การสำรวจทางทะเล

Download Report

Transcript การสำรวจทางทะเล

การสารวจทางทะเล
การสารวจทางทะเลของยุโรปเริ่มต้นเมือ่ ค.ศ. 1450-1750
ซึ่งเกิดจากความต้องการพัฒนาเส้นทางติดต่อทางทะเลระหว่างยุโรป
กับเอเชีย ทาให้คน้ พบเส้นทางใหม่ๆ ซึ่งยังไม่เป็ นที่รจู้ กั มาก่อน และทา
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประวัตศิ าสตร์ของมนุษยชาติอย่างกว้างขวาง
กล่าวได้ว่า การฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการเป็ นพื้นฐานสาคัญที่ทาให้
เกิดการสารวจทางทะเล ซึ่งเป็ นผลให้ยโุ รปเผยแพร่วฒ
ั นธรรมของตน
ไปยังภูมภิ าคอื่นๆ ของโลกได้
ปัจจัยส่งเสริมการสารวจทางทะเล
1. การแสวงหาเส้นทางการค้าใหม่
เนือ่ งจากมุสลิมยึดครองกรุงคอนสแตนติโนเปิ ลและดินแดน
จักรวรรดิไบแซนไทน์ ในปี ค.ศ. 1453 นัน้ ทาให้เส้นทางการค้าทาง
บกระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกหยุดชะงัก จึงจาเป็ นต้องมี
การสารวจเส้นทางการค้าทางทะเลใหม่ เพื่อนาสินค้าจากตะวันออก
มาขายยังยุโรป
2. แรงผลักดันทางด้านศาสนา
เนือ่ งจากความคิดของผูน้ าชาติตา่ งๆ เห็นว่าการเผยแผ่คริสต์
ศาสนาเป็ นกุศลอย่างมาก รวมทัง้ ต้องการแข่งขันกับชาวมุสลิมที่เข้า
มาขยายอิทธิพลอยู่ในขณะนัน้ ด้วย จึงมีการค้นหาดินแดนใหม่ๆ และ
เผยแผ่คริสต์ศาสนาไปพร้อมกัน
ปัจจัยส่งเสริมการสารวจทางทะเล
3. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเดินเรือ
เช่น ความรูท้ างภูมศิ าสตร์และแผนที่ของปโตเลมี (Ptolemy) การ
ทาเข็มทิศ เทคโนโลยีการต่อเรือ และการประดิษฐ์ปืนใหญ่ ความรู้
เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ และการคานวณ
4. ระบบเศรษฐกิจของย ุโรปมีการพัฒนาแบบเสรีนิยม
มีการใช้ระบบเงินตราแบบมาตรฐาน ระบบธนาคาร การค้า
ระหว่างประเทศ
แผนที่โลกของปโตเลมี
สาเหต ุของการสารวจทางทะเล
5. อิทธิพลของแนวคิดในสมัยฟ้ ื นฟูศิลปวิทยาการ
แนวคิดนีท้ าให้ชาวยุโรปมุง่ หวังที่จะสร้างชือ่ เสียงเกียรติยศและ
ความต้องการที่จะเสี่ยงโชคเพื่อชีวิตที่ดกี ว่า เช่น แนวคิดมนุษยนิยม
แนวคิดเกี่ยวกับโลก และความสนใจในโลกตะวันออก
6. ประชากรในย ุโรปมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
โปรต ุเกส
เป็ นชาติแรกที่เริ่มสารวจทางทะเล และประสบความสาเร็จใน
การกาจัดอานาจของมุสลิม ยึดครองดินแดนแถบแอฟริกาตะวันตก
อเมริกาใต้ อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มะละกา ซึ่งเป็ นชุมทาง
เรือสินค้าที่มาจากจีน ญี่ปุ่น และหมูเ่ กาะเครื่องเทศหรือโมลุกกะ
ตลอดจนเรือจากอาหรับ อียิปต์
การยึดครองดินแดนแถบนี้ ทาให้โปรตุเกสผูกขาดการค้า
เครื่องเทศ ซึ่งสร้างความมัง่ คัง่ อย่างมหาศาลให้ประเทศ
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
โปรต ุเกส
เจ้าชายเฮนรี นาวิกราช (Henry the
Navigator)
พระราชโอรสของพระเจ้าจอห์นที่ 1
แห่งโปรตุเกส ทรงตัง้ โรงเรียนนาวีขนึ้ ที่
แหลมซาเกรส ให้เป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้
วิทยาการสมัยใหม่ของการเดินเรือ
เจ้าชายเฮนรี นาวิกราช
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
โปรต ุเกส
บาร์โธโลมิว ไดแอส (Bartholomeu Diaz)
สามารถเดินเรือเลียบชายฝั ง่ ทวีป
แอฟริกาผ่านแหลมกูด๊ โฮป (Cape of Good
Hope) ได้สาเร็จในปี ค.ศ. 1488
บาร์โธโลมิว ไดแอส
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
โปรต ุเกส
วัสโก ดา กามา (Vasco da Gama)
เล่นเรือตามเส้นทางสารวจโลกของ
ไดแอสจนถึงทวีปเอเชีย และสามารถขึน้
ชายฝั ง่ ที่เมืองกาลิกตั (Calicut) ของ
อินเดียได้เมือ่ ปี ค.ศ. 1498 ต่อมาชาว
โปรตุเกสสามารถยึดเมืองกัว (Goa) ใน
มหาสมุทรอินเดียได้
วัสโก ดา กามา
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
สเปน
เข้าครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาทัง้ เหนือ
และใต้ (ยกเว้นบราซิล) หมูเ่ กาะในทะเลแคริเบียน ฟิลิปปินส์ ซึ่ง
มีแร่ทองคา และแร่เงินอยูม่ ากในอเมริกา ทาให้สเปนกลายเป็น
จักรวรรดิที่ยงิ่ ใหญ่ และมีความมัง่ คัง่ ที่ส ุดในขณะนัน้
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
สเปน
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Cristopher Columbus)
มีค วามเชื่อ ว่ า โลกกลม ได้เ ดิน ทาง
ข้า มมหาสมุท รแอตแลนติก เพื่ อ สารวจ
เส้น ทางไปประเทศจี น แต่ ไ ด้ค ้น พบหมู่
เกาะเวสต์อินดีสซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของทวีป
อเมริกาใต้โดยบังเอิญในค.ศ. 1492 และ
เข้า ใจผิด ว่ า เป็ นชายฝั ่ง ทะเลของอิ น เดี ย
ท าให้ส เปนได้ค รองดิ น แดนส่ ว นใหญ่ ที่
อุดมด้วยแร่เงินและทองคา
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
สเปน
อเมริโก เวสปุชชี (Americao Vespucci)
นั ก ส ารวจชาวอิ ต าลี ได้เ ดิ น ทาง
มายังดินแดนที่โคลัมบัสค้นพบ และพบว่า
ดินแดนแห่งนี้เป็ น โลกใหม่ ซึ่งยังไม่เป็ นที่
รูจ้ ักของชาวยุโรป ภายหลังดินแดนนี้ ถกู
เรียกว่า อเมริกา
อเมริโก เวสปุชชี่
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
สเปน
คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็ นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเล
ระหว่างโปรตุเกสกับสเปนเพื่อหาเส้นทางไปหมูเ่ กาะอีสต์อินดีส (East
Indies) ซึ่งเป็ นแหล่งเครื่องเทศและพริกไทย ในค.ศ. 1494
สันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ได้ให้สเปนและโปรตุเกสทาสนธิสญ
ั ญา
ทอร์เดซียีส (Treaty of Tordesillas) กาหนดเส้นสมมติแบ่งโลกออกเป็ น
2 ส่วน โดยสเปนมีสิทธิสารวจและยึดครองดินแดนทางตะวันตกของ
เส้นเมริเดียนที่ 51 ส่วนโปรตุเกสได้รบั สิทธิทางด้านตะวันออก
คริสต์ศตวรรษที่ 16 โปรตุเกสขยายอิทธิพลมาถึงเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ และได้เข้ายึดครองมะละกา ทาให้บริเวณคาบสมุทร
มลายูและหมูเ่ กาะอินโดนีเซียอยู่ภายใต้อิทธิพลของโปรตุเกส
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
สเปน
เฟอร์ดินนั ด์ แมกเจลเลน (Ferdinand Magellan)
นักเดินเรือชาวโปรตุเกสได้รบั การสนับสนุน
จากกษัตริยส์ เปน ได้เดินทางไปทางตะวันตกของ
มหาสมุทรแอตแลนติกผ่านช่องแคบที่ภายหลัง
ถูกตัง้ ชือ่ ว่า แมกเจลลัน ทางตอนใต้ของทวีป
อเมริกาใต้ ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวีป
เอเชีย เขาถูกฆ่าตายเมือ่ พยายามเผยแผ่คริสต์
ศาสนา แต่ลกู เรือสามารถเดินเรือกลับสเปนทาง
มหาสมุทรอินเดียได้สาเร็จในค.ศ. 1522
เฟอร์ดินนั ด์ แมกเจลเลน
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
ฮอลันดา
ฮอลันดา เคยอยู่ใต้การปกครองของสเปนและเป็ นพ่อค้าคน
กลางในการค้าเครื่องเทศ จนปี ค.ศ. 1581 ได้แยกตัวเป็ นอิสระ ทาให้
สเปนปิ ดท่าเรือลิสบอน ฮอลันดาจึงต้องหาเส้นทางทางทะเลเพื่อซื้อ
เครื่องเทศโดยตรง ในที่สดุ ก็สามารถยึดครองอานาจในทะเลในค.ศ.
1598 และก่อตัง้ สถานีการค้าในเกาะชวาและจัดตัง้ บริษทั อินเดีย
ตะวันออกของฮอลันดา เพื่อควบคุมการค้าเครื่องเทศ
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
ฮอลันดา
ค.ศ. 1605 เรือด ุฟเกน (Duyfken)
เป็ นเรือค้นหาเกาะทองคาที่เชื่อ ว่าอยู่
ทางทิศใต้และทิศตะวันออกของเกาะชวา ได้
ค้นพบทวี ปออสเตรเลียเป็ นครั้งแรก และ
เ รี ย ก ท วี ป นี้ ว่ า นิ ว ฮ อ ล แ ล น ด์ (New
Holland)
แต่ใ นคริ สต์ศ ตวรรษที่ 18
อัง กฤษได้ค รอบครองและเรี ยกทวี ปนี้ว่ า
ออสเตรเลีย (Australia)
ในภาษากรี ก
แปลว่า ดินแดนทางซีกโลกใต้
New Holland หรือทวีป
ออสเตรเลียในปัจจุบนั
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
อังกฤษ
ในค.ศ. 1588 กองทัพเรือของอังกฤษทาสงครามชนะกองทัพเรือ
อาร์มาดา (Armada) ของสเปนได้ และขยายอิทธิพลสูแ่ ดนตะวันออก และ
สามารถสลายอานาจทางทะเลของโปรตุเกสและเข้าไปมีอิทธิพลในอินเดีย
และเป็ นคู่แข่งทางการค้ากับฮอลันดา
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีเพียงอังกฤษ ฮอลันดา และฝรัง่ เศสแข่ง
กันมีอานาจทางทะเลและแสวงหาอาณานิคม มีการทาสงครามหลายครั้ง
จนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 อังกฤษกลายเป็ นประเทศที่มี
แสนยานุภาพทางทะเลเหนือกว่าทุกชาติ และได้อาณานิคมในอินเดีย
ทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปออสเตรเลียทัง้ ทวีป
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
ฝรัง่ เศส
เริม
่ สารวจทวีปอเมริกาเหนือใน
คริสต์ศตวรรษที่ 16 และยึดครองอาณานิคมใน
แคนาดาและอเมริกาเหนือ นากจากนีย้ งั มีอาณา
นิคมอีกหลายแห่งในหมูเ่ กาะเวสต์อินดีส และ
อินเดีย
พระเจ้าฟรานซิสที่ 1 (King Francis I)
ได้มคี วามสนใจที่จะออกสารวจดินแดนเพื่อ
จัดตัง้ อาณานิคม
พระเจ้าฟรานซิสที่ 1
ผลของการสารวจทางทะเล
1. อารยธรรมย ุโรปเผยแพร่ไปสูด่ ินแดนอื่นๆ ที่ชาวยโุ รป
เดินทางไปถึง เช่น ภาษา การแต่งกาย อาหาร ระบบการปกครอง
ศิลปกรรม (โบสถ์ วิหาร สถานที่ราชการ สะพาน ฯลฯ)
2. ย ุโรปได้รบั อารยธรรมจากดินแดนอื่นๆ เช่น วิทยาการ
ของชาวตะวันออก เช่น การเดินเรือ ศิลปะจีน คณิตศาสตร์ การดื่มชา
แบบจีน มันฝรัง่ จากอเมริกาใต้ กาแฟตุรกี นา้ ตาลจากบราซิล ฯลฯ
3. เกิดการแพร่กระจายของพันธพ
์ ุ ืชและพันธส์ ุ ตั ว์ เช่น
กาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูกที่เกาะชวา และอเมริกาใต้ ต้น
ยางพาราจากบราซิลมาปลูกที่อินโดนีเซีย มาเลเซีย และตอนใต้ของ
ไทย และนาสัตว์ตา่ งๆ ไปยังทวีปอื่น เช่น แกะ ไปแพร่พนั ธุท์ ี่
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ และนาลา ล่อ วัว แพะ มาเลี้ยงในอเมริกา
ฯลฯ
ผลการสารวจทางทะเล
4. เกิดการระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ เช่น โรคหัดและฝี ดาษใน
อเมริกาเหนือ ไข้เหลืองและไข้มาลาเรียในอเมริกากลางและใต้
5. ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายไปในดินแดนต่างๆ ที่ชาว
ย ุโรปเข้าไปติดต่อค้าขาย โดยบางแห่งใช้แบบสันติวิธี ในบางแห่งใช้
วิธีรนุ แรงบีบบังคับคนพื้นเมืองให้มาเข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนา
6. การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของย ุโรป การค้นพบ
ดินแดนใหม่ทาให้การค้าขยายตัวอย่างรวดเร็ว นาไปสูก่ ารปฏิวตั ทิ าง
การค้า ประเทศต่างๆ ใช้นโยบายการแข่งขันทางเศรษฐกิจเป็ นหลัก
บรรดาพ่อค้าและนายทุนรวมตัวกันจัดตัง้ บริษทั โดยมีกษัตริยใ์ ห้การ
สนับสนุนทาการค้าในนามของประเทศ