพ่วง
• การแบ่งปันกันใช้ซอฟต์แวร์
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
• การเพิ่มความสามารถและความสมดุลในการทางาน การทางานภายใต้
สภาวการณ์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ น้ นั ช่วยเพิ่มความสามารถ
ในการท างานให้แ ก่ ร ะบบงานประยุก ต์บ างระบบได้ โดยระบบงาน
ประยุกต์บางระบบสามารถกระจายงานต่างๆ ไปประมวลผลยังเครื่ องลูก
ข่ายที่วา่ งอยูไ่ ด้ ทาให้ได้ผลลัพธ์ที่เร็ วขึ้น
• การลดต้น ทุ น และค่ า ใช้จ่ า ย การติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นระบบเครื อ ข่า ย
คอมพิวเตอร์ สามารถช่วยลดต้นทุนให้แก่ผใู ้ ช้และองค์กร
• ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยของระบบเครื อข่าย
องค์ กรทีก่ าหนดมาตรฐานการสื่ อสารข้ อมูลและระบบ
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ANSI (American National Standards Institute)
• เป็ นองค์กรของประเทศสหรัฐอเมริ กาที่ไม่หวังผลกาหร สานักงานใหญ่
ตั้งอยูท่ ี่กรุ งวอชิงตันดีซี องค์กรถูกก่อตั้งขึ้นเมือ่ ปี ค.ศ.1918
• เพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันในเวทีโลกให้แก่ สหรั ฐอเมริ กาและ
เพิม่ คุณภาพชีวิตให้แก่คนอเมริ กนั
• ส่ งเสริ มและอานวยความสะดวกให้แก่หน่วยงานที่อาสาสมัครทั้งภาครัฐ
และเอกชน เข้ามาทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานในด้านต่างๆ ของประเทศ
เช่ น ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ด้านนาโนเทคโนโลยี ด้านพลังงาน
ชีวภาพ ฯลฯ
IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers)
• เป็ นองค์ ก รชั้ นน าที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในอุ ต สาหกรรมเครื อข่ า ย
คอมพิวเตอร์ องค์กรก่อตั้งขึ้น โดยไม่หวังผลกาไร มีลกั ษณะเป็ นสมาคม
วิชาชีพที่ประกอบด้วยสมาคมย่อยหลายๆ สมาคม
• ตัวอย่างมาตรฐานที่กาหนดโดยองค์กร IEEE เช่น มาตรฐาน 802.15.4a2007, มาตรฐาน IEEE 802®wireless standards. เป็ นมาตรฐานที่กาหนด
เกี่ ย วกับ การเชื่ อ มต่ อ ระบบเครื อ ข่ า ยไร้ ส าย แระกอบด้ว ย มาตรฐาน
802.11TM มาตรฐาน 802.15TM และมาตรฐาน 802.16TM
ISO (International Organization for Standardization)
• เป็ นองค์กรที่ทาหน้าที่พฒั นาและกาหนดมาตรฐานที่ใหญ่ที่สุดของโลก
ก่อตั้งขึ้นมาระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีการทางานในลักษณะ
ของเครื อข่ายระดับนานาชาติ
• ตัวอย่างมาตรฐานด้านการสื่ อสารข้อมูลที่กาหนดโดย ISO เช่น
• ISO/IEC 19790: 2006
• ISO/IEC 23289: 2006
IEC (International Electrotechnical Commission)
• เป็ นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1906 โดยลอร์ด เคลวิน (Lord Kelvin)
ซึ่งเป็ นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ IEC ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานด้าน
เทคนิ ค เกี่ ย วกับ อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ แ ละเทคโนโลยี ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ
อิเล็กทรอนิกส์
• IEC ยังทางานร่ วมกันกับองค์กร ISO ในการกาหนดมาตรฐานด้านต่างๆ
โดยชื่ อมาตรฐานจะขึ้นต้นด้วย ISO/IEC สาหรับตัวอย่างมาตรฐานที่
กาหนดโดย ISO/IEC ในด้านการสื่ อสารข้อมูล เช่น
• ISO/IEC 2007 series
• ISO/IEC 17799: 2005 และมาตรฐาน ISO/IEC 8859-1
ASC (Accredited Standard Committee)
• เป็ นคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งให้ทาหน้าที่พฒั นามาตรฐานการ
สื่ อสาข้อมูลในเรื่ องต่างๆ
• จัดทาเอกสารที่เกี่ยวข้องสาหรับใช้ในประเทศต่างๆ ทัว่ โลก มาตรฐาน
ดังกล่าวช่วยลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มความสามารถของกระบวนการทาธุรกิจ
อี ก ทั้ง ยัง ช่ ว ยขยายระยะทางในการแลกเปลี่ ย นข้อมูลอี ก ด้ว ย สาหรั บ
ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ASC
CCITT (Consultative Committee for International
Telephony and Telegraphy)
• ทาหน้าที่ให้คาแนะนาและสานงานในการใช้มาตรฐานด้านการสื่ อสารข้อมูล
• พัฒนาโปรโตคอลที่ ใช้ในการรั บส่ งข้อมูลผ่านโมเด็ม ระบบเครื อข่าย และ
เครื่ องโทรสารที่ใช้กนั ทัว่ โลกในปัจจุบนั
• วัต ถุ ป ระสงค์ห ลัก ขององค์ก ร CCITT
คื อ การรั ก ษาและขยายการ
ประสานงานเกี่ยวกับการใช้ระบบโทรคมนาคมทุกประเภท เพื่อส่ งเสริ มการ
ดาเนิ นงานด้านการพัฒนาและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพทางเทคนิ ค เพื่อให้เกิ ดการ
บริ การด้านการสื่ อสารที่ดีข้ ึน เพิ่มความสามารถในการทางานของระบบการ
สื่ อสารและเปิ ดให้สาธารณชนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
• วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ.1993 CCITT ได้เปลี่ยนชื่อเป็ น "ITU-TSS (International
Telecommunication Union-Telecommunication Standardization Sector)"
ECA (The Electronic Components Association)
• เป็ นสมาคมตัวแทนของผูป้ ระกอบการที่ดาเนิ นธุ รกิ จผลิตชั้นส่ วนและ
ผูผ้ ลิตวัตถุดิบสาหรับผลิตชั้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ ทีไ่ ม่หวังผลกาไร
• ทาหน้าที่สนับสนุ นและตอบสนองความต้องการและความสนใจของ
อุตสาหกรรมและตลาดในการผลิตชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
• เช่น หัวต่อหรื อคอนเน็คเตอร์ สายเคเบิ้ล สายไฟ ฯลฯ
EIA (Electronic Industrial Alliance)
• เป็ นองค์กรที่ประกอบด้วยสมาชิก คือ บริ ษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม
และผูป้ ระกอบธุ รกิ จอิ เล็กทรอนิ กส์ องค์กรนี้ เ ป็ นสมาชิ ก ขององค์กร
มาตรฐานแห่ งชาติของสหรัฐอเมริ กา (ANSI: American National
Standards Institute)
• การกาหนดมาตรฐานการเชื่ อมต่อในการรับส่ งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์
มาตรฐานที่เป็ นที่รู้จกั ดันทัว่ ไป คือ RS-232 หรื อบางครั้งเรี ยกว่า EIA232 เป็ นมาตรฐานที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ เช่น
โมเด็ม เครื่ องพิมพ์
TIA (Telecommunication Industry Association)
• ทาหน้าที่เป็ นตัวแทนของผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์และบริ การเกีย่ วกับเทคโนโลยี
สารสนเทศที่จาหน่ ายในตลาดทัว่ โลก ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่
พัฒนามาตรฐานสาหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการสื่ อสารระยะไกล เช่น
• สายเคเบิ้ล สายไฟ และหัวต่อที่ใช้ในระบบเครื อข่ายแลน
• มาตรฐานที่ TIA ดูแลอยูป่ ระกอบด้วยมาตรฐานด้านเทคโนโลยีมากกว่า
10 มาตรฐาน ซึ่ งมีกลุ่มผูส้ นับสนุ นมากกว่า 70 กลุ่ม ตัวอย่างของ
เทคโนโลยีดงั กล่าว เช่น วิทยุเคลื่อนที่ส่วนบุคคล เสาอากาศแบบหอคอย
สู ง อุปกรณ์ต่อพ่วงแบบหลายฟั งก์ชนั ดาวเทียม ระบบการติดต่อสื่ อสาร
แบบเคลื่อนที่ ฯลฯ
Web 3 D Consortium
• เป็ นองค์กรมาตรฐานนานาชาติที่ไม่หวังผลกาไร
• การพัฒนาภาษาเวอร์ ชวลเรี ยลริ ต้ ีมาร์ คอัพ (VRML: Virtual Reality
Markup Language) ซึ่ งเป็ นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการ
รับส่ งข้อมูลสามมิติ
• ปัจจุบนั เว็บ 3 ดี สนับสนุนการพัฒนาคุณลักษณะ X3D ซึ่งเป็ นมาตรฐาน
เกี่ ยวกับรู ปแบบของไฟล์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารแบบสามมิติและอยู่
บนพื้นฐานของการใช้เอ็กเอ็มแอล
IETF (Internet Engineering Task Force)
• เป็ นองค์กรที่พฒั นาและส่ งเสริ มมาตรฐานอินเทอร์เน็ต
• ทางานร่ วมกันอย่างใกล้ชิดกับองค์กร W3C และ ISO/IEC และทางาน
เกี่ ยวข้องโดยตรงกับมาตรฐาน TCP/IP รวมทั้งชุ ดโปรโตคอลของ
อินเทอร์เน็ต (Internet protocol suit)
• IETF เป็ นหน่ วยงานที่ถูกกากับดูแลโดยคณะกรรมการสถาปั ตยกรรม
อินเทอร์เน็ต (Internet Architecture Boards)
W3C (World Wide Web Consortium)
• เป็ นสมาคมนานาชาติที่ทางานร่ วมกันเพื่อพัฒนามาตรฐานของเว็บ พันธ
กิจ คือ
• การนาระบบเครื อข่ายเวิลด์ไวด์เว็บไปสู่ การใช้งานอย่างเต็มศักยภาพ
ด้วยการพัฒนาโปรโตคอลและข้อแนะนาต่างๆ มากกว่า 110 มาตรฐาน
• มาตรฐานดังกล่าวเรี ยกว่า ข้อแนะนา W3C
• เกี่ยวข้องกับการให้การศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และการให้บริ การใน
ลักษณะของการเปิ ดฟอรัม (forum)