บรรยาย11032557แก้ไข2(09032014) - กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ

Download Report

Transcript บรรยาย11032557แก้ไข2(09032014) - กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ

การอ่านแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ
และการใช้ เครื่องมือบอกพิกดั บนพืน้ ผิวโลก(GPS)
อภิชาติ สุ วรรณมณี
เชาวฤทธิ์ รอบรู้
และคณะ
๑๑ มี.ค. ๒๕๕๗
การอ่านและแปลความหมายในแผนที่
เนือ้ หา
1. ความหมายของแผนที่
2. ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับภูมิศาสตร์ โลก
3. ความสาคัญและประโยชน์ ของแผนที่
4. การจาแนกชนิดของแผนที่
5. องค์ ประกอบของแผนที่
6. มาตราส่ วนแผนที่
7. ระบบพิกดั บนแผนที่
การอ่านและแปลความหมายในแผนที่
ในสมัยเริ่ มแรก การทาแผนที่อ าศั ย
ข้ อมูลการสารวจภาคพืน้ ดินเท่ านั้น แต่
ต่ อมามี เ ทคโนโลยี ก ารส ารวจจาก
ระยะไกล (Remote Sensing) เกิดขึน้
จึงมีการนาเอาภาพถ่ ายทางอากาศและ
ภาพถ่ ายจากดาวเทียมมาช่ วยในการทา
แผนที่ เ พราะท าให้ เ กิ ด ความสะดวก
รวดเร็ ว และถูกต้ อง กว่ าการสารวจ
ภาคพืน้ ดินเพียงอย่ างเดียว
บทบาทแผนทีต่ ่ อการพัฒนาประเทศ
แผนที่มีบทบาทสาคัญต่ อการพัฒนาประเทศ การเรี ยนการสอน การ
ประกอบอาชีพสาขาต่ าง ๆ และการนาไปใช้ งานด้ านต่ างๆ เช่ น ภูมิศาสตร์
การสารวจ ธรณีวิทยา การเกษตร ป่ าไม้ การคมนาคมขนส่ ง กิจการทหาร
ตารวจ ศิลปวัฒนธรรม
ความมัน่ คงของประเทศ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ป่ าไม้ และเกษตรกรรม
สิ่ งแวดล้อม
การบริหารจัดการ
ธุรกิจ
ในปัจจุบันความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ทั้งฮาร์ ดแวร์ (Hardware) และซอฟแวร์ (Software) มี
มากขึน้ จึงมีการนาเอาคอมพิวเตอร์ มาผลิตแผนที่ ซึ่งทา
ได้ สะดวกรวดเร็ว และถูกต้ องมากกว่ าเดิมทีท่ าด้วยมือ
คอมพิวเตอร์ มีวธิ ีการแสดงผลภาพออกมาให้ เหมื อน
จริ ง หรื อทาเสมือนมองเห็นได้ ในสภาพเป็ นจริ ง
(Visualization) เช่ น แสดงความลึก สู ง ต่า นูน
รู ปแบบภาพสามมิติ เป็ นลักษณะที่ง่ายต่ อการสื่ อ
ความหมายมากขึน้
ความหมายของแผนที่
แผนที่ คือ สิ่ งที่แสดงลักษณะของผิวโลก
ทั้งที่เป็ นอยู่ ต ามธรรมชาติ และสิ่ ง ที่ม นุ ษ ย์
สร้ างขึน้ โดยแสดงลงบนพืน้ ราบ อาศัยการ
ย่ อส่ วนให้ เล็กลงตามขนาดที่ต้องการ และใช้
เครื่องหมายหรือสั ญลักษณ์ แทนสิ่ งที่ปรากฏ
อยู่บนผิวโลก หรืออาจกล่ าวได้ ว่าแผนที่คือ
สิ่ งที่เราบันทึกเรื่องราวและความรู้ ต่างๆ ทาง
ภูมิศาสตร์ ไว้ นั่นเอง
การอ่านแผนที่ คือ
การค้ นหารายละเอีย ดบน
ภูมิประเทศ ซึ่ งรายละเอียดบนภู มิ
ประเทศดังกล่าวนีห้ มายถึง สิ่ งต่ างๆ
บนผิวพิภพ ที่ปรากฏตามธรรมชาติ
และสิ่ งที่เกิดจากแรงงานของมนุษย์
แ ผ น ที่ ที่ ดี ที่ ทั น ส มั ย ย่ อ ม ใ ห้
ประโยชน์ แก่ผู้ใช้ อย่ างมาก
- เครื่องหมายที่ใช้ แทนลักษณะภูมิ
ประเทศหรือสี ที่ใช้ เป็ นสั ญลักษณ์
- ลักษณะภูมิประเทศ
- กริด และอาซิมุทส์
- มาตราส่ วน และทิศทาง
สั ณฐานของโลก
โลก (Earth) โลกของเรามีรูปร่ างลักษณะเป็ นรู ปทรงรี(Oblate Ellipsoid)
คือมีลกั ษณะป่ องตรงกลาง ขั้วเหนือ-ใต้ แบนเล็กน้ อย แต่ พนื้ ผิวโลกที่
แท้ จริง มีลกั ษณะขรุขระ
สู ง ต่า ไม่ ราบเรียบ สม่าเสมอ
* พืน้ ผิวโลกจะมีพนื้ ที่ประมาณ 509,450,00 ตารางกิโลเมตร
* มีเส้ นผ่ าศูนย์ กลางทีศ่ ูนย์ สูตรยาว 12,757 กิโลเมตร
* มีเส้ นผ่ าศูนย์ กลางจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ 12,714 กิโลเมตร
จะเห็นว่ าระยะทางระหว่ างแนวนอน(เส้ นศู นย์ สูตร) ยาวกว่ า
แนวตั้ง (ขั้วโลกเหนือ -ใต้ )
สั ณฐานของโลกมีอยู่ 3 แบบ
คือ ทรงกลม(Spheroid) ทรงรี (Ellipsoid) และ ยีออยด์ (Geoid)
1. ทรงกลม หรือ สเฟี ยรอยด์ เป็ นรู ปทรงที่ง่ายทีส่ ุ ด จึงเหมาะเป็ นสั ณฐานของโลกโดยประมาณ
ใช้ กบั แผนทีม่ าตราส่ วนเล็กที่มขี อบเขตกว้ างขวาง เช่ น แผนที่โลก แผนทีท่ วีป หรือ แผนที่อนื่ ๆ ที่
ไม่ ต้องการความละเอียดถูกต้ องสู ง
2. ทรงรี หรือ อิลปิ ซอยด์ โดยทั่วไป คือ รู ปทีแ่ ตกต่ างกับรู ปทรงกลมเพียงเล็กน้ อย ซึ่งจะมี
ลักษณะใกล้เคียงกับสั ณฐานจริงของโลกมาก จึงเหมาะสาหรับใช้ เป็ นพืน้ ผิวการรั งวัด และการ
จัดทาแผนทีท่ ี่ต้องการความละเอียดถูกต้ องสู ง เช่ น แผนทีร่ ะดับชุ มชนเมือง แผนทีภ่ ูมิประเทศ
มาตราส่ วนใหญ่ ทวั่ ไป แผนทีน่ าร่ อง เป็ นต้ น
3.ยีออยด์ เป็ นรู ปทรงทีเ่ หมือนกับสั ณฐานจริงของโลกมากทีส่ ุ ด เกิดจากการสมมุติระดับนา้ ใน
มหาสมุทรขณะทรงตัวอยู่นิ่ง เชื่อมโยงให้ ทะลุไปถึงกันทัว่ โลก จะเกิดเป็ นพืน้ ผิวซึ่งไม่ ราบเรียบ
ตลอด มีบางส่ วนทีย่ ุบต่าลง บางส่ วนสู งขึน้ ขึน้ อยู่กบั ความหนาแน่ นและแรงโน้ มถ่ วงของโลก
ทุกๆ แนวดิ่ง(Plumb Line) จะตั้งฉากกับยีออยด์ ยีออยด์ มีบทบาทสาคัญในงานรังวัดชั้นสู ง
(Geodesy) แต่ กลับไม่ มีบทบาทโดยตรงกับวิชาการแผนที่ นอกจากจะใช้ ในการคานวณแผนที่
ประกอบกับรู ปทรงรี
• ภาพตัดขวางแสดงพืน้ ผิวภูมิประเทศ เอลลิปซอยด์ และ ยีออยด์ ของโลก
ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับภูมศิ าสตร์ โลก
1.เส้ นวงกลมใหญ่ (Great Circle) คือ เส้ นรอบวงที่เราลากผ่ าน
ไปรอบผิวโลกโดยผ่ านทีศ่ ูนย์ กลางวงกลม แล้ วบรรจบมาเป็ นวงกลม
เรียกว่ า"วงกลมใหญ่ “ ตัวอย่ าง เช่ น เส้ นศูนย์ สูตร
เส้ นเมอริเดียนทีอ่ ยู่ตรงข้ ามกัน เส้ นแบ่ งเขตมืด -สว่ าง
2.เส้ นวงกลมเล็ก (Small Circle) คือ เส้ นรอบวงทีเ่ ราลากผ่ านไป
รอบผิวโลกโดยไม่ ผ่านทีศ่ ูนย์ กลางวงกลม แล้ วบรรจบมาเป็ นวงกลม
ตัวอย่ าง เช่ น เส้ นขนาน
3.เส้ นศูนย์ สูตร (Equator) คือ เส้ นทีล่ ากผ่ านศูนย์ กลางวงกลม
ในแนวตะวันออกและตะวันตก โดยจุดเริ่มต้ นของเส้ นที่ 0 องศาทาง
ตะวันออก ซึ่งเป็ นวงกลมใหญ่ วงหนึ่งเช่ นกัน
4.เส้ นเมอริเดียน (Meridians) คือ เส้ นทีล่ ากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวเหนือ
และใต้ โดยลากเชื่อมระหว่ างจุดขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้
5.เส้ นเมอริเดียนปฐม (Prime Meridian) คือ เส้ นเมอริเดียนทีล่ ากผ่านหอดู
ดาวที่ตาบลกรีนิช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ ใช้ เป็ นเส้ นหลักในการกาหนดค่ าลองจิจูด
ซึ่งถูกกาหนดให้ มลี องจิจูดเป็ นศูนย์ ถ้ าถือตามข้ อตกลงนานาชาติ ค.ศ. 1884 หรือเรียกว่ า เส้ น
เมอริเดียนกรีนิช ก็ได้
เส้ นศูนย์ สูตร เส้ นขนาน เส้ นเมอริเดียน และเส้ นเมอริเดียนเริ่มแรก(ปฐม)
6.เส้ นขนาน (Parallels)
คือ เส้ นที่ลากขนานกับเส้ นศูนย์ สูตร หรือ วงกลมเล็ก
7.ละติจูด (Latitude)
หรือ เส้ นรุ้ ง คือ ระยะทางเชิงมุมที่วดั ไปทางเหนือและใต้ ของเส้ นศูนย์ สูตร
นับจาก 0 องศาไปทางเหนือและทางใต้ 90 องศา
8.ลองจิจูด (Longitude)
หรือ เส้ นแวง คือ ระยะทางเชิงมุมที่วดั จากเมอริเดียนปฐมซึ่งถือที่ 0 องศา
ตาบลกรีนิชเป็ นหลัก วัดไปทางตะวันออก 180 องศาตะวันออก และทาง
ตะวันตก 180 องศาตะวันตก"รุ้ งตะแคง แวงตั้ง" เป็ นคาเรียกขานเพื่อให้
ง่ ายต่ อการจาว่ า เส้ นละติจูดและลองจิจูดคืออะไร มีลกั ษณะอย่ างไร
9.โครงแผนที่
คือ ระบบของเส้นที่สร้างขึ้นในพื้นที่แบนราบ เพื่อแสดงลักษณะของ
เส้ น ขนานและเส้ น เมอริ เ ดี ย นอัน เป็ นผลจากแบบและวิ ธี ก ารสร้ า ง
รู ปทรงเรขาคณิ ต และการวิเคราะห์ทางคณิ ตศาสตร์ในการถ่ายทอดเส้น
เหล่านั้นจากผิวโลก ซึ่ งเป็ นทรงกลมลงบนพื้นที่แบนราบ ซึ่ งวิธีการนั้น
เรี ยกว่าการฉายแผนที่ โดยการใช้พ้ืนผิวรู ปทรงเรขาคณิ ต 3 ชนิด คือ
รู ประนาบ(Plane) รู ปทรงกรวย(Cone) และรู ปทรงกระบอก(Cylinder)
ในการฉายเส้นโครงแผนที่
10.โปรเจคชั่นของแผนที่
คือ ระบบการเขียนแนวเส้นที่แทนเส้นเมอริ เดี ยนและเส้นขนาน
(Meridians and Parallels) ของพิภพทั้งหมด หรื อ ส่ วนใดส่ วนหนึ่ งลง
บนพื้นแบนราบตามมาตราส่ วน
ลักษณะพืน้ ผิวทีใ่ ช้ แสดงเส้ นโครงแผนที่
รู ประนาบ(Plane)
รู ปทรงกระบอก(Cylinder) รู ปทรงกรวย (Cone)
ลักษณะพืน้ ผิวทีใ่ ช้ แสดงเส้ นโครงแผนที่
11.ทิศเหนือจริง (True North) คือแนวที่นับจากตาบลใดๆ บนพิภพไปยังขั้วโลก
เหนือจะเห็นว่ าเส้ นลองจิจูด(Longitude) ทุกเส้ น ก็คือแนวทิศเหนือจริง ตามปกติใช้ สัญ
ลักษน์ รูปดาวแทนทิศเหนือจริง โดยทัว่ โปจะไม่ ใช้ ทศิ เหนือจริงในการอ่ านแผนที่
12.ทิศเหนือกริด (แผนที่) (Grid North) คือแนวเส้ นกริดใต้ -เหนือบนแผนที่ ใช้
สั ญลักษณ์ GN ทิศเหนือกริดให้ ประโยชน์ ในการหาค่ าพิกดั บนเเผนทีแ่ ละมุมของทิศ
13.ทิศเหนือแม่ เหล็ก (Magnetic North) คือแนวตามปลายลูกศรที่แสดงทิศเหนือ
ของเข็มทิศ. ซึ่งโดยปกติเข็มทิศจะชี้ไปทางขั้วเหนือของแม่ เหล็กโลกเสมอ ในแผนที่จะใช้
สั ญลักษณ์ รูปลูกศรครึ่งซีก ทิศเหนือแม่ เหล็ก ใช้ ประโยชน์ ในการหาทิศทางเมื่ออยู่ในภูมิ
ประเทศจริง
14.อะซิมุท (Azimuth) เป็ นวิธีการที่คิดขึน้ มาเพือ่ ใช้ ในการบอกทิศทางคือวัดขนาด
ของมุ ม ทางราบที่ วั ด จากแนวทิ ศ เหนื อ หลั ก เวี ย นตามเข็ ม นาฬิ ก ามาบรรจบกั บ แนว
เป้ าหมายทีต่ ้ องการมุมทิศอะซิมุทนีจ้ ะมีค่าตั้งแต่ 0 - 360 องศา และเมื่อวัดมุมจากเส้ นฐาน
ทิศเหนือหลักชนิดใด ก็เรียกตามทิศเหนือหลักนั้น เช่ น อะซิมุทจริง, อะซิมุทกริด, อะซิมุท
แม่ เหล็ก
ความสาคัญและประโยชน์ ของแผนที่
แผนทีเ่ ป็ นสิ่ งทีแ่ สดงให้ ทราบถึงลักษณะของภูมิประเทศและ
การกระจายของกิจกรรมต่ างๆ ของมนุษย์ รวมทั้งความสั มพันธ์
ของสิ่ งต่ างๆ อีกด้ วย เราจะเห็นว่ าแผนที่น้ันอาจแสดงถึงสถิติต่างๆ
ทีม่ นุษย์ ต้องการทราบได้ เกือบทุกอย่ าง เช่ น ปริมาณนา้ ฝน อุณหภูมิ
ลักษณะภูมิประเทศ การกระจายของพลเมือง การกระจายของสั ตว์
พืชพรรณ วิศวกรโยธาซึ่งทางานเกี่ยวกับการสร้ างทางหลวง การ
ก่ อสร้ าง จาเป็ นต้ องมีแผนทีซ่ ึ่งแสดงถึงลักษณะภูมปิ ระเทศ
*ความจาเป็ นต่ อสาธารณะประโยชน์ เช่ น เพือ่ ใช้ ในการวางแผน
สร้ างสถานีผลิตกระแสไฟฟ้าและการวางสายไฟ การประปา สายโทรศัพท์
และแหล่ งที่จะทิง้ ขยะมูลฝอย บริ ษัทประกันภัยก็ต้องใช้ แผนที่เพื่อจะได้
ศึกษาถึงทางเดินของพายุ บริเวณที่ถูกภัยธรรมชาติ บริ เวณที่มักจะเกิด
แผ่ นดินไหว เป็ นต้ น
*แผนที่เกี่ยวกับข้ อมูลพืน้ ฐานต่ างๆ - นาไปใช้ ในการพัฒนาด้ าน
ทรัพยากรธรรมชาติ และในการวางแผนด้ านการเศรษฐกิจและสั งคม เช่ น
การสร้ างอ่ างเก็บน้า ท่ อน้า โรงงานกรองนา้ เสี ย การขุดบ่ อบาดาล หรือ
โครงการเกีย่ วกับการป้ องกันนา้ ท่ วม
*การส่ งเสริ มการท่ องเที่ยว - ทาให้ นักท่ องเที่ยวรู้ จักสถานที่
ท่ องเที่ยวได้ ง่าย และสะดวกในการทีจ่ ะวางแผนการเดินทาง
*ด้ านการทหาร - การวางแผนยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี
การจาแนกชนิดของแผนที่
1.การจาแนกชนิดของแผนทีแ่ บบทัว่ ไป
- แผนทีแ่ บบแบน แสดงพืน้ ผิวโลกในทางราบ เช่ น แผนทีท่ างคมนาคม
- แผนทีภ่ ูมิประเทศ แสดงให้ เห็นความสู ง-ต่าของภูมิประเทศ
- แผนทีภ่ าพถ่ าย เช่ นภาพถ่ ายทางอากาศ
2.การจาแนกชนิดของแผนทีต่ ามขนาดของมาตราส่ วน
- แบ่ งทางภูมิศาสตร์ มาตราส่ วนใหญ่ (ใหญ่ กว่า 1:250,000) กลาง เล็ก(เล็กกว่า1:1,000,000)
- แบ่ งในกิจการทหาร มาตราส่ วนใหญ่ (1:50,000) กลาง เล็ก(เล็กกว่า1:1,000,000)
3. การจาแนกชนิดของแผนที่ตามชนิดของการใช้ และชนิด ของรายละเอียด
- แผนทีท่ วั่ ไป แผนทีย่ ุทธศาสตร์ แผนทีย่ ุทธวิธี แผนทีก่ ารบิน เป็ นต้ น
องค์ ประกอบของแผนที่
1.องค์ ประกอบของ
แผ นที่ ที่ อ ยู่ ภ า ย น อ ก
ขอบระวางเรียกว่ า
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
ภายนอกขอบระวาง
2. องค์ ป ระกอบของ
แผนที่ ที่ อ ยู่ภ ายในขอบ
ระวางเรี ยกว่า
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
ภายในขอบระวาง
องค์ ประกอบภายนอกขอบระวางแผนที่(Marginal information
1. มาตราส่ วนแผนที่ (Map scale)
2. คาอธิบายสั ญลักษณ์ (Legend)
3. ศัพทานุกรม (Glossary)
4. ระบบบ่ งบอกระวาง (Sheet identification system)
4.1 ชื่อชุ ดและมาตราส่ วน (Series name and scale)
4.2 ชื่อระวาง (Sheet name)
4.3 ลาดับชุ ด (Series number)
5. บันทึกต่ างๆ (Note)
6. แผนผังและสารบัญต่ างๆ (Diagram and Index)
7. คาแนะนาในการใช้ ค่ากริด (Grid Reference Box)
8. หมายเลขสิ่ งอุปกรณ์ (Stock NO.)
1. มาตราส่ วนแผนที่ (Map scale)
มาตราส่ วนแผนที่เป็ นข้ อมูลที่จาเป็ นที่สุด ในการบอกให้
ผู้ใช้ แผนที่ทราบว่ า แผนที่น้ันย่ อมาจากภูมิประเทศจริ งด้ วย
อัตราส่ วนเท่ าใด การแสดงมาตราส่ วนแผนที่น้ัน นอกจากจะ
แสดงในรู ปตัวเลขเศษส่ วน (Representative fraction) แล้ ว ยัง
แสดงในรู ปเส้ นบรรทัด (Graphic scale) อีกด้วย
วิธีการใช้ มาตราส่ วนเส้ นบรรทัด
นาระยะทีเ่ ราวัดได้ มาทาบกับมาตราส่ วนเส้ นบรรทัด จะได้ ระยะบนภูมิประเทศ
มาตราส่ วนแผนที่
(Map scale) =
ระยะทางบนแผนที่(Map Distance)
ระยะทางในภูมิประเทศ(Ground Distance)
หรือ Scale
=
เช่ น
=
1:50000 หรือ
M.D
G.D
1
50,000
การบอกมาตราส่ วนแผนที่
1. มาตราส่ วนเศษส่ วน(Representative Fraction หรือ Fraction Scale
หรือ Numerical Scale ใช้ ตัวย่อ R.F.)
2. มาตราส่ วนคาพูด(Verbal Scale)
3. มาตราส่ วนรู ปภาพหรือมาตราส่ วนเส้ นบรรทัด(Graphic Scale)
2. คาอธิบายสั ญลักษณ์ (Legend)
ประกอบด้ วยตัวอย่ างของสั ญลักษณ์ ที่ใช้ แทนรายละเอียดที่ปรากฏภายในขอบ
ระวางของแผนที่น้ัน พร้ อมทั้งคาอธิบายและความหมายของสั ญลักษณ์
3. ศัพทานุกรม (Glossary)
เป็ นส่ วนที่ผู้ผลิตแผนที่แสดงไว้ เพื่อให้ ผู้ใช้ แผนที่ (โดยเฉพาะชาวต่ างประเทศ)
เข้ าใจความหมายของคาทีใ่ ช้ ในแผนที่ ตัวอย่ าง เช่ น
4. ระบบบ่ งบอกระวาง (Sheet identification system)
การผลิตแผนทีแ่ สดงลักษณะภูมปิ ระเทศในโครงการ
ใหญ่ เช่ น การผลิตแผนทีแ่ สดงลักษณะภูมปิ ระเทศของ
ประเทศไทย ต้ องผลิตแผนทีใ่ ห้ คลุมพืน้ ทีบ่ ริเวณกว้ างใหญ่
จานวนแผนที่ที่ต้องทาการผลิตจึงมีหลายระวาง ดังนั้น
เพือ่ ความสะดวกในการจัดเก็บแผนทีแ่ ละเรียกใช้ จึงมีความ
จาเป็ นต้ องคิดระบบบ่ งบอกระวางขึน้ มา ซึ่งประกอบด้ วย
4.1 ชื่อชุดและมาตราส่ วน(Series name and scale)
ในการผลิ ต แผนที่ ซึ่ ง ท าการผลิ ต ครอบคลุ ม
พืน้ ที่เป็ นบริเวณกว้ าง เช่ น ครอบคลุมทั้งประเทศ ภูมิภาค
หรื อทวีป แผนที่น้ันอาจมีมาตราส่ วนเดียวกัน ใช้ ใน
จุดประสงค์ เดียวกัน ดังนั้น การกาหนดชื่อชุ ดจะช่ วยจากัด
บริเวณที่แผนที่ครอบคลุมอยู่ ตัวอย่ างเช่ น ประเทศไทย
1:50,000 ชื่ อชุ ดและมาตราส่ วนนี้จะปรากฏอยู่มุมบน
ด้ านซ้ ายของระวาง
4.2 ชื่อระวาง(Sheet name)
ชื่อระวางของแผนที่จะปรากฏอยู่ตรงกลางด้ านบนของ
ขอบระวาง ตามปกติแล้ วการตั้งชื่อระวาง นิยมตั้งชื่ อตาม
ลักษณะที่เด่ นของภูมิประเทศ หรือลักษณะเด่ นที่มนุษย์ สร้ าง
ขึน้ ที่ปรากฏบนแผนที่แผ่ นนั้น เช่ น ดอยอ่ างขาง อาเภอบ้ าน
โฮ่ ง เป็ นต้ น
4.3 ลาดับชุด(Series number)
ลาดับชุ ดจะปรากฏอยู่มุมขวาด้ านบนและมุมซ้ ายด้ านล่ างของขอบระวาง การกาหนด
ลาดับชุ ด มีสาเหตุในการกาหนด คือ ในพืน้ ที่บริเวณหนึ่งๆ อาจมีการผลิตแผนที่ขึน้ หลายชุ ด ที่มี
ขนาดของแผ่นระวางหรือมาตราส่ วนทีแ่ ตกต่ างกัน การกาหนดชื่อชุ ดจะทาให้ ผ้ ูใช้ แผนที่ทราบได้
ว่ าเป็ นแผนทีช่ ุ ดใด ประกอบด้ วยตัวอักษรและตัวเลข L 7018 มีความหมายดังนี้
L แทน Regional Area หรือ Sub-Regional Area จะใช้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ L เป็ นภูมิภาคที่
ครอบคลุมประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย จีน ไต้ หวัน เกาหลี และญี่ปุ่น
7 แทน มาตราส่ วน(ระหว่าง 1:70,00 ถึง 1:35,000)
0 แทน บริเวณที่แบ่ ง L เป็ นภูมิภาคย่อย(Sub-Regional Area) คือบริเวณ ประเทศไทย ลาว
กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และจีน
18 แทน เลขลาดับที่การทาชุ ดแผนที่ที่มีมาตราส่ วนเดียวกัน และ อยู่ในพืน้ ที่ภูมิภาค L
เดียวกัน ประเทศไทย ตรงกับลาดับชุ ดที่ 18
4.4 เลขหมายแผ่ นระวาง(Sheet number)
เลขหมายแผ่นระวางเป็ นเลขหมายอ้างอิง เพือ่ ความสะดวกในการเก็บรักษา จัด
ระเบียบหรือแจกจ่ าย สาหรับแผนทีม่ าตราส่ วน 1:50,000 ได้ กาหนดเลขหมายแผ่นระวาง
เป็ นตัวเลข 4 ตัว และต่ อท้ ายด้ วยเลขโรมัน เช่ น sheet 4745 I sheet 5136 IV เป็ นต้ น เลข
โรมันจะมีต้ังแต่ I-IV เท่ านั้น เลขหมายแผ่ นระวางจะแสดงไว้ ตรงมุมขวา ด้ านบนและ
มุมซ้ ายด้ านล่ างของขอบระวาง ส่ วนแผนที่ตามเลขหมายแผ่ นระวางจะคลุมบริเวณใดก็ดูได้
จากสารบาญแผนที(่ map index)
5. บันทึกต่ างๆ(Note)
คือ หลักฐานข้ อมูลต่ างๆ ทีใ่ ช้ ในการทาแผนที่ มีดงั นี้
*ช่ วงต่ างเส้ นชั้นความสู ง 20 เมตร (Contour Interval 20 Meters)
*บันทึกการใช้ ค่ารู ปทรงสั ณฐาน(Spheroid)
*กริด (Grid) เป็ นระบบอ้ างอิงในทางราบ
*เส้ นโครงแผนที่(Projection) บอกให้ ทราบว่ าแผนที่ L 7018 มาตราส่ วน 1:50,000 เส้ นโครงแผน
ทีช่ นิดทรานสเวอร์ สเมอร์ เคเตอร์ (Transverse Mercator) จะแสดงอยู่ทขี่ อบระวางใต้ สเฟี ยรอยด์
*บันทึกหลักฐานทางอ้ างอิง (Datum Note) เป็ นระบบหลักฐานที่ใช้ อ้างอิงในการกาหนดค่ าทาง
แนวยืนและแนวนอน เพือ่ ใช้ เป็ นจุดบังคับทางความสู งและควบคุมตาแหน่ งบนแผนที่
*หลักฐานทางแนวยืน (Vertical Datum)
*หลักฐานทางแนวนอน (Horizontal Datum)
*กาหนดจุดควบคุมโดย (Control By)
* สารวจชื่อโดย (Names Data By)
* แผนทีน่ ีจ้ ัดทาและพิมพ์โดย (Prepared and Printed By)
*พิมพ์เมือ่ (Date) วัน เดือน ปี ทีจ่ ัดพิมพ์
*บันทึกเกีย่ วกับเส้ นแบ่ งอาณาเขต(Boundary Note)
*หมายเหตุให้ ผู้ใช้ ทราบ (User Note) บอกให้ ผ้ ูใช้ ได้ กรุ ณาแจ้ งข้ อแก้ ไขและความเห็นในอันที่จะให้
ประโยชน์ ของแผนทีร่ ะวางนีไ้ ปยังกรมแผนทีท่ หาร จะปรากฏทีม่ ุมขวาตอนล่ างสุ ด
6. แผนผังและสารบัญต่ างๆ (Diagram and Index)
* แผนภาพที่แสดงให้ ทราบถึงค่ า มุมเบี่ยงเบนของ
แนวทิศเหนือจริง แนวทิศเหนือกริด และแนวทิศ
เหนือแม่ เหล็ก ณ บริ เวณศู นย์ กลางของแผนที่
ระวาง แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างทิศเหนือ 3 ทิศ
สารบัญแสดงแนวแบ่ งเขต
การปกครอง(Boundaries)
คาแนะนาเกีย่ วกับระดับความสู ง
(Elevation Guide)
สารบาญระวางติดต่ อ
(Adjoining Sheets)
7. คาแนะนาในการใช้ ค่ากริด (Grid Reference Box)
8. หมายเลขสิ่ งอุปกรณ์ (Stock NO.)
แสดงที่ขอบระวางด้ านล่ างสุ ด ทางมุ ม ขวาแสดงหมายเลข
อุปกรณ์ ซึ่งเป็ นเครื่องบ่ งให้ ทราบถึงชนิดของแผนที่ต่างๆ ใน
ระบบการส่ งกาลังและเพือ่ ความมุ่งหมายในการเบิกแผนที่
องค์ ประกอบภายในขอบระวางแผนที่
องค์ ประกอบภายในขอบระวางแผนที่
หมายถึ ง
รายละเอียดต่ างๆ ที่แสดงไว้ ภายในกรอบซึ่งล้ อมรอบด้ วยเส้ น
ขอบระวางแผนที่ ตามปกติแ ล้ วจะประกอบด้ วยรายละเอีย ด
ต่ างๆ ดังนี้
1. สั ญลักษณ์ (Symbol)
2. สี (Color)
3. ชื่อภูมศิ าสตร์ (Geographical names)
4. ระบบอ้ างอิงในการกาหนดตาแหน่ ง
(Position Reference System)
1. สั ญลักษณ์ (Symbol)
ได้ แก่ เครื่องหมายซึ่งใช้ แทนรายละเอียดที่ปรากฏอยู่บนพืน้ ภูมิ
ประเทศ
การก าหนดรู ป แบบของสั ญ ลัก ษณ์ ต้ อ งยึด ถือ หลัก ว่ า
สั ญลักษณ์ ต้องเป็ นแบบเรียบๆ ชัดเจน ขนาดพอเหมาะกับมาตราส่ วน
ของแผนที่
สั ญลักษณ์ มีหลายชนิด แบ่ งออกเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ดงั นี้
*ประเภทใช้ แทนแหล่ งนา้ เช่ น แม่ นา้ ลาคลอง หนอง บึง
*ประเภทใช้ แทนสิ่ งที่มนุษย์ สร้ างขึน้ เช่ น อาคาร บ้ านเรือน
ถนน ทางรถไฟ
*ประเภทใช้ แทนลักษณะความสู งตา่ ของพืน้ ผิวภูมิประเทศ
*ประเภทใช้ แทนพืชพันธุ์ไม้ ต่างๆ เช่ น นา สวน และลักษณะ
ของป่ าชนิดต่ างๆ
2. สี (Color)
สี ที่ใช้ภายในขอบระวางจะเป็ นสี ของสัญลักษณ์ที่ใช้แทนรายละเอียดของแผนที่ แผนที่
แสดงลักษณะภูมิประเทศมีสีของสัญลักษณ์อยู่ 4 สี และสี น้ นั สอดคล้องกับรายละเอียดที่ใช้
สัญลักษณ์น้ นั ๆ แทน ตัวอย่าง
สี แดง ใช้แทน ถนนสายหลัก พื้นที่ยา่ นชุมชนหนาแน่น บางแห่ งแสดงไว้ให้ทราบ
เป็ นพื้นที่หว้ งห้าม หรื ออันตราย
สี ดา ใช้แทน รายละเอี ยดที่ สาคัญทางวัฒนธรรมหรื อสิ่ งที่ มนุ ษย์สร้ างขึ้ น เช่ น
หมู่บา้ น ทางรถไฟ อาคาร สุ สาน วัด สถานที่ราชการต่างๆ เป็ นต้น
สี นา้ เงิน ใช้แทน สักษณะภูมิประเทศที่เป็ นน้ า เช่น ทะเล แม่นา หนอง บึง เป็ น
ต้น
สี เขียว ใช้แทน พืชพันธุ์ไม้ต่างๆ เช่น ป่ า สวน ไร่
สี นา้ ตาล ใช้แทน ลักษณะ ภูมิประเทศที่มีความสู งโดยทัว่ ไป เช่น เส้นชั้นความสูง
3. ชื่อภูมศิ าสตร์ (Geographical names)
เป็ นตัวอักษรที่กากับรายละเอียดต่ างๆ เพือ่ บอกให้ ทราบว่ า สถานทีน่ ้ันหรือสิ่ งนั้น มีชื่อว่ าอะไร
4. ระบบอ้ างอิงในการกาหนดตาแหน่ ง (Position reference system)
คือ เส้นหรื อตารางที่แสดงไว้ในแผ่นระวาง เพื่อใช้ในการกาหนดค่า
พิกดั ของตาแหน่งใดๆ บนแผนที่ระวางนั้น ระบบอ้างอิงในการกาหนด
ตาแหน่งที่ใช้โดยทัว่ ไป มีอยู่ 2 ชนิด คือ
ก. พิกดั ภูมศิ าสตร์ (Geographic co-ordinate)
ได้ แก่ เส้ นละติจูด(latitude) และเส้ นลองจิจูด(longitude) ซึ่งจะแสดงให้
เห็นเป็ นเส้ นยาวแทนขอบระวางภายในของแผนที่ โดยมีตัวเลขแสดงค่ า
กากับไว้ ด้วย
ข. พิกดั กริด (Grid co-ordinate)
เป็ นหมู่ของเส้ นขนาน 2 ชุ ดที่มีระยะห่ างเท่ าๆ กัน ตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลีย่ ม
มุมฉาก แต่ ละเส้ นของหมู่เส้ นขนานจะมีตวั เลขแสดงค่ ากากับด้ วย
ระบบอ้างอิงในการกาหนด
ตาแหน่ งบนแผนที่
(Position)
ระบบพิกดั ภูมศิ าสตร์ (GeographicCoordinate)
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ เป็ นระบบอ้ างอิงค่ าเส้ น Longitude
และค่ าเส้ น Latitude ค่ าของเส้ นทั้งสองนีม้ ีหน่ วยเป็ น
Longitude
Latitude
ระบบพิกัดภูมศิ าสตร์ (Geographic co-ordinate)
ข น า ด ร ะ ว า ง ข อ ง แ ผ น ที่
1:50,000 จะมี ข นาดเท่ า กั บ
15 x 15 ลิปดา อ่ านออกมา
เ ป็ น ค่ า ล ะ ติ จู ด แ ล ะ ค่ า
ลองจิ จู ด โดยใช้ ก ารแบ่ ง ทั้ ง
แนวตั้ ง และแนวนอน เป็ น
อย่ า งละ 15 ส่ วน ค่ า พิ กั ด ที่
อ่ านได้ จะมี ค วามละเอี ย ด
เท่ ากับ 1 ลิปดา
ระบบพิกดั กริด (Grid coordinate)หรือระบบพิกดั UTM (Universal Transvers Mercator
พิกดั ภูมศิ าสตร์ และพิกดั UTM ต่ างกันอย่ างไร
- พิกัดภูมิศาสตร์ คือพิกัดที่สาหรับอ้ างอิงตาแหน่ งที่กว้ างไกล แต่
พิกัด UTM ใช้ สาหรั บอ้ างอิงตาแหน่ งที่ไม่ กว้ างไกลนัก เพราะพิกัด UTM
เป็ นพิกัดบนพืน้ ราบ ถ้ าพืน้ ที่กว้ างมากจะเกิดข้ อผิดพลาดทางตาแหน่ ง จึง
จาเป็ นต้ องมีการเปลีย่ น ZONE ฉะนั้นในกองทัพอากาศและกองทัพเรือจึงใช้
ระบบพิกัด ภู มิ ศาสตร์ เพราะพื้นที่ป ฏิบัติก ารกว้ างและไกลมาก ขณะที่
กองทัพบกใช้ ระบบ UTM เพราะพืน้ ที่ปฏิบัติการไม่ กว้ างไกลมากนัก
การหาตาแหน่ งของสถานที่บนพืน้ โลก
วิธีการอ่ านพิกดั กริด (UTM)
บนแผนที่ Topographic Map
วิธีการอ่านพิกดั กริดบนแผนที่
ค่าพิกดั ที่จุด A ในแผนที่ 1:50,000 มีขนั้ ตอนดังนี้
พิกดั แนวนอน (X)
= 797000 +
2 ซ.ม.
2 ซ.ม.
0.68/21000
= 797340 E
0.68 ซ.ม.
พิกดั แนวตัง้ (Y)
1.38 ซ.ม.
= 1605000 +
1.38/21000
= 1605690 N
.A
วิธีการอ่านพิกดั กริดบนแผนที่
ดังนัน้ จุดพิกดั ที่ได้คอื
Zone = 47P UTM X = 797340 E UTMY = 1605690 N
ค่าพิกดั แบบย่อจะมีค่าเท่ากับ
47PQS973056
Sheet 5338 II
QS RS
QS|RS
800
A
800
47P
.
WGS84 คืออะไร
- เนื่องจาก แต่ละประเทศหรือแต่ละภูมิภาคภายในโลกเรา
นี้ ใช้ลูกโลกสมมุติ(ellipsoid)แทนลูกโลกจริงไม่เหมือนกัน ทาให้
เกิดปั ญหาเวลานาแผนที่มาต่อกัน สหรัฐอเมริกาเลยเป็ นผูน้ าให้ทว่ั
โลกใช้ลูกโลกสมมุ ติ ตวั เดียวกัน คือลูกโลกสมมุ ติท่ีช่ือว่ า WGS84
คือลูกโลกสมมุติท่ีได้มาจากการสารวจด้วยดาวเทียมฉะนัน้ แผนที่
ของโลกเราก็ใช้ระบบเดียวกัน ไม่มีปัญหาเรื่องการเชือ่ มต่อกัน และ
ค่าพิกดั ที่ได้จากการสารวจด้วย GPS ก็ใช้ WGS84
ข้อควรระวังในการใช้ GPS
- ทุกครัง้ ก่อนใช้งานเครื่อง GPS ในสนาม ควรอ่านค่าจาก GPS
และเทียบตาแหน่งกับแผนที่ภมู ิประเทศมาตราส่วน 1:50,000
- ก่อนอ่านค่าพิกดั ควรให้เครื่อง GPS รับสัญญาณนานเพียง
พอที่จะมีความคลาดเคลือ่ นอยู่ในเกณฑ์ท่ียอมรับได้
- ตรวจสอบระบบพิกดั อ้างอิงของเครื่อง ซึ่งควรตัง้ เป็ น WGS84
เพื่ อ ให้พิ ก ัด ที่ ไ ด้ต รงกับ แผนที่ ภู มิ ป ระเทศมาตราส่ ว น
1:50,000 ลาดับชุด L7018