เวลามาตรฐาน (Standard Time)

Download Report

Transcript เวลามาตรฐาน (Standard Time)

World Time
อาจารย์สอง Satit UP
TIME
&
Longitude
เวลามาตรฐาน
(Standard Time)
เวลามาตรฐาน (Standard Time)
ความเป็ นมา
ความริเริ่มเกี่ยวกับเวลามาตรฐานประจาถิ่นเริ่มมาตัง้ แต่ ศตวรรษที่
19 เพื่อขจัดความสับสนเนื่ องจากการจับเวลาตามแสงอาทิตย์ การ
กาหนดเวลามาตรฐานท้องถิ่นจึงจาเป็ นมากขึ้นเมื่อมีการเดินรถไฟขึ้น ในปี
พ.ศ. 2383 ได้มีการใช้เวลามาตรฐานครัง้ แรกในประเทศอังกฤษ โดยทัง้
ประเทศใช้เวลามาตรฐานที่เมืองกรีนีช (Greenwich) ต่อมา เซอร์ แซน
ฟอร์ด เฟรมมิง นักวางแผน และวิศวกรรถไฟชาวแคนาดา ได้เป็ นผูร้ เิ ริ่ม
ความคิดที่มีการใช้เวลามาตรฐานไปทัว่ โลก
เวลามาตรฐาน ( Standard Time )
ถ้าทุกแห่งใช้เวลาท้องถิ่น จะเกิดความสับสนสาหรับผู ้
ที่ท่องเที่ยวจากแห่งหนึ่ งไปยังอีกแห่งหนึ่ งและสาหรับกิจการ
อืน่ ๆ อีกหลายอย่าง รวมทัง้ เรื่องที่เกี่ยวกับการส่งรับวิทยุ
โทรทัศน์และการสือ่ สาร
ประเทศอังกฤษทัง้ ประเทศใช้เวลาของเมริเดียนกรีนิช
ประเทศฝรัง่ เศสแต่ก่อนเคยใช้เวลาของเมริ-เดียนปารีส แต่
ได้เปลี่ยนมาใช้เวลาของกรีนิชตัง้ แต่พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911)
เวลามาตรฐาน ( Standard Time )
การใช้เวลามาตรฐาน (Standard Time) ของแต่ละประเทศ โดยเทียบกับเวลา
มาตรฐานโลก (Universal Time Co-ordinated หรือ UTC) นั้นใช้กฎเกณฑ์พ้ นื ฐานที่
ได้จากการประชุมนานาชาติ International Prime Meridian Conference ณ กรุง
วอชิงตัน ดี ซี เมื่อ 1 พฤศจิกายน 1884 โดยมี 25 ประเทศเข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้มี
ข้อตกลงให้ แบ่งโลกตามแนวเส้นแวงออกเป็ น 24 โซนเท่าๆ กัน แต่ละโซนมีค่า 15 องศา
ทัง้ ในทางทิศตะวันตกและตะวันออก และมีค่าเท่ากับ 1 ชัว่ โมงห่างจากโซนที่ตดิ กัน และ
เส้น 0 องศาจะผ่านที่เมืองกรีนีช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ โดยมีเส้นแบ่งวัน
(International Date Line) อยู่ท่ี 180 องศา ทัง้ นี้ ประเทศต่างๆ ได้รบั เอาแนวคิดนี้
โดยใช้เส้นแวงที่แบ่งโลกออกเป็ นสองส่วนเป็ นตัวกาหนดเวลาว่า เวลามาตรฐานประจาถิ่น
เร็วกว่าหรือช้ากว่าเวลามาตรฐานโลก ที่เมืองกรีนีช ประเทศอังกฤษ เท่าไร แต่อย่างไรก็ดีก็
มีการกาหนดเวลาท้องถิ่น และเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของประเทศต่างๆ ทัง้ นี้สทิ ธิการ
กาหนดเวลามาตรฐานประจาถิ่นยังเป็นของประเทศนั้นๆ
เวลามาตรฐาน (Standard Time)
สาหรับประเทศไทยนั้นกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ
เป็ นผูค้ วบคุมเวลามาตรฐานของประเทศไทย และการ
เปลีย่ นแปลงแก้ไขเวลาให้เที่ยงตรงในแต่ละปี กจ็ ะมีการ
ประสานงาน กับสถาบันนานาชาติเกี่ยวกับน้ าหนักและการวัด
(International Bureau of Weighs and Measurement
หรือ BIPM) กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส ปัจจุบนั ประเทศไทยได้
กาหนดเวลามาตรฐานของประเทศเป็ น UTC + 7 (เร็วกว่าเวลา
มาตรฐานโลก 7 ชัว่ โมง)
เวลามาตรฐานของประเทศ
ปัจจุบนั ประเทศไทยได้
กาหนดเวลามาตรฐานของประเทศ
เป็ น UTC + 7 หรือ GMT+7 (เร็ว
กว่าเวลามาตรฐานโลก 7 ชัว่ โมง)
โดยใช้เส้นลองจิจูดที่ 105˚E ซึ่งลาก
ผ่านจังหวัดอุบลราชธานี ของไทยเป็ น
เส้นอ้างอิงเวลาเทียบกับเวลาที่กรีนีช
ซึ่งจะทาให้มีเวลาเร็วกว่าเวลา
มาตรฐานที่กรีนิช 7 ชัว่ โมงพอดี
Longitude 105˚E
ปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) - ได้มีการประชุมสภาสากลอุทก
นิ ยม ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เพือ่ แบ่งภาคเวลา
โดยกาหนดให้ตาบลกรีนิช เป็ นจุดแรกของการกาเนิ ดเวลา
ประเทศไทยจึงได้มีการกาหนดเวลามาตรฐานใหม่ จากเส้น
แวงที่ 100 องศาตะวันออก ซึ่งพาดผ่านพระบรมมหาราชวัง
มาเป็ นเส้นแวงที่ 105 องศาตะวันออก
1 เม.ย. 2463(ค.ศ. 1920) - พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 6 ได้ทรงออกพระราชกฤษฎีกาให้ใช้อตั รา
เวลาทัว่ ราชอาณาจักรไทย เป็ น 7 ชัว่ โมงก่อนเวลาที่ตาบล
กรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
Longitude 105˚E
ปี พ.ศ. 2400 (ค.ศ. 1857) - ประเทศไทยมีเวลามาตรฐานเป็ น
ของตัวเอง คือ เวลามาตรฐานกรุงเทพปานกลาง หรือที่เรียกว่า
Bangkok mean time ซึ่งเป็ นเวลาที่เร็วกว่าที่กรีนิช 6
ชัว่ โมง 42 นาที
Longitude 100˚E
เวลามาตรฐานของประเทศ
การเปลี่ยนแปลงเวลามาตรฐาน (Standard Time)
เนื่ องจากการกาหนดเวลามาตรฐานของแต่ละประเทศนั้น
เป็ นสิทธิของแต่ประเทศ
การเปลี่ยนแปลงส่วนมากก็จะมีสาเหตุหลายอย่างแต่
โดยทัว่ ไปแล้วมักเป็ นเหตุผลทางด้านพาณิ ชย์เป็ นส่วนใหญ่
การเปลี่ยนแปลงเวลามาตรฐาน (Standard Time)
Venezuela
เมื่อ 9 ธ.ค. 2007 เวเนซูเอ
ลาได้เริ่มปรับเปลี่ยนเวลาช้าลงจากเดิมครึ่ง
ชัว่ โมง โดยประธานาธิบดีฮโู ก ชาเวซ อ้างเพื่อ
ช่วยให้ทางานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เด็ก
นักเรียนกระฉับกระเฉงความจาดีเพราะได้ต่นื
แต่เช้า แต่ประชาชนไม่เห็นด้วยเพราะเห็นว่า
ไม่เกิดประโยชน์ใดๆ
Russia
Jordan ได้เปลี่ยนเวลามาตรฐาน
ของตนจาก UTC+2 ชัว่ โมงมาเป็ น
UTC+3 ชัว่ โมง เร็วกว่าเดิม 1 ชัว่ โมง
ตัง้ แต่ 1 กรกฎาคม 1999
Nepal ที่เปลี่ยนจาก UTC+5.40 มาเป็ น UTC+ 5.45
เร็วขึ้นจากเดิม 5 นาที
เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาตาบล
( Local Time / Local Mean Time )
เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
เวลาท้องถิ่นที่บริเวณใด เป็ นเวลาซึ่งดวงอาทิตย์ช้ ีบอกที่
เมอริเดียนนั้น เวลาชนิ ดนี้ จงึ แตกต่างกันตามลองจิจูดที่ต่างกัน
บนผิวโลก ต่างกัน 1 ชัว่ โมงเท่ากับ ลองจิจูดต่างกัน 15 องศา
หรือ 4 นาทีสาหรับทุกๆ 1 องศาลองจิจูด ความต่างระหว่างเวลา
ท้องถิ่นกับเวลาที่ลองจิจูด 0 องศา ซึ่งผ่านกรีนิชขณะเดียวกัน
เท่ากับความต่างของลองจิจูดที่ทอ้ งถิ่นกับกรีนิช
เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาตาบล (Local Mean Time) คือ เวลาจริง ณ
ตาบล หรือ ท้องถิ่นที่ตง้ั ของเมือง ที่อาจมีผลต่างจากเวลานาฬกิ ามาตรฐานที่
กาหนดไว้กบั นานาประเทศ หรือ เวลานาฬกิ าของประเทศนั้น ๆ จะยกตัวอย่าง
ให้เห็นง่าย ๆ ประเทศไทยของเรานั้น ตัง้ เวลามาตรฐานนาฬกิ าสากล หรือ
เวลาที่ใช้ตรงกันทัว่ ประเทศไว้ท่เี ส้น 105 องศา ตะวันออก ซึ่งเป็ นเส้นแวง ที่
ลากผ่านตาบลหนึ่ ง ในจังหวัดอุบลราชธานี อันเป็ นจังหวัดที่อยู่ทางภาคอีสาน
ของประเทศไทย
เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
เมื่อเวลานาฬกิ าที่เราใช้ บอกเวลา 12.00 น. หรือ เที่ยงวันตรง นัน่
หมายความว่า เวลาดังกล่าวนี้ เป็ นเวลาเที่ยงวันตรงจริง ๆ ของ ตาบลดังกล่าว
ในจังหวัดอุบลราชธานี เท่านั้น แต่เมื่อท่านอยู่ท่กี รุงเทพมหานคร ซึ่งตัง้ อยู่หา่ ง
จากจังหวัดอุบลราชธานี หรือ เส้นมาตรฐานเวลา หลายร้อยกิโลเมตร มาทาง
ทิศตะวันตก เราจะเหมาเอาว่า เวลาเที่ยงตรงของนาฬกิ าที่จงั หวัดอุบลราชธานี
นั้น เป็ นเวลาเที่ยงตรงจริง ๆ ของกรุงเทพฯ ซึ่งหากคิดเช่นนั้น ถ้าจะให้เป็ น
เวลาเที่ยงตรงจริง ๆ ของกรุงเทพ ฯ ก็ตอ้ งให้เป็ นเวลานาฬกิ า 12.18 น.
(เพราะตัง้ อยูท่ ่เี ส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก) เพราะซีกโลกตะวันออก เมือง
หรือประเทศที่อยู่ทางด้านขวามือในแผนที่ ย่อมเห็นพระอาทิตย์ข้ ึน
ก่อน
เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
ที่เราทราบว่า เวลา 12.18 น. เป็ นเวลาเที่ยงตรงจริง หรือ เวลา
ท้องถิ่น ของกรุงทพฯ ที่ต่างจากเวลาท้องถิ่นของอุบลราชธานี ถึง 18 นาที นั้น
เพราะเราทราบว่า กรุงเทพมหานคร ตัง้ อยู่ท่ี เส้นลองติจูด 100.5 องศา
ตะวันออก ต่างจากเส้นเวลามาตรฐานนาฬกิ าของประเทศไทย ที่ 105 องศา
ตะวันออก ถึง 4 องศา ครึ่ง เมื่อเราทราบดังนี้ แล้ว เราก็เอา 4 องศาครึ่งนี้
แปลงให้เป็ น นาที
1 องศา นั้น เท่ากับ 4 นาที
ดังนั้น 4 องศาครึ่ง จึงเท่ากับ 18 นาที
ห่างกัน 4.5 องศา (18 นาที)
ห่างกัน 8 องศา (32 นาที)
แม่ฮอ่ งสอน
เวลาท้องถิ่น
( Local Time )
หากคานวณ
ตามละติจูดจริง
Longitude 100˚.5 E
11.28 น
กรุงเทพฯ
11.42 น
อุบลราชธานี
Longitude 105˚E
Longitude 97˚E
12.00 น