สุขภาพจิต

Download Report

Transcript สุขภาพจิต

สุขภาพจิตและการปรับตัว
LOGO
สุ ขภาพจิต
ความหมายของสุ ขภาพจิต
องค์ การอนามัยโลก ให้ความหมายของสุ ขภาพจิตที่ดี ดังนี้
"สภาพจิตใจทีเ่ ป็ นสุ ข สามารถมีสัมพันธภาพและรักษา
สั มพันธภาพกับผู้อนื่ ไว้ ได้ อย่ างราบรื่น สามารถทาตนให้ เป็ นประโยชน์
ได้ ภายใต้ ภาวะสิ่ งแวดล้อมทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงทั้งทางสั งคม และ
ลักษณะความเป็ นอยู่ในการดารงชีพ
วางตัวได้ อย่างเหมาะสม
และปราศจากอาการป่ วย
ของโรคทางจิตใจและร่ างกาย"
สุ ขภาพจิต
ความสาคัญของสุ ขภาพจิต
สุ ขภาพจิตมีความสาคัญต่อชีวิตของมนุษย์เป็ นอย่างมากและเกี่ยวข้อง
กับชีวติ ประจาวันของคนทุกคน ปั ญหาทางสุ ขภาพจิตเสื่ อมในปั จจุบนั
นับทวีจานวนมากขึ้น ซึ่ งก่อให้เกิดปั ญหายุง่ ยากซับซ้อนในสังคม เช่น
ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาครอบครัว เป็ นต้น
"สุ ขภาพจิต" มีผลต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์หลายด้าน
•1. ด้ านการศึกษา
•2. ด้ านอาชีพการงาน
• 3. ด้ านชีวติ ครอบครัว
• 4. ด้ านเพือ่ นร่ วมงาน
• 5. ด้ านสุ ขภาพร่ างกาย
มีจิตใจปลอดโปร่ งสามารถศึกษาได้ สาเร็จ ere
มีกาลังใจต่ อสู้ อุปสรรคไม่ ท้อแท้ เบือ่ หน่ าย ทางานก็บรรลุผลสาเร็จ
คนในครอบครัวสุ ขภาพจิตดี ครอบครัวก็สงบสุ ข
ผู้ทสี่ ุ ขภาพจิตดีย่อมไม่ เป็ นทีร่ ังเกียจปรับตัวเข้ ากับผู้อนื่ ได้ ดี
ร่ างกายก็สดชื่น หน้ าตายิม้ แย้ ม เป็ นทีส่ บายใจแก่ ผ้ ูพบเห็น
สุ ขภาพจิต
องค์ ประกอบของสุ ขภาพจิต
1. ปัจจัยทางร่ างกาย ร่ างกายแข็งแรง ปราศจากโรค
2. ปัจจัยทางจิตใจ ประกอบด้วย
·
·
·
ความคิด คิดดี คิดเป็ น คิดสร้างสรรค์
อารมณ์หรื อความรู้สึก สดชื่น ร่ าเริ ง สนุกสนาน ปิ ติ มีความสุ ข สงบ
จิตวิญญาณ พอใจตนเอง เมตตาผูอ้ ื่น สานึกในสิ่ งแวดล้อม
3. ปัจจัยทางสั งคมและสิ่ งแวดล้อม มีสัมพันธภาพที่ดีและยัง่ ยืนกับ
ผูอ้ ื่น วางตัวเหมาะสม มีอาชีพและการดาเนินชีวิตที่ดี เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น
สุ ขภาพจิต
ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อสุ ขภาพจิต
ปัจจัยทางชีวภาพ
 ปัจจัยกอนคลอด
่
 ปัจจัยเกีย
่ วกับหลังคลอด
 ปัจจัยทางกายวิภาค + สรี รวิทยา
 ปัจจัยเกีย
่ วกับการเปลีย
่ นแปลงของ
ฮอร์โมน
สุ ขภาพจิต
ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อสุ ขภาพจิต
ปัจจัยด้ านจิตสั งคม
 การเลี้ยงดู
 เหตุการณที
์ ่
เกิดตามระยะพัฒนาการ
ของชีวติ
 แหลงสนั
บสนุ น
่
 การปฏิสัมพันธใน
์  ประสบการณ ์
ครอบครัว
เดิมในอดีต
 สิ่ งทีอ
่ ยูในตั
ว
่
บุคคล
 ความเชือ
่
เกี่ยวกับการดูแลสุ ขภาพ
สุ ขภาพจิต
 คือศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีการศึกษาเกี่ยวกับการทาจิตให้สมบูรณ์
เป็ นแขนงหนึ่งของจิตวิทยาคลินิค หรื อจิตวิทยาปกติ ซึ่ งส่ งเสริ ม
ให้คนมีสุขภาพจิตสมบูรณ์ ป้ องกันความผิดปกติทางจิต
และการบาบัดรักษาความผิดปกติทางจิตของมนุษย์
สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
ความหมายของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
สุ ขภาพกาย หมายถึง สภาวะของร่ างกายที่มีความสมบูรณ์
แข็งแรง เจริ ญเติบโตอย่างปกติ ระบบต่างๆของร่ างกายสามารถทางานได้เป็ น
ปกติและมีประสิ ทธิ ภาพ ร่ างกายมีความต้านทานโรคได้ดี ปราศจากโรคภัยไข้
เจ็บและความทุพพลภาพ
สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
ความหมายของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
สุ ขภาพจิต หมายถึง สภาวะของจิตใจที่มีความสดชื่น แจ่มใส
สามารถควบคุมอารมณ์ให้มนั่ คงเป็ นปกติ สามารถปรับตัวให้เข้ากับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่ งแวดล้อมต่างๆได้ดี สามารถเผชิญกับปัญหา
ต่างๆได้เป็ นอย่างดี และปราศจากความขัดแย้งหรื อความสับสน
ภายในจิตใจ
สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
ความสั มพันธ์ ของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตเป็ นสิ่ งสาคัญและจาเป็ นสาหรับทุกชีวิตการที่
จะดารงชีวติ อยูอ่ ย่างปกติกค็ ือการทาให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ จิตใจมี
ความสุ ข ผูท้ ี่มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดีจะปฏิบตั ิหน้าที่ประจาวันไม่
ว่าเป็ นการเรี ยนหรื อการทางานเป็ นไปด้วยดี มีประสิ ทธิภาพ การที่เรา
รู ้สึกว่า ทั้งสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตของเรามีความปกติและสมบูรณ์
ดี เราก็จะมีความสุ ขในทางตรงข้าม ถ้าสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตของเรา
ผิดปกติหรื อไม่สมบูรณ์ เราก็จะมีความทุกข์ การรู้จกั บารุ งรักษาและ
ส่ งเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นสาหรับ
ชีวิตของทุกคนในปัจจุบนั
สุ ขภาพกาย
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพกายทีด่ ี
สภาพร่ างกาย
มีความสมบูรณ์
แข็งแรง
สุ ขภาพกาย
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพกายทีด่ ี
อวัยวะต่ างๆทั้ง
ภายในและ
ภายนอกร่ างกาย
สามารถทางานได้
ตามปกติ
สุ ขภาพกาย
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพกายทีด่ ี
ร่ างกาย
ไม่ ทุพพลภาพ
สุ ขภาพกาย
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพกายทีด่ ี
ความเจริญทางด้ าน
ร่ างกายเป็ นไป
ตามปกติ
สุ ขภาพกาย
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพกายทีด่ ี
ร่ างกายได้ รับการ
พักผ่ อนอย่ าง
เพียงพอ
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มีอารมณ์ มั่นคง และ
สามารถควบคุม
อารมณ์ ได้ ดี
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มีความตั้งใจและ
กระตือรือร้ นในการ
ทางาน ไม่ ย่อท้ อ
เหนื่อยหน่ ายหรือ
หมดหวังในชีวติ
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มีความสดชื่น เบิก
บาน แจ่ มใส
ไม่ เครียด ไม่ มีความ
วิตกกังวลใจ
จนเกินไปมีอารมณ์
ขันบ้ างตามสมควร
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มีความรู้ สึกต่ อผู้อนื่
ในแง่ ดี มองโลกใน
แง่ ดี
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
สามารถปรับตัวเข้ า
กับสั งคมและ
สิ่ งแวดล้ อมได้ ดี
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มีการแสดงออก
อย่ างเหมาะสม เมื่อ
มีความสะเทือนใจ
สุ ขภาพจิต
ลักษณะของผู้มีภาวะสุ ขภาพจิตทีด่ ี
สามารถแสดงความ
ยินดีต่อผู้อนื่ อย่ าง
จริงใจเมื่อประสบ
ความสุ ข ความ
สมหวัง หรือ
ความสาเร็จ
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
ความเจ็บป่ วยทางจิต หรือ ความผิดปกติทางจิต
กลุ่มลักษณะอาการทางบวกหมายถึง
อาการที่มีเพิ่มมากกว่าคนปกติทวั่ ไป ได้แก่
- ประสาทหลอน เช่นได้ยนิ เสี ยงคนพูดคุย ได้ยนิ เสี ยงคนพูดตาหนิ
พูดโต้ตอบเสี ยงนั้นเพียงคนเดียว
- พฤติกรรมผิดปกติ เช่นอยูใ่ นท่าแปลกๆ หัวเราะหรื อร้องไห้
สลับกันเป็ นพักๆ
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
ความเจ็บป่ วยทางจิต หรือ ความผิดปกติทางจิต
กลุ่มลักษณะอาการทางลบหมายถึง อาการที่ขาดหรื อบกพร่ องไปจาก
คนปกติทวั่ ๆไป ได้แก่
- สี หน้ าอารมณ์ เฉยเมย ชีวิตไม่มีจุดหมาย ไม่มีสมั พันธภาพกับใคร
ไม่พดู ไม่มีอาการยินดียนิ ร้าย
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
การเปรียบเทียบระหว่ างสุ ขภาพจิตดีและการเจ็บป่ วยทางจิต
ลักษณะผู้ทสี่ ุ ขภาพจิตดี
ลักษณะผู้มีการเจ็บป่ วยทางจิต
HAPPINESS
CONTROL OVER BEHAVIOR
APPRAISAL OF REALITY
EFFECTIVENESS IN WORK
MAJOR DEPRESSIVE EPISODE
CONTROL DISORDER
SCHIZOPHRENIA
ADJUSTMENT DISORDER
GOOD MENTAL HEALTH
DEVIATION
PSYCHOSIS
MENTAL ILLNESS
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
สาเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดปัญหาต่ อสุ ขภาพจิต
1.สาเหตุจากตัวบุคคล ประกอบไปด้วย
1.1 ความผิดปกติทางกาย เช่น อ้วนหรื อผอมเกินไป บุคคล
เหล่านี้มกั จะรู ้สึกว่าตัวเองมีปมด้อย ส่ งผลให้หลีกเลี่ยงการพบปะ
ผูอ้ ื่น ชอบเก็บตัว
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
สาเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดปัญหาต่ อสุ ขภาพจิต
1.2 โรคประจาตัวเรื้ อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
สาเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดปัญหาต่ อสุ ขภาพจิต
1.3 สภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่เป็ นเหตุการณ์
ทัว่ ไปและเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
สาเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดปัญหาต่ อสุ ขภาพจิต
2.สาเหตุจากสิ่ งแวดล้อม ประกอบไปด้วย
2.1 ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
สาเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดปัญหาต่ อสุ ขภาพจิต
2.2 ปัญหาทางเศรษฐกิจ
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
สาเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดปัญหาต่ อสุ ขภาพจิต
2.3 ปัญหาความเสื่ อมโทรมทางสังคม
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
ประเภทของความผิดปกติทางจิต
1.บุคลิกภาพผิดปกติหรือแปรปรวน คือ พฤติกรรมที่
แสดงออกอย่างไม่เหมาะสมโดยมีการเบี่ยงเบนหรื อ
แปรปรวนไปจากบุคคลปกติ สามารถแบ่งประเภทตาม
เกณฑ์ได้ ดังนี้
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
กลมุ่ A
กลมุ่ B
บุคลิกภาพพิกลหรื อ
ไม่เหมือนบุคคลปกติ
บุคลิกภาพเพ้อฝัน
และอารมณ์รุนแรง
- บุคลิกภาพแบบหวาดระแวง
- บุคลิกภาพแบบเพี้ยน
- บุคลิกภาพแบบจิตเภท
- บุคลิกภาพแบบอารมณ์
ไม่มนั่ คง
- บุคลิกภาพแบบต่อต้าน
สังคม
- บุคลิกภาพเห็นตนดีเด่น
กลมุ่ C
บุคลิกภาพวิตกกังวล
และหวาดกลัว
- บุคลิกภาพแบบมีปมด้อย
- บุคลิกภาพแบบพึ่งพาผูอ้ ื่น
- บุคลิกภาพแบบสมยอมและ
ก้าวร้าว
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
ประเภทของความผิดปกติทางจิต
2.โรคประสาท เป็ นโรคที่เกิดจากความ
แปรปรวนทางจิตประเภทหนึ่งที่มีพ้ืนฐาน
มาจากความขัดแย้งและความวิตกกังวล
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
โรคประสาทชนิดยา้ คิดยา้ ทา
โรคประสาทชนิดฮิสทีเรีย
โรคประสาทชนิดวิตกกังวล
โรคประสาทชนิดหวาดกลัว
โรคประสาทชนิดซึมเศร้ า
โรคประสาทชนิดอุปทาน
โรคประสาทชนิดหลาย
บุคลิกภาพ
โรคประสาทชนิดท้ อแท้
www.themegallery.com
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
ประเภทของความผิดปกติทางจิต
3.โรคจิต เป็ นบุคคลที่มีความเจ็บป่ วยทางจิต
อย่างรุ นแรง ส่ งผลให้เกิดการสูญเสี ยหน้าที่การ
ทางานของจิตใจในระดับสูญเสี ยความสามารถ
ในการรับรู ้ตนเอง แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
โรคจิตชนิดอารมณ์ แปรปรวน
โรคจิต
โรคจิตชนิดจิตเภท
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
วิธีการบาบัดอาการทางจิต
การใช้ยา
การช็อตด้วยไฟฟ้ า
1.การบาบัดทางกาย
การผ่าตัด
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
วิธีการบาบัดอาการทางจิต
2.การบาบัดทางจิตบาบัด
ส่ วนใหญ่แล้วเป็ นลักษณะการสนทนากัน
ระหว่างจิตแพทย์กบั ผูท้ ี่มีอาการทางจิต
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
วิธีการบาบัดอาการทางจิต
3.การบาบัดทางพฤติกรรมบาบัด
บาบัดให้ผมู้ ีอาการทางจิตเรี ยนรู้เงื่อนไขหรื อ
เลียนแบบตัวแบบใหม่ตามที่ผบู้ าบัด
กาหนดขึ้น
ความผิดปกติทางสุ ขภาพจิต
วิธีการบาบัดอาการทางจิต
2.การบาบัดโดยวิธีการอืน่
การบาบัดเป็ นกลุ่ม การบาบัดโดยการเล่น
นันทนาการบาบัดหรื อ
นันทนจิต
อาชีวบาบัด
การปรับตัว
ความหมายของการปรับตัว
ความพยายามของบุคคลในการที่จะหาวิธีที่จะลดสภาวะความตึงเครี ยด
ทางอารมณ์ ซึ่ งความพยายามดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อให้มี
ความสามารถในการดาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุ ข
การปรับตัว
สาเหตุทที่ าให้ เกิดการปรับตัว
1.ความคับข้ องใจ
2.ความขัดแย้ ง
3.ความกดดัน
4.ความตึงเครียด
การปรับตัว
กระบวนการปรับตัว
1.ระดับทีเ่ รารู้ตัว กระทาได้ 2 ทาง
1.1โดยการเพิ่มความพยายามให้มากขึ้น
1.2 โดยการเปลี่ยนแปลงเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้
2.ระดับทีก่ ระทาไปโดยไม่ รู้ตัว
เป็ นการหาทางออกโดยใช้กลวิธานในการ
ป้ องกันตัวลักษณะต่างๆ
www.themegallery.com
การปรับตัว
ปัญหาของการ
ปรับตัว
แบ่ งได้ 3
ประเภท
• 1. ความคับข้องใจ
• 2.ความขัดแย้ง
• 3. ความกดดัน
การปรับตัว
ความคับข้ องใจ ( Frustration)
ความหมาย
ความคับข้ องใจหมายถึง สภาพทางจิตใจหรือ
ความรู้ สึกที่เป็ นผลสื บเนื่อง มาจากความปรารถนาที่เรา
มุ่งหวัง หรือสิ่ งที่เราปรารถนานั้นถูกขัดขวางทาให้ เราไม่
สามารถบรรลุเป้าหมาย
การปรับตัว
สาเหตุความคับข้ องใจ มี 2 ประการ
สาเหตุส่วนบุคคล
สาเหตุสิ่งแวดล้อม
1.ทางร่ างกาย
ได้แก่ สิ่ งแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคม
2.ทางจิตใจ
เช่ น ที่อยู่อาศัย ที่ทางาน
อุบัติเหตุต่างๆ
ความล่ าช้ าของระบบงาน
การปรับตัว
ความคับขัดแย้ ง(Conflicts)
ความหมาย
ความขัดแย้ง หมายถึง สภาวการณ์ที่ทาให้บุคคลเกิด
ความรู ้สึกมีความขัดแย้งในตนเอง เมื่อต้องเผชิญต่อสภาวการณ์
นั้น ๆ โดยบุคคลนั้นจะเกิดความลาบากใจ หนักใจ หรื ออึดอัดใจ
ในการตัดสิ นใจ ตกลงใจที่จะเลือกสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งจากสภาวการณ์ที
เขาเผชิญอยูน่ ้ นั โดยสิ่ งต่าง ๆ ในสภาวการณ์น้ นั ๆ เขาอาจจะ
ชอบมากเท่า ๆ กัน หรื อชอบน้อยมากทั้งหมด หรื อไม่ชอบ
ทั้งหมด
การปรับตัว
สาเหตุของความขัดแย้ ง แบ่ งได้ 3 ชนิด
ลักษณะเป็ น
ทั้งบวกและลบ
ลักษณะเป็ น
บวกทั้งคู่
ลักษณะเป็ น
ลบทั้งคู่
• ต้องตัดสิ นใจเลือกในสิ่ งที่ชอบและ
ไม่ชอบในเวลาเดียวกัน
• ต้องตัดสิ นใจเลือกในสิ่ งที่ชอบหรื อ
ต้องการที่เหมือนกัน เท่าๆในเวลา
เดียวกัน
• ต้องตัดสิ นใจเลือกสิ่ งที่ไม่ชอบหรื อไม่
ต้องการทั้งสองอย่างแต่ตอ้ งเลือกสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่ง ไม่เลือกไม่ได้
การปรับตัว
ความกดดัน(Pressure)
ความหมาย
ความกดดัน หมายถึง สภาพการณ์บางประการที่ผลักดัน
หรื อเรี ยกร้องหรื อบังคับให้บุคคลจาต้องกระทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
ความกดดันมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและการปรับตัวของ
แต่ละบุคคล
การปรับตัว
สาเหตุของความกดดัน
สาเหตุ
ตัวอย่ าง
จากตัวบุคคล
ระดับความมุง่ หวัง และอุดมคติ
การแข่งขันในสังคมปั จจุบนั การแข่งขันเพื่อความสาเร็จทาง
การศึกษา อาชีพ กีฬา
ความซับซ้ อนและการ
วิทยาการใหม่ๆ โรคภัยไข้ เจ็บบางชนิด
เปลี่ยนแปลงของสังคม
ทาให้ เกิดความวิตกกังวล
ไม่มีความสุข
คนในครอบครัวและ
ความรักความเข้ าใจกัน เศรษฐกิจ
สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ของครอบครัว
การปรับตัว
วิธีการเผชิญปัญหาหรือตอบโต้ ปัญหาโดยอัตโนมัติ
1. การร้ องไห้ ช่วยปลดปล่อยอารมณ์เครี ยด
2. การพูด
ช่วยลดอารมณ์เครี ยด ช่วยให้บุคคลระบายความ
อัดอั้นใจ ให้เข้าใจสถานการณ์ หรื อปั ญหาแจ่มชัดขึ้น
3. การหัวเราะ เพื่อให้ความเครี ยด ความเศร้า หรื อสิ่ งที่
กระทบกระเทือนใจผ่อนคลายลง
การปรับตัว
4. การคิดอย่างรอบคอบ เมื่อเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งแล้วความเครี ยดความ
วิตกกังวลจะค่อยๆ คลี่คลายไปในทางที่ดีข้ ึน
5. การเสาะแสวงหาแหล่งให้ ความช่ วยเหลือ เมื่อบุคคลเผชิญกับสภาวะ
วุน่ วายทางจิตใจ ก็มกั จะหาแหล่งที่จะให้ขอ้ มูล หรื อแสวงหาความ
ช่วยเหลือและกาลังใจ
6. การนอนหลับและฝัน ภายหลังการนอนหลับและฝัน ความรุ นแรงของ
ปั ญหาจะค่อยๆ คลี่คลายลงไปบ้าง
การปรับตัว
กลวิธานในการปรับตัว
1. การปรับตัวแบบสู ้ (adjustment by defense)
2. การปรับตัวแบบหลบหนี (adjustment by isolation)
3. การปรับตัวในรู ปความกลัวต่างๆ (adjustment involving local fear)
4. การปรับตัวในรู ปความป่ วยไข้ต่าง ๆ (adjustment by ailments)
5. ความวิตกกังวล (anxiety)
LOGO