เอกสาร

Download Report

Transcript เอกสาร

หมู่บอเรต
BORATES
Borates
แร่ หมู่บอเรต ประกอบด้ วยธาตุโลหะตั้งแต่ 1 ตัวขึน้ ไปรวมกับ B2O3
หมู่บอเรตสามารถแบ่ งย่ อยได้ อกี เป็ น 2 subgroup ได้ แก่
Hydrous Borates คือ แร่ หมู่บอเรตทีป่ ระกอบด้ วยโมเลกุลของนา้ (H2O)
ในโครงสร้ าง แร่ ทจี่ ัดอยู่ในหมู่นีจ้ ะเบา เปราะ และมีสีอ่อนไปจนถึงสี ขาว
แร่ ส่วนใหญ่ สามารถละลายนา้ ได้ และมักพบในเขตทะเลสาปทีแ่ ห้ งแล้ว แร่
ในหมู่นี้ เช่ น Borax, Colemanite, Howlite, Kernite และ Ulexite
Borates
Anhydrous Borates เกิดจากแหล่งทีม่ ีความร้ อนสู ง และมีการแปรสภาพ
แร่ anhydrous borates เกิดในทีแ่ ห้ งแล้งเหมือนกับ hydrous borates แต่
ไม่ มีนา้ ในโครงสร้ าง แร่ ในหมู่นีจ้ ะมีความเสถียรทางด้ านส่ วนประกอบ มี
ลักษณะแข็ง และแกร่ ง เป็ นหมู่แร่ พบน้ อยในธรรมชาติ และไม่ มีคุณค่ า
ในทางอุตสาหกรรม แร่ ในหมู่นี้ เช่ น Sinhalite
บอแรกซ์ (Borax)
ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : ผลึกเดี่ยวมักพบเป็ นรูปกล่อง (blocky) และแบบแท่ ง
(prismatic) เมื่อนามาตัดขวางจะได้ เป็ นรูปสี่ เหลีย่ มจตุรัส (nearly
square cross section)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักมีเนือ้ แน่ น (massive)
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : Na2B4O7 · 10H2O
บอแรกซ์ (Borax)
คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 1.7
สี (colour) : ขาวถึงไม่ มีสี (white to colourless)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 2 – 2 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous) ถึงด้ าน (dull)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกสมบูรณ์ หนึ่งทิศทาง
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งแสง (translucent) ถึงทึบแสง (opaque)
บอแรกซ์ (Borax)
บอแรกซ์ (Borax)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
โครงสร้ างของแร่ บอแรกซ์ ประกอบด้ วย การเกาะเกีย่ วกันเป็ นสาย
ยาวของ BO2(OH) และ BO3(OH) Na และนา้ (H2O)
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
ละลายนา้ ได้ แร่ บอแรกซ์ มีผวิ สดที่โปร่ งแสง (translucent) เมือ่ ปล่อย
ทิง้ ไว้ จะทาให้ บอแรกซ์ สูญเสี ยนา้ ออกไปจากโครงสร้ าง จะเปลีย่ นเป็ นทึบ
แสง(opaque) และเกิดเป็ นผงสี ขาวบริเวณผิว จึงมักไม่ ค่อยพบเป็ นก้อนแร่
มากนัก นอกจากการเก็บรักษาในที่ชื้นเท่ านั้น
บอแรกซ์ (Borax)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
แร่ บอแรกซ์ พบในพืน้ ทีแ่ ห้ งแล้ว เกิดจากการระเหยของทะลสาป
นา้ เค็ม(evaporation of saline lakes) นอกจากนีย้ งั พบได้ ในแหล่งแร่
บอเรตอืน่ ๆ และแหล่งทีม่ ีธาตุโบรอนเป็ นองค์ ประกอบ(Boron compound)
เช่ น รัฐแคลิฟอร์ เนีย(California) เกิดร่ วมกับแร่ calcite, halite, hanksite,
colemanite และ ulexite
แร่ บอแรกซ์ พบครั้งแรกในประเทศทิเบต (First Borax found in
Tibet) แหล่งใหญ่ ที่พบคือ สหรัฐอเมริกา ซึ่งกลายเป็ นแหล่งที่เกิด
อุตสาหกรรมบอแรกซ์ ขนึ้
บอแรกซ์ (Borax)
ประโยชน์
บอแรกซ์ ทใี่ ช้ ในอุตสาหกรรมนั้นคล้ายคลึงกับบอแรกซ์ ทเี่ กิดขึน้ ใน
ธรรมชาติ แต่ ไม่ มีนา้ ในโครงสร้ าง บอแรกซ์ ธรรมชาติเป็ นแหล่งปฐมภูมิของ
บอแรกซ์ ทใี่ ช้ ในอุตสาหกรรม ซึ่งในอดีตนั้นมักในแร่ Kernite มาสกัดแทน
ประโยชน์ ของบอแรกซ์ ใช้ เป็ นสารฆ่ าเชื้อโรค(disinfectant) ผลิต
ผงซักฟอก(detergent) และนา้ ยาปรับผ้ านุ่ม (water softener) นอกจากนีย้ งั
ใช้ ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ สี แก้ว และการเคลือบกระดาษ และยังใช้ เป็ น
ฟลักซ์ ในการแยกโลหะทีเ่ จือปนอยู่ออกจากกัน และใช้ ในการเชื่อมโลหะ
บอแรกซ์ (Borax)
นอกจากนีย้ งั มีการนาบอแรกซ์ ไปใช้ ในเนือ้ สั ตว์ หรือในลูกชิ้น เป็ นสาร
ทีม่ ีพษิ ต่ อร่ างกาย ความรุนแรงของการเกิดพิษขึน้ กับปริมาณที่ร่างกาย
ได้ รับและการสะสมในร่ างกาย หากได้ รับในปริมาณไม่ มากแต่ ได้ รับบ่ อย
เป็ นเวลานาน จะเกิดอาการเรื้อรัง เช่ น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นา้ หนักลด
ผิวหนังแห้ งอักเสบ หนังตาบวม เยื่อตาอักเสบ ตับ และไตอักเสบ ระบบสื บ
พันธ์ เสื่ อมสมรรถภาพ เป็ นต้ น แต่ ถ้าได้ รับบอแรกซ์ ในปริมาณสู งจะเกิด
อาการเป็ นพิษแบบเฉียบพลัน เช่ น คลืน่ ไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ อุจจาระร่ วง
เป็ นต้ น บางครั้งอาจรุนแรงถึงเสี ยชีวติ ได้
บอแรกซ์ (Borax)
อืน่ ๆ
บอแรกซ์ ทสี่ ู ญเสี ยนา้ ไปจากโครงสร้ างจะเกิดเป็ นแร่ ใหม่ เรียกว่ า
Tincalconite จะมีโมเลกุลนา้ เพียงแค่ ครึ่งเดียว และอยู่ในระบบผลึกที่
แตกต่ างจากบอแรกซ์
ฮาวไลต์ (Howlite)
ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : เป็ นแร่ แบน(tabular) ไม่ สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า
(barely noticible to naked eyed)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบเป็ นก้อนกลม คล้ายกับหัวกะหลา่ ดอก
ถ้ าเป็ นก้อนขนาดใหญ่ จะมีเนือ้ คล้ายกับกระเบือ้ ง
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : Ca2B5SiO9(OH)5
ฮาวไลต์ (Howlite)
คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 2.5 – 2.6
สี (colour) : ขาว มักมีเส้ นสี ดาหรือสี นา้ ตาลพาดกันไปมา (white colour
with black or brown intersecting vine-like veins)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 3 ½
ประกาย(Luster) : ด้ าน (dull) บางครั้งคล้ายแก้ว (sometimes vitreous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ มี (none)
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย (conchoidal) ถึงไม่ เรียบ (even)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งแสง (translucent) ถึงทึบแสง (opaque)
ฮาวไลต์ (Howlite)
ฮาวไลต์ (Howlite)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้ วย Ca 20.48% Si 7.18% B 13.81% H 1.29% และ O
57.24 % บางครั้งอาจจัดอยู่ในหมู่แร่ ซิลเิ กต
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
เรืองแสงภายใต้ ความยาวคลืน่ สั้ น เป็ นสี เหลืองครีมจนถึงสี ขาว
(fluorescence cream yellow to white in short wave ultraviolet light)
บางครั้งนิยมนามาย้ อมสี และขายเป็ นอัญมณีเลียนแบบ turquoise
(imitated turquoise) แยกจากเทอร์ ควอยส์ ได้ ด้วยความแข็ง(5-6) แต่ อาจใช้
ค่ าความถ่ วงจาเพาะ(2.6-2.9)แยกได้ ในบางกรณี
ฮาวไลต์ (Howlite)
ฮาวไลต์ (Howlite)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
แร่ ฮาวไลต์ มักเกิดในแหล่งทีม่ ีการระเหย เช่ นในรัฐแคลิฟอร์ เนียใต้
ลอสแองเจิลลีส
ประโยชน์
มักนามาเป็ นหินตกแต่ ง(decorations)
และนามาย้ อมเพือ่ เลียนแบบเทอร์ ควอยส์
ขายในชื่อ turquenite บางครั้งมักมีการเข้ าใจผิด
อาจเรียกฮาวไลต์ ในชื่อของ white turquoise, white buffalo turquoise
หรือ white buffalo stone
เคอร์ ไนต์ (Kernite)
ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : มักพบเป็ นรูปหนา (thick) แสดงลายเส้ นบนผิว(striated
crystal)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกมีเนือ้ แน่ น(massive), หรือเป็ นแท่ ง
(cloumnar)
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : Na2B4O7. 4H2O
เคอร์ ไนต์ (Kernite)
คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 1.9 – 2.0
สี (colour) : ไม่ มีสี ขาว และสี เทา (white, colourless, gray)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 3
ความแกร่ ง(tenacity) : เปราะ(brittle)
ประกาย(Luster) : ด้ าน (dull) คล้ายแก้ว (sometimes vitreous) และ
คล้ายไหม(silky)
เคอร์ ไนต์ (Kernite)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกหนึ่งทิศทาง
รอยแตก(fracture) : แบบเสี้ยน (splintery)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงทึบแสง (opaque)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้ วย Na 15.84% B 14.9% H 3.13% และ O 66.14%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ละลายนา้ ได้ (dissolves in water) มักพบเป็ นผงบริเวณผิว มักพบรอย
แตกแบบเสี้ยน
เคอร์ ไนต์ (Kernite)
เคอร์ ไนต์ (Kernite)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
แร่ เคอไนต์ เกิดลึกลงไปใต้ ผวิ ดินในบริเวณทีม่ ีธาตุโบรอนสู ง เกิด
ร่ วมกับแร่ ในหมู่เดียวกัน แร่ เคอร์ ไนต์ มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับแร่ บอแรกซ์
คือ ต้ องเก็บรักษาในทีช่ ื้น เมื่อแร่ เคอร์ ไนต์ สูญเสี ยนา้ จะเกิดเป็ นผงบริเวณ
ผิวของผลึก
ประโยชน์
ในอดีตแร่ เคอร์ ไนต์ ถูกนามาสกัดเป็ นบอแรกซ์ ทใี่ ช้ ในอุตสาหกรรม
แต่ ในปัจจุบันใช้ แร่ บอแรกซ์ ธรรมชาติแทน
เคอร์ ไนต์ (Kernite)
ยูเล็กซ์ ไซต์ (Ulexite)
ระบบผลึก : ระบบสามแกนเอียง (Triclinic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : มักเกิดเป็ นผลึกขนาดเล็ก (tiny crystal)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : เกิดรวมกันเป็ นกลุ่ม หรือทีเ่ รียกว่ า
lenticular aggregates มักพบเป็ นสายแร่ ที่เป็ นเส้ นใย และเกิดเป็ นรัศมีที่
อัดตัวกันแน่ น
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : NaCaB5O9. 8H2O
ยูเล็กซ์ ไซต์ (Ulexite)
 คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 1.6 – 1.9
สี (colour) : สี ขาว และสี เทาอ่ อน (white, light gray)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 2 ½
ความแกร่ ง(tenacity) : เปราะ (brittle)
ประกาย(Luster) : คล้ ายไหม (silky)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกสมบูรณ์ ในแนว {010} และ {110}
รอยแตก(fracture) : แบบไม่ เรียบถึงแบบเสี้ยน (uneven to splintery)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงโปร่ งแสง (translucent)
ยูเล็กซ์ ไซต์ (Ulexite)
ยูเล็กซ์ ไซต์ (Ulexite)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
แร่ ยูเลกซ์ ไซต์ มีโครงสร้ างทีซ่ ับซ้ อน ประกอบด้ วย Na 5.67%
Ca 9.89% B 13.34% H 3.98% และ O 67.12%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ประกายคล้ายไหม มีนา้ หนักเบา และความแข็งต่า ละลายได้ ในนา้ ร้ อน
แต่ น้อยมาก
ยูเล็กซ์ ไซต์ (Ulexite)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
ยูเล็กซ์ ไซต์ พบในแหล่งแร่ บอแรกซ์ ซึ่งเป็ นแหล่งทีม่ ีการระเหย
ของนา้ ในทะเลสาป ยูเล็กซ์ ไซต์ ทตี่ กผลึกอย่ างรวดเร็วจะเกิดเป็ นผลึก
เล็กๆคล้ายเข็มรวมกันเป็ นกลุ่มก้อน มีลกั ษณะคล้ายกับสาลี หรือ cotton
ball บางครั้งเกิดเป็ นสายแร่ ทมี่ ียูเล็กซ์ ไซต์ เป็ นเส้ นใย พบในประเทศชิลี
ยูเล็กซ์ ไซต์ (Ulexite)
ประโยชน์
แร่ ที่เกิดเป็ นเส้ นใย เมื่อนามาขัดในทิศทางตั้งฉากกันเส้ นใยจะได้
หินทีข่ ายกันในชื่อ television stone เนื่องจากความใสสะอาดของมัน
ซินฮาไลต์ (Sinhalite)
ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่ าง (Orthorhombic system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : ผลึกพบได้ ยาก มักเกิดเป็ นเม็ดอัดตัวกันแน่ น
(granular masses)
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : MgAl(BO4)
ซินฮาไลต์ (Sinhalite)
 คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 3.45
สี (colour) : ไม่ มีสี เทาอ่ อน เหลืองอ่ อน ชมพูอ่อน เขียว-นา้ ตาล จนถึงนา้ ตาลเข้ ม
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 6 ½ - 7
ประกาย(Luster) : คล้ ายแก้ ว (subvitreous) คล้ ายยางสน(resinous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ มี
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งแสง (translucent)
ซินฮาไลต์ (Sinhalite)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้ วย Mg 19.28% Al 21.40% B 8.57% และ O 50.75%
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
ดูจากสี ความแข็ง
ซินฮาไลต์ (Sinhalite)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
แร่ ซินฮไลต์ พบน้ อยมากในธรรมชาติ พบเพียงทีเ่ ดียวคือ ประเทศ
ศรีลงั กา ส่ วนประเทศอืน่ ๆ นั้นพบน้ อยเช่ น พม่ า สหรัฐอเมริกา แคนาดา
แทนซาเนีย รัสเซีย มักเกิดร่ วมกับทับทิม แซปไฟร์ เพอริดอต การ์ เนต
และสปิ เนล
ประโยชน์
นามาทาเป็ นอัญมณีได้
หมู่ซัลเฟต
Sulfates
Sulfates
แร่ หมู่ซัลเฟต ประกอบด้ วย แร่ โลหะตั้งแต่ 1 ตัวขึน้ ไปรวมกับ SO4
หรือซัลเฟต แร่ ในหมู่นีม้ ักเป็ นแร่ หนัก โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง ความแข็งต่า
และมีสีจาง บางชนิดละลายในนา้ แร่ บางชนิดอาจพบสารโมเลกุลโครเมต
CrO4 เจือปนได้ หมู่ซัลเฟตแบ่ งออกได้ เป็ น 2 subgroup ได้ แก่
Hydrous Sulfates เช่ น Gypsum, Chalcanthite, Epsomite
Anhydrous Sulfates เช่ น Anglesite, Anhydrite, Barite, Glauberite
ยิปซัม (Gypsum)
ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : พบผลึกเป็ นแผ่ นแบน (tabular) นอกจากนีก้ พ็ บแบบ
แท่ ง (prismatic) รูปเข็ม (accicular) แบบใบมีด (bladed)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มีการเกาะกลุ่มกันแบบเนือ้ แน่ น (massive)
และแบบกลีบกุหลาบ (rosette)
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : CaSO4. 2H2O
ยิปซัม (Gypsum)
คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 2.3 – 2.4
สี (colour) : ไม่ มีสี ขาว เทา นา้ ตาล ส้ ม ชมพู เหลือง แดงอ่อน และเขียว
(Colorless, white, gray, brown, orange, pink, yellow, light red,
green)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 1 ½ - 2
ความแกร่ ง(tenacity) : ตัดได้ และยืดหยุ่น (ductile and flexible)
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้วและมุก (vitreous, pearly)
ยิปซัม (Gypsum)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกสมบูรณ์ ในแนว {010}
รอยแตก(fracture) : แบบเส้ นใย(fibrous) เรียกว่ า satin spar และแตก
แบบไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงทึบแสง
(opaque)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้ วย Ca 23.28% H 2.34% S 18.62% และ O 55.76%
ยิปซัมมีโครงสร้ างคล้ายแร่ Anhydrite ทีม่ ีนา้ อยู่ในโครงสร้ าง แต่
Anhydriteไม่ มี
ยิปซัม (Gypsum)
ยิปซัมยังแบ่ งได้ เป็ นชนิดต่ างๆ (variety) ดังนี้
Selenite โปร่ งใส(transparent) และไม่ มีสี(colourless)
Satin spar แร่ แตกเป็ นเส้ นใย(fibrous)
Alabaster เนือ้ แน่ น(massive) เม็ดแร่ มีขนาดละเอียด(fined grain)
Desert rose แร่ เกาะกลุ่มกันคล้ายกลีบกุหลาบ (rosette) และมี
มลทินสี นา้ ตาล
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ความแข็งต่า
ยิปซัม (Gypsum)
Desert Roses
Satin spar
Selenite
Alabaster
ยิปซัม (Gypsum)
 การเกิด และแหล่ งแร่ ทสี่ าคัญ
แร่ ยปิ ซัมเป็ นแร่ ทพี่ บได้ อย่ างกว้ างขวางในตะกอน และมักพบเป็ นชั้น
หนาๆ หรือพบเป็ นชั้นแทรกสลบกับชั้นหินปูนกับหินดินดาน หรือเป็ นชั้น
ยิปซัมอยู่ใต้ ช้ันเกลือ ซึ่งตกตะกอนในละดับแรกของการระเหยของนา้ ทะเล
นอกจากนีย้ งั พบตกผลึกในสายแร่ โดยเฉพาะsatin spar อาจรวมกัน
เป็ นรู ปเลนส์ หรือเป็ นผลึกทีก่ ระจายตัวอยู่ในหินดินดาน หรือบางครั้งอาจเกิด
จากการแปรสภาพมาจากแร่ Anhydrite ซึ่งแสดงการโค้ งงอของชั้นแร่ เพราะ
เกิดจากการเพิป่ ริมาตรจากเดิม ซึ่งจะพบได้ ในบริเวณภูเขาไฟทีม่ หี ินปูน
สั มผัส หรือทาปฏิกริ ิยากับไอกามะถัน
ยิปซัม (Gypsum)
มักพบแร่ ยปิ ซัมในประเทศสหรัฐฯ
แคนาดา ฝรั่งเศส ญีป่ ุ่ น อิหร่ าน เมกซิโก
ส่ วนประเทศไทก็พบเช่ นกัน ทีพ่ จิ ิตร
นครสวรรค์ สุ ราษฎร์ ธานี เลย ลาปาง
อุตรดิตถ์ ตาก นครราชสี มา และกระบี่
ประโยชน์
ใช้ ทาปูนปลาสเตอร์ และนาไปประยุกต์ ใช้ ในงานต่ างๆเช่ น ยิปซัม
บอร์ ด หล่อแม่ พมิ พ์ ส่ วนแร่ ยปิ ซัมทีไ่ ม่ มีแคลเซียม มักนามาทาปูนซีเมนต์
ประเภทแห้ งช้ า ส่ วน satin spar และ alabaster ใช้ ทาอัญมณีได้ แต่ มี
ข้ อจากัดด้ านความแข็ง
แอนไฮไดรต์ (Anhydrite)
ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่ าง (Orthorhombic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : พบผลึกเป็ นเส้ นใย(fibrous) ส่ วนแผ่ นแบน (tabular)
แบบแท่ ง (prismatic) พบได้ น้อย
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มีการเกาะกลุ่มกันแบบเนือ้ แน่ น (massive)
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : CaSO4
แอนไฮไดรต์ (Anhydrite)
คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 2.9 - 3
สี (colour) : ไม่ มีสี ขาว เหลืองอ่อน เทา นา้ เงิน ส้ ม-แดง แดง ชมพู และ
ม่ วงดอกไลแลค (Colorless, white, light yellow, gray, blue, orangered, red, pink, lilac)
สี ผง(steak) : ขาวถึงเทาอ่อน (white to light gray)
ความแข็ง(hardness) : 3 – 3 ½
ความแกร่ ง(tenacity) : เปราะ (brittle)
แอนไฮไดรต์ (Anhydrite)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกสมบูรณ์ ในแนว {010} และ{100}
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงโปร่ งแสง
(translucent)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้ วย Ca 29.44% S 23.55% และ O 47.01% แอนไฮไดรต์ มี
ส่ วนประกอบคล้ายคลึงกับแร่ ยปิ ซัมแต่ แตกต่ างกันทีแ่ ร่ แอนไฮไดรต์ ไม่ มีนา้
ในโครงสร้ าง ซึ่งแร่ ยปิ ซัมจะเปลีย่ นเป็ นแร่ แอนไฮไดรต์ ได้ เมื่อได้ รับความ
ร้ อนประมาณ 95 องศาเซลเซียส
แอนไฮไดรต์ (Anhydrite)
แอนไฮไดรต์ (Anhydrite)
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
แร่ แอนไฮไดรต์ บางตัวอย่ างจะเรืองแสง แต่ ส่วนใหญ่ มักเรื องแสง
หลังจากได้ รับความร้ อน
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
แร่ แอนไฮไดรต์ มักเกิดในพืน้ ทีแ่ ห้ งแล้ง เกิดจากแร่ ยปิ ซัมทีน่ า้ ถูก
ระเหยออกไป เป็ นแร่ ทมี่ ีความเสถียรมากกว่ าแร่ ยปิ ซัม การเก็บรักษา
จะต้ องเก็บในทีแ่ ห้ ง หรืออาจใช้ ซิลกิ าเจลร่ วมด้ วย
แหล่งทีพ่ บ เช่ น ออสเตรีย สวิสเซอร์ แลนด์ เมกซิโก แคนนาดา
สหรัฐอเมริกา หรือแหล่งทีพ่ บยิปซัมนั่นเอง
แอนไฮไดรต์ (Anhydrite)
ประโยชน์
ใช้ ในการผลิตกรดซัลฟุริก ส่ วนใหญ่ แล้วเป็ นแร่ ทพี่ บน้ อย จึงไม่
นามาทาประโยชน์ มากนัก
แบไรต์ (Barite)
ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่ าง (Orthorhombic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : มีลกั ษณะเป็ นแผ่ นบนระนาบ {001} หรืออาจพบเป็ นแท่ ง
ปริซึม ซึ่งแต่ ละฟอร์ มจะมีการหักมุมจนมีรูปร่ างเหมือนเพชร (diamond
shape)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มีการเกาะกลุ่มกันผลึกกระจายออกตามแนว
รัศมี (divergent) ของกลุ่มผลึกรูปแบน เรียกว่ า crested barite หรือ
barite roses นอกจากยังพบเป็ นแถบชั้นเล็กๆ เม็ดกรวด เหมือนดิน
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : BaSO4
แบไรต์ (Barite)
คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 4.5
สี (colour) : ไม่ มีสี สี ขาว และสี อ่อน เช่ น สี นา้ เงิน เหลือง แดง
(colourless, white, light blue, light yellow, light red)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 3 – 3 ½
ความแกร่ ง(tenacity) : เปราะ (brittle)
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้วและมุก
(vitreous, pearly)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกสมบูรณ์
ในแนว {001}
แบไรต์ (Barite)
รอยแตก(fracture) : ไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงโปร่ งแสง
(translucent)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้ วย Ba 58.84% S 13.74% และ O 27.42%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
เป็ นแร่ หนัก ถ.พ.สู ง ดูจากลักษณะของแนวแตกเรียบ และรูปผลึก
แบไรต์ (Barite)
แบไรต์ (Barite)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
ปกติแร่ แบไรต์ เกิดในสายนา้ แร่ ร้อน ร่ วมกับแร่ เงิน ตะกั่ว ทองแดง
โคบอลต์ แมงกานีส และพลวง นอกจากนีย้ งั พบในสายแร่ หินปูน โดยเกิด
ร่ วมกับแคลไซต์ หากเกิดในดินทรายมักเกิดกับสิ นแร่ ทองแดง หรือเป็ น
ตัวเชื่อมประสานในหินทราย
แหล่งทีส่ าคัญ เช่ น อังกฤษ โรมาเนีย เยอรมนี สหรัฐอเมริ กา
ประเทศไทยพบที่ เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช เลย อุดรธานี หนองคาย
ลาปาง ตาก แพร่ แม่ ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ อุทยั ธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี
ราชบุรี สงขลา ตรัง สตูล และกระบี่
แบไรต์ (Barite)
ประโยชน์
แบไรต์ กว่ า 80% ใช้ ทาโคลนหนัก (heavy mud) ในการขุดเจาะ
นา้ มัน นอกจากนีย้ งั ใช้ ทาสารเคมี เช่ นลิโทโฟน (Lithophone) เป็ นสาร
ผสมระหว่ างแบเรียมซัลไฟต์ กบั ซิงค์ซัลเฟต ซึ่งใช้ ในอุตสาหกรรมทาสี
การเคลือบพืน้ และอุตสาหกรรมสิ่ งทอ สารแบเรียมซัลเฟตได้ จากการ
ตกตะกอนเรียกว่ า บลังฟิ กส์ (blanc fixe) ใช้ เป็ นตัวเติมในกระดาษ ผ้ า
เครื่องสาอางค์ และเม็ดสี และทาเป็ นแบเรียมมีล (barium meal) สาหรับ
งานทางด้ านรังสี วทิ ยา
ฟอสเฟต
Phosphates
ฟอสเฟต
แร่ หมู่ฟอสเฟต ประกอบด้ วยแร่ โลหะตั้งแต่ 1 ชนิดขึน้ ไปรวมกับ
ฟอสเฟต PO4 แร่ หมู่นีม้ ักป็ นแร่ หนัก แต่ ความแข็งต่า เปราะง่ าย มักเกิดเป็ น
ผลึกขนาดเล็ก หรือจับตัวกันเป็ นเนือ้ แน่ น ได้ แก่ Apatite, Chlorapatite,
Fluorapatite, Hydroxylapatite, Pyromorphite
อะพาไทต์ (Apatite)
ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal system)
รูปผลึกทัว่ ไป : มักเกิดเป็ นแท่ งฝังในหิน เช่ นหินอ่อน หรื อเป็ นแผ่ น
ปลายทั้งสองด้ านปิ ดด้ วยไดพิระมิด และระนาบคู่ฐาน บางผลึกมีหน้ า
ผลึกของฟอร์ มเฮกซะโกนอลไดพิระมิด
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : เกิดเป็ นกลุ่มผลึกแบบเม็ด(granular) เกาะตัว
กันเป็ นกลุ่มก้อนอัดตัวแน่ น (massive)
คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : Ca5(PO4)3(F, Cl, OH)
อะพาไทต์ (Apatite)
 คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 3.15 – 3.20
สี (colour) : เขียว นา้ ตาล อาจพบสี นา้ เงิน ม่ วง และไม่ มีสี (green, brown
sometimes found blue violet and colourless)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 5
ประกาย(Luster) : คล้ ายแก้ วและยางสน (vitreous, resinous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกในแนว {0001} แต่ ไม่ ชัดเจน
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงโปร่ งแสง (translucent)
อะพาไทต์ (Apatite)
อะพาไทต์ (Apatite)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
หากมีองค์ ประกอบเป็ น Ca5(PO4)3F เรียกว่ า fluorapatite ซึ่งเป็ น
แร่ สามัญทีส่ ุ ด ส่ วน Ca5(PO4)3Cl เรียกว่ า Chlorapatite และ
Ca5(PO4)3(OH) เรียกว่ า Hydroxylapatite ซึ่งหายากกว่ า Cl และ OH
สามารถเข้ าแทนทีซ่ ึ่งกันและกันได้ ทาให้ เกิดอนุกรมทีส่ มบูรณ์
ระหว่ างอะพาไทตทีม่ ีองค์ ประกอบทั้งสองแบบ กลายเป็ นคาร์ บอเนตอะ
พาไทต์
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะของผลึก สี และความแข็ง
อะพาไทต์ (Apatite)
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
อะพาไทต์ เกิดได้ อย่ างกว้ างขวาง โดยเป็ นแร่ รองในหินทุกกลุ่ม(หิน
อัคนี หินชั้น หินแปร) นอกจากนีย้ งั พบในเพกมาไทต์ และสายแร่ อนื่ ๆ
บางครั้งพบในแหล่งกาเนิดแบบนา้ ร้ อน พบในแหล่งแร่ แมกนีไทต์ ที่มแี ร่
ไททาเนียมปนอยู่มาก บางครั้งอยู่ในรูปของกระดูก เช่ นกระดูกฟันของ
มนุษย์ ต่ างก็เป็ นฟอสเฟตในกลุ่มอะพาไทต์ ท้งั สิ้น
แหล่งทีพ่ บ เช่ น รัสเซีย นอร์ เว สวีเดน อเมริกา แคนาดา ออสเตรีย
สวสเซอร์ แลนด์ โปรตุเกส สเปน ประเทศไทย พบทัว่ ในแหล่งดีบุกทีเ่ กด
จากสายเพกมาไทต์ แหล่งฟลูออร์ อะพาไทต์ พบที่ เชียงใหม่
อะพาไทต์ (Apatite)
ประโยชน์
แร่ อะพาไทต์ เกิดจากการตกผลึก ใช้ เป็ นแหล่งธาตุฟอสฟอรัส ซึ่งใช้
ทาปุ๋ ย แคลเซียมฟอสเฟตถูกนามาทาปฏิกริ ิยากับกรดซัลฟุริก ได้
ซุปเปอร์ ฟอสเฟต ส่ วนวาไรตีท้ โี่ ปร่ งใสนามาทาอัญมณี