การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต

Download Report

Transcript การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต

มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป
และการนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
ภาษาต่างประเทศ
รศ. ดร. ยุพาพรรณ หุ่นจาลอง
มหาวิทยาลัยฮาวาย
30 มกราคม 2553
[email protected]
www.hawaii.edu/thai/
www.yhoonchamlong.net
1
แนะนำ CEFR
 หลักกำรและปรัชญำของ CEFR
 มำตรวัดระดับสมรรถภำพภำษำของ CEFR
 CEFR กับ หลักสู ตร กำรเรี ยนกำรสอนและ กำร
วัดผล
 Dialang

www.stc.chula.ac.th
2
แนะนำ CEFR (1)

Common European Framework of Reference for
Languages: Learning, Teaching, Assessment
กรอบอ้างอิงเกีย่ วกับการเรียนการสอนภาษาและการวัดผลภาษา
ของสหภาพยุโรป
http://www.coe.int/T/DG4/Linguistic/CADRE_EN.asp


ในปี 2001 (2544) European Union Council มีมติ
ให้ ใช้ เป็ นมาตรฐานอ้ างอิงในการรับรองระดับสมรรถภาพภาษาในประเทศ
กลุ่มสหภาพยุโรป
นับแต่ปี 2550 ภาษาที่ใช้ ในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป มีภาษาราชการของ
ประเทศต่างๆ 23 ภาษา โดย ฝรั่งเศสเป็ นภาษากลางที่ใช้ ในศูนย์กลางทาง
การเมือง 3 เมือง คือ Strasbourg, Brussels และ
Luxemberg
3
แนะนำ CEFR (2)
 CEFR เป็ นผลจำกกำรพัฒนำต่อเนื่ องมำตั้งแต่ปีค.ศ. 1957
1957: ประชุมควำมร่ วมมือระหว่ำงรัฐบำลในเรื่ องกำรสอน
ภำษำ ครั้งที่ 1
1963: เริ่ มโครงกำรวิจยั เรื่ องกำรสอนภำษำ
1975: ตีพิมพ์ขอ้ กำหนดคุณลักษณะสมรรถภำพภำษำระดับ
ต่ำงๆ (Threshold Levels)
1994: ตั้ง European Centre for Modern
Languages/Centre européen pour les langues
vivantes (ECML/CELV)
2001: ประกำศใช้ CEFR และ European Language
Portfolio (แฟ้ มผลงำนด้ำนภำษำ)
4
แนะนำ CEFR (3)


CEFR เป็ น มำตรฐำนกลำงสำหรับกลุ่มประเทศยุโรปใน
กำรจัดทำหลักสูตร (curriculum) ประมวลกำรสอน
(syllabus) รวมทั้งกำรวัดผล (assessment)
เนื้อหาของ CEFR
 ให้รำยละเอียดว่ำ ผูเ้ รี ยนภำษำต้องรู ้ และเรี ยนรู ้ อะไร ใน
กำรใช้ภำษำเพื่อกำรสื่ อสำรได้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพ ใน
บริ บทต่ำงๆรวมทั้งบริ บททำงวัฒนธรรม
 กำหนดมำตร (scale) สมรรถภำพภำษำเป็ นระดับต่ำงๆ
เพื่อให้เป็ นเป้าหมายเป็ นขั้นๆให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นำตนและ
เป็ นเกณฑ์ ในการวัดผลสัมฤทธิ์ของตน
5
แนะนำ CEFR (4)



ระดับผูใ้ ช้ภาษาขั้นต้น A
ระดับผูใ้ ช้ภาษาขั้นอิสระ B
ระดับผูใ้ ช้ภาษาระดับความสามารถขั้นสูง C
6
ACTFL Scale
7
ระดับประถม-มัธยมต้น
8
9
หลักการและปรัชญาของ CEFR (1)

สมรรถนะของผู้เรียน
10
หลักการและปรัชญาของ CEFR (2)
เน้นการปฏิบตั ิ(Action Oriented)
กิจกรรมภาษา


Reception

Interaction
ปฏิสมั พันธ์

Production
การผลิต
Mediation
การรับ
Aural
การฟัง
Visual การอ่าน
Spoken การพูด(สนทนา)
Written การเขียน(โต้ ตอบ)
Spoken การพูด(นาเสนอ)
Written การเขียน(รายงาน)
การเป็ นสื่อกลาง เช่น การล่าม การแปล
การสรุป การนามาเรียบเรียงใหม่

11
หลักการและปรัชญาของ CEFR (3)

Task (ภารกิจ): any purposeful action
considered by an individual as necessary in
order to achieve a given result in the context of
a problem to be solved, an obligation to fulfill
or an objective to be achieved. (CEFR p.10)

การกระทาการที่มีเป้ าหมายใดๆที่เห็นว่าจาเป็ นต้ องทา
เพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ในการแก้ ปัญหา หรือ ทาให้
กิจการเสร็จลุล่วง หรือให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์
Strategies กลยุทธ์ในการสื่อสาร และการเรียน
ภาษา
12
หลักกำรและปรัชญำของ CEFR (4)

บริ บทในกำรใช้ภำษำ (p.63-64)
 Domain (แวดวงกำรใช้ภำษำ)


Situation สถำนกำรณ์


ส่ วนบุคคล, สำธำรณะ, อำชีพ, กำรศึกษำ
เช่น สถำนที่ เวลำ ผูเ้ กี่ยวข้อง ฯลฯ
Conditions and constraints เงื่อนไขและข้อจำกัด

ด้ำนกำยภำพ, ด้ำนสังคม, ด้ำนเวลำ
13
14
15
สมรรถนะต่ างๆ (1)

สมรรถนะทั่วไป
ควำมรู ้รอบตัวทัว่ ไป (ควำมเป็ นไปในโลก, ควำมรู้
ด้ำนสังคมและวัฒนธรรม)
 ควำมรู ้และทักษะด้ำนวิธีปฏิบต
ั ิตนในสังคม
 สมรรถนะด้ำนอุปนิ สย
ั ส่ วนบุคคล (ทัศนคติ ควำม
เชื่อ ค่ำนิยม แรงจูงใจ ฯลฯ)

16
สมรรถนะต่ างๆ (2)

สมรรถนะด้ านการสื่ อสารด้ วยภาษา
สมรรถนะเชิงภาษาศาสตร์ (ควำมรู้เรื่ องลักษณะภำษำในด้ำน
ไวยำกรณ์ ศัพท์ ควำมหมำย ระบบเสี ยง ระบบกำรเขียน)
 สมรรถนะเชิ งภาษาศาสตร์ สังคม (ควำมรู ้เรื่ องกำรใช้ภำษำให้
เหมำะกับควำมสัมพันธ์ และระดับชั้นในสังคม ทำเนียบภำษำ
กำรแสดงควำมสุ ภำพ ภำษำถิ่น และ สำเนียงต่ำงๆ ฯลฯ)
 สมรรถนะเชิ งวัจนปฏิบัติ (ควำมรู ้เรื่ อง กำรเรี ยบเรี ยง ลำดับ
ควำม (discourse), กำรใช้ภำษำในกำรกระทำกำรต่ำงๆ
(function), ธรรมเนียมปฏิบตั ิในกำรใช้ภำษำ และกำรใช้ภำษำ
ในกำรปฏิสมั พันธ์ (interaction)

17
มำตรวัดระดับสมรรถภำพภำษำ (1)
มาตรวัดสมรรถนะโดยรวม (Global Scale) p.1
 ตารางประเมินตนเอง (Self Assessment Grid) p.2-3

ให้รำยละเอียดกิจกรรมกำรสื่ อสำรที่ผเู ้ รี ยนทำได้แยกตำม
ทักษะ และ ลักษณะกำรสื่ อสำร

มาตรวัดคุณภาพของการใช้ ภาษาพูด (Qualitative
Aspects of Spoken Language Use) p. 4-6
18
มำตรวัดระดับสมรรถภำพภำษำ (2)

คาบรรยายระดับแบบขยายความ (Illustrative
Descriptors) มี 3 กลุ่ม
 Communicative Activities กิจกรรมการสื่ อสาร
ให้รำยละเอียดกิจกรรมกำรสื่ อสำรที่ผเู้ รี ยนทำได้ “Can do”แยก
ตำมทักษะ และ ลักษณะกำรสื่ อสำร

Communicative Competence สมรรถนะในการสื่ อสาร
ให้รำยละเอียดเรื่ องคุณภำพและควำมสำมำรถในกำรสื่ อสำร

Communicative Strategies กลยุทธในการสื่ อสาร
19
p. 8
20
p. 27
21
p. 37
22
ลำดับชั้นควำมสัมพันธ์ของมำตรต่ำงๆ (1)
Overall Language Proficiency
Communicative
Strategies
Reception
Communicative
Language Competencies
Production
Communicative
Activities
Interaction
Spoken
Mediation
Written
Understanding
a native speaker
Conversation
Informal
Discussion
Formal
Discussion
Obtaining Goods
and Services
Interviewing &
being interviewed
23
ลำดับชั้นควำมสัมพันธ์ของมำตรต่ำงๆ (2)
Overall language Proficiency
Communicative
Strategies
Linguistic
Communicative
Language Competencies
Sociolinguistic
General
Linguistic
Pragmatic
Control
Range
Vocabulary
Range
Communicative
Activities
Grammatical
Accuracy
Phonological
Control
Vocabulary
Control
Orthographic
Control
24

คำบรรยำยระดับให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ
 ประเภทและลักษณะของ text (Text type)
เรื่ อง (topic/theme)
 ผูเ้ รี ยนจะต้องทำอะไร อย่ำงไรจึงจะเกิดผลตำม
วัตถุประสงค์ของ task
25

ตัวอย่ำง กำรฟังระดับ A1
I can recognise familiar words and very
basic phrases concerning myself, my
family and immediate concrete
surroundings when people speak slowly
and clearly.
Text type & topic: คำ และ วลี ที่พดู ช้ำๆ และชัดๆ
เรื่ องผูพ้ ดู ครอบครัว หรื อ สถำนกำรณ์แวดล้อมใกล้ตวั ที่เป็ นรู ปธรรม
Performance required: ฟัง คำที่คุน้ เคย และวลีพ้นื ฐำนที่ใช้บ่อยๆรู ้เรื่ อง
26

ตัวอย่ำง กำรพูดระดับ A1
I can use simple phrases and sentences
to describe where I live and people I
know.
Text type & topic: กำรบอกเล่ำ
เรื่ องที่อยูอ่ ำศัย และคนที่รู้จกั
Performance required: ใช้วลี หรื อประโยคควำมเดียว
27
แบบฝึ กหัด

ภำรกิจ แต่ละข้อ จัดเป็ นกิจกรรมภำษำระดับใดตำม
ตำรำงวัดผลตนเองของ CEFR
28
European Language Portfolio -ELP (1)


ชุดเอกสำรสำหรับผู้เรียนในกำรบันทึกและติดตำม
พัฒนำกำรภำษำและประสบกำรณ์วฒั นธรรมของตน
เพื่อไว้ใช้เป็ นเอกสำรประกอบกำรวัดระดับ
สมรรถภำพภำษำของตน
http://www.coe.int/t/dg4/portfolio/default.asp?l=
e&m=/main_pages/welcome.html
พัฒนำขึ้นโดย แผนกนโยบำยภำษำ ของมนตรี แห่งยุโรป ปี
1998-2000
ประกำศใช้พร้อมกับ CEFR ในปี 2001

29
ELP (2)
เอกสำร 3 ประเภท
1.


Language Passport
ให้ภำพรวมสมรรถภำพภำษำต่ำงประเทศ ณ
ขณะนั้น
อ้ำงถึงและแจงรำยละเอียดสมรรถภำพในทักษะ
ภำษำต่ำงๆ ตำมกรอบ CEFR สำหรับวัดผลด้ วย
ตนเอง (self-assessment) วัดผลโดยครู
หรื อ โดยสถำบันกำรศึกษำหรื อกำรทดสอบต่ำงๆ
(p. 2-3)
P 45-56
30
ELP (3)
2. Language Biography
ประวัติกำรศึกษำภำษำ
3. Dossier ตัวอย่ำงผลงำนภำษำ เป็ นหลักฐำน
ประกอบ 1 และ 2
31

สำหรับ ผูเ้ กี่ยวข้องกับนโยบำยกำร
สอนภำษำและกำรจัดกำรกำรเรี ยนกำรสอน
CEFR:


ELP:

เป็ นแนวทำงวำงหลักสู ตรและกิจกรรมกำรเรี ยน
กำรสอน
สำหรับผูเ้ รี ยน
เป้ ำหมำยในกำรเรี ยน (อ้ำงอิงจำก CEFR)
เรียนอะไร เรียนทาไม เรียนอย่ างไร
ประสบความสาเร็จตามเป้ าหมายมากน้ อยเพียงใด
จะทาอะไรต่ อไป
32
CEFR กับหลักสูตรภำษำและประมวลกำรสอน
Lower secondary
Upper secondary
33
สำมำรถเข้ำใจและใช้รูปภำษำทัว่ ๆไปที่คุน้ เคย
และประโยคพื้นฐำนที่ใช้เพื่อสนองควำมจำเป็ นที่เป็ นรู ปธรรม
สำมำรถแนะนำตัว และแนะนำผูอ้ ื่นได้และสำมำรถถำมและตอบ
คำถำมเกี่ยวกับรำยละเอียดในเรื่ องส่ วนบุคคล เช่น อยูท่ ี่ไหน
ผูค้ นที่รู้จกั และ สิ่ งของที่มีอยู่ สำมำรถโต้ตอบแบบธรรมดำได้
ถ้ำคู่ปฏิสมั พันธ์พดู ช้ำๆ และชัดๆและพร้อมจะช่วย
Global Scale A1:
Syllabus 1
สำมำรถพูดคุยด้วยภำษำง่ำยๆ
ในเรื่ องที่ไม่ซบั ซ้อน ถ้ำคู่สนทนำยินดีที่จะพูดซ้ ำหรื อใช้คำพูดอีกแบบหนึ่ง
โดยพูดช้ำๆ และช่วยแต่งเติมเสริ มต่อให้สำมำรถโต้ตอบกับคู่สนทนำได้
สำมำรถถำมและตอบคำถำมในเรื่ องจำเป็ น และคุน้ เคยได้โดยใช้ ภำษำง่ำยๆ
Self Assessment Grid (Spoken Interaction) A1:
34
A1 Speaking to someone (spoken interaction)
Syllabus 2
– I can say who I am, where I was born, where I live and
request the same type of information from someone.
– I can say what I am doing, how I am and ask someone how
he or she is.
– I can introduce someone, greet him/her and take my leave.
– I can talk in a simple way of people I know and put questions
to someone.
– I can reply to simple personal questions and put similar
questions.
– I can count, state quantities and tell the time.
– I can propose or offer something to someone.
– I can talk about a date or appointment using, for example,
“next week”, “last Friday”, “in November”, “at three o’clock”.
35
A1 Speaking to someone
Syllabus 3a
• I can say who I am, where I was born, where I live and request the same type
of information from someone.
I can say my name.
I can spell my name.
I can ask someone his/her name.
• I can say what I do, how I am and ask someone about himself/herself.
I can say how I am and ask someone how he/she is.
• I can introduce someone, greet them and take my leave.
I can introduce someone, saying his/her first name.
I can introduce someone, stating his/her connection with me (relation, friend)
I can ask someone else’s name.
• I can use simple familiar everyday expressions.
I can express my thanks.
I can wish a friend a happy birthday.
36
Syllabus 3b
• I can talk simply of people I know and put questions to someone.
I can indicate a quality or characteristic of someone.
I can describe someone.
I can state the color of something.
• I can answer simple personal questions and put similar questions.
I can say if something is true or false.
I can describe the weather.
I can say what I am able to do.
I can say what I like doing and not doing.
I can ask someone what he/she likes doing.
• I can count, indicate quantities and tell the time.
I can count up to 12.
I can add, subtract and do simple division.
I can give a telephone number
37
38
Spoken Interaction
39
40
41
CEFR (+ ELP) กับการวัดผล
กำหนดเนื้อหำ
(วัดผลอะไร)
คำบรรยำยระดับ กิจกรรมกำรสื่ อสำร
 ระบุเกณฑ์กำรตีควำมผลกำรปฏิบต
ั ิ (รู้ได้
อย่ำงไรว่ำบรรลุเป้ ำหมำยแล้ว)
คำบรรยำยระดับ กิจกรรมกำรสื่ อสำร และ
คำบรรยำยระดับ สมรรถนะในกำรสื่ อสำร
 เป็ นมำตรฐำนร่ วมในกำรระบุระดับสมรรถภำพ
จำกกำรวัดผล เพื่อให้นำมำเทียบกันได้

42

คาบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่ อสาร
ลักษณะภำรกิจ(Task) ที่จะใช้ในกำรวัดผล
 กำรรำยงำนผล
 ประเมินตนเอง กำรวัดผลโดยครู


คาบรรยายระดับ สมรรถนะภาษา
ประเมินตนเอง กำรวัดผลโดยครู
 กำรวัดผลกำรปฏิบต
ัิ

43

ตัวอย่ำงจำก ตำรำภำษำอินโดนีเซีย
44

เลือกใช้มำตรวัดต่ำงๆได้ตำมควำมต้องกำร
45
46
47
ตัวอย่ำงกำรนำมำตรวัดไปใช้ให้คะแนนผลกำรปฏิบตั ิ
 เป้ ำหมำยของทักษะในการพูดโต้ ตอบในวิชำนี้ คือ B1
 กำหนดเกณฑ์กำรให้คะแนนดังนี้
ผูเ้ รี ยนผูน้ ้ ี ได้คะแนน 15 จำก คะแนนเต็ม 20
48

CEFR ในฐำนะมำตรฐำนกลำงเพื่อกำรเทียบกำร
วัดผลในระบบหรื อสถำบันต่ำงๆ

ตัวอย่ำง 1 เทียบกับACTFL (เอกสำรหน้ำ 7)
49
50
ETS (Educational Testing Service)
51
52
(scale)
53
DIALANG
• แบบทดสอบวินิจฉัย (diagnostic test) on-line ตำม
เกณฑ์ CEFR
www.dialang.org
• ร่ วมพัฒนำโดยหลำยมหำวิทยำลัยในยุโรป
เช่น
Lancaster
• แบบทดสอบภำษำ ด้ำนกำรอ่ำน ฟัง เขียน ศัพท์ และ
โครงสร้ำง
• มีให้ทดสอบได้ 14 ภำษำ
54

ตัวอย่ำงมหำวิทยำลัยที่ใช้ Dialang เป็ น
Placement Test
ม. Leiden
55
ขัน
้ ตอน
 เลือกภำษำคำสัง
่ และคำอธิ บำย
 เลือกภำษำที่จะสอบ
 ทดสอบวงศัพท์ (placement test)
 เลือกทักษะทำแบบทดสอบ อ่ำน ฟั ง เขียน ศัพท์ และ
โครงสร้ำง
 ประเมินตนเอง (เฉพำะ ฟั ง อ่ำน เขียน)
 ระบบเลือกแบบทดสอบจำกกำรประมำณระดับ
 ทำแบบทดสอบ
 รำยงำนผลกำรทดสอบ
56

Video demo
ทดสอบคำศัพท์วดั ระดับ
กำรอ่ำน
รำยงำนผลกำรอ่ำน
กำรฟัง
กำรเขียน
57
58
59
60
บทเรี ยนที่ 1
Keren 1
61
Keren 1 (cont.)
62
ท้ำย Workbook บทที่ 1
63
64
65
66
เฉลยแบบฝึ กหัด
1= B1
2= B2
3 =B1
4 = A1
5= C2
6 = C1
7 = A2
8 = B2
9 = C1
10 = A2
67