() - สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร

Download Report

Transcript () - สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร

การบริหารการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อก้าวเข้าสู่
ประชาคมอาเซี่ยน
ดร. สมบัติ ส ุวรรณพิทกั ษ์
รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๑๓ มีLOGO
นาคม ๒๕๕๔
มุ่งพัฒนาประเทศไทยสู่ “สั งคมอยู่เย็นเป็ นสุ ขร่ วมกัน
(Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนาความ
รอบรู้ รู้ เท่ าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้ มแข็ง สั งคมสั นติ
สุ ข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็ นธรรม สิ่ งแวดล้ อมมี
คุณภาพ และทรัพยากรยัง่ ยืน อยู่ภายใต้ ระบบบริการจัดการ
ประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดารงไว้ ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้ อย่ าง
มีศักดิ์ศรี”
วิสัยทัศน์ ประเทศไทยปี พ.ศ. 2570
“คนไทยภาคภูมิใจในความเป็ นไทย มีมิตรไมตรี บนวิถชี ีวติ
แห่ งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตย และ
หลักธรรมาภิบาล การบริ การสาธารณะขัน้ พืน้ ฐานที่ทั่วถึง มี
คณ
ุ ภาพ สังคมมีความปลอดภัยและมั่นคง อย่ ใู นสภาวะ
แวดล้ อมทีด่ เี กือ้ กลู และเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิต
เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม มีความมั่นคงด้ านอาหารและ
พลังงาน อย่ บู นฐานทางเศรษฐกิจทีพ่ งึ่ ตนเองและแข่ งขันได้
ในเวทีโลกสามารถอย่ ใู นประชาคมภูมิภาคและโลกได้ อย่ างมี
ศักดิศ์ รี ”
สั งคมไทยที่พงึ ปรารถนาในอนาคต
• คนมีความสุ ข ครอบครัวอบอุ่น ชุ มชนเข็มแข็ง
• ทุกคนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเอง ตั้งแต่ อยู่ในครรภ์
มารดา ได้ รับการศึกษาพืน้ ฐาน 12 ปี
• ทุกคนมีขีดความสามารถพร้ อมทีจ่ ะปรับตัวเข้ ากับกระแสการ
เปลีย่ นแปลง ได้ รับการศึกษา มีงานทา มีการพัฒนาศักยภาพของ
ตนเอง อยู่ในสั งคมได้ อย่ างมีคุณค่า ตลอดช่ วงวัยของชีวติ
• ชุ มชน สั งคม เศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์ สังคมไทยที่พงึ ประสงค์ ในอนาคต
- TEXT
สั งคมแห่ งการเรี
ยนรู้ เพือ่ เติTEXT
มเต็มชีวติ การเป็TEXT
นมนุษย์
TEXT
- รู้ เท่ าทันโลก แบ่ งปัน ร่ วมมือเป็ น
- คนมีความสุ ข ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข็มแข็ง สั งคมสั นติ
เศรษฐกิจสมดุล
- สิ่ งแวดล้ อมยัง่ ยืน
- ประเทศมั่นคง สั นติ
www.themegallery.com
www.themegallery.com
www.themegallery.com
การศึกษาตลอดชีวติ
•Learning to know (รูเ้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลง,ฝึกวิธีการเรียนรู)้
•Learning to do (สามารถปฏิบตั ิจริง ใช้ได้จริง)
•Learning to live together, Learning to live with others (ทางานร่วมกับผูอ้ ื่น)
•Learning to be (อยูใ่ นสังคมได้อย่างเป็นส ุข,ความเป็นมนษุ ย์,บ ุคลิกภาพ)
Increase in Recognition of Lifelong Learning
“The concept of ‘lifelong’ education has arisen in the
face of these new needs and is receiving increasing
acceptance.
But experience indicates that to add additional
educational opportunities for adults in a piecemeal
fashion, following their earlier formal education,
does not provide us necessarily with an educational
structure satisfactory for today’s needs.
…Education must be seen as ‘totality’.”
The Third International Committee on the Advancement of Adult Education
(Paris, 1965)
ACCU programmes to romote LLL
Just, Peaceful and Sustainable Society
Community Development
Personal & Professional Development
ACCU vision
ACCU Programme
<Lifelong>
ACCU Projects
NFE
IFE
<Life-wide>
From now on…
More organic links?
More policy dialogues?
*Materials Development
Sustainable Development
Life skills, Livelihood skills
*Capacity Building
Professional, Institutional
Development
*Networking
NFE policy makers and
implementers
Important Roles of Non-formal
and Informal Learning
Global Learning Society
•Open Education
•Open Sources
Regional Network
Workplace
Training
Formal Education
Tertiary Ed
Vocational Ed
Secondary Ed
Primary Ed
ECCE
Non Formal
Education
LRC, CLC etc
Home
Community
The Government
Equivalency
NGOs
Private Sector
•ARTC
•EFA TWG
• ALADIN
Lifelong and Life-wide Learning
- Future Scenario -(By Prof. Chiba, ICU, a former UNESCO ADG)
LLL Formal – Non-formal – Informal Education
New NFE
Continuing Education
H
Cultural centres
Media education
Libraries, museums,
self-learning groups
SS
JS
Primary
ECCE
CLC
Equivalency
CLC
Selfstudy
Basic Education
In Concluding…
(By Prof. Chiba, ICU, a former UNESCO ADG)
- Future Scenario Culture of Learning
Individual
enrichment &
empowerment
Contribution to
Society
Social transformation
Towards a Learning Society
วิสัยทัศน์ การพัฒนาการศึกษาในอนาคต
- พัฒนาคนให้ เป็ นผู้ใฝ่ รู้ รู้จักคิดวิเคราะห์ ใช้ เหตุผล มีจินตนาการ
ความคิดสร้ างสรรค์ ฯลฯ
- แนวคิดของการพัฒนาการศึกษา
• เน้ นกระบวนการให้ ผู้เรียนรู้จักการเรียนรู้ในรูปแบบที่
หลากหลาย
• รักการเรียนรู้ตลอดชีวติ
• เป็ นการศึกษาทีย่ ดึ ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
• ให้ โอกาสทุกคนได้ มีการศึกษาอย่ างทัว่ ถึง
• ระดมทรัพยากรทุกภาคส่ วน
กลไกสาคัญในการพัฒนาประเทศ คือ คน
• การพัฒนาต้ องพัฒนาคนให้ เป็ น มนุษย์ ทส
ี่ มบูรณ์ ไม่ใช่ เป็ นการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างเดียว
• การศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ คือ
- การศึกษาทีท่ าให้ คนไทยเป็ นบุคคลแห่ งการเรียนรู้
- เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ
- การศึกษาต้ องทาให้ คนได้ วธิ ีการเรียนรู้เป็ นเครื่องมือติดตัว
www.themegallery.com
ปฎิรูปการศึกษาไทย รอบสอง
 “คนไทยได้ เรียนรู้ คลอดชีวติ อย่ างมีคุณภาพ”
 เป้าหมาย 3 ด้ าน
• คุณภาพ ---สร้ างคุณภาพใหม่ (คุณภาพครู ,คุณภาพแหล่งเรียนรู้ ,
คุณภาพสถานศึกษา,คุณภาพบริหารจัดการ,คุณภาพนักเรียน/
นักศึกษา
• โอกาส—ให้ โอกาสกับทุกกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส ผู้พอการ
คนชายขอบ ฯลฯ
• การมีส่วนร่ วม—เน้ นทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วม อย่ างเป็ นรู ปธรรม
เป้ าหมายด้ านการศึกษาและสังคม
การปรับโครงสร้ างทางสั งคมรองรับการเปลีย่ นแปลงและเชื่อมโยงกับการ
ปรับโครงสร้ างทางเศรษฐกิจ
 ปฏิรูปโครงสร้ างการลงทุนด้ านสั งคม
 กาหนดนโยบายประชากรให้ มโี ครงสร้ างทีส่ มดุลมีคุณภาพและมีการกระจายตัวที่
สอดคล้องกับศักยภาพและโอกาสของพืน้ ที่
 การเพิม่ ผลิตภาพของสั งคมไทยอย่ างเป็ นระบบ
 การพัฒนาสภาพแวดล้ อมให้ เหมาะสม มีความน่ าอยู่และมีความปลอดภัยในชีวิต
ทรัพย์สิน
เป้ าหมายด้ านการศึกษาและสังคม
การส่ งเสริมสถาบันครอบครัวและชุมชนในกระบวนการพัฒนา
 การพัฒนาและเสริมสร้ างบทบาทสถาบันครอบครัว
 การเพิม่ บทบาทชุ มชนให้ เป็ นกลไกหลักในการแก้ ปัญหาและจัดการ
ชุมชนด้ วยตนเอง บนพืน้ ฐานของทุนและความหลากหลายที่
ชุมชนมีอยู่
เป้ าหมายด้ านการศึกษาและสังคม
การพัฒนาคนให้ เหมาะสมตามช่ วงอายุ และสอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลง
ทางเศรษฐกิจและสภาพสั งคมในอนาคตการพัฒนาและเสริมสร้ างบทบาท
สถาบันครอบครัว โดย
 การปฏิรูปการเรียนรู้
 การพัฒนาคุณภาพของประชากรวัยเด็กให้ ทวั่ ถึง
 การเพิม่ ผลิตภาพแรงงานที่มีความสอดคล้ องกับการเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างภาคการ
ผลิตและบริการ เทคโนโลยี
 การสร้ างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสั งคมในกลุ่มผู้สูงอายุ
การศึกษาและสั งคมในแผน 11 (2555-59)
www.themegallery.com
ปัจจัยที่ส่งผลต่ อการศึกษาไทยในอนาคต
กระแสโลกาภิวัตน์ การเลือ่ นไหลของคน ทุน ความร้ ู เทคโนโลยีและสินค้ าอย่ างเสรี
ไร้ พรมแดน ส่ งผลต่ อคณ
ุ ภาพคนและสังคมไทย
ระดับการศึกษาของคนไทยสูงขึ้น ขณะทีม่ ีคณ
ุ ธรรม จริ ยธรรมลดลง
คนไทยมีอายยุ นื ยาวขึ้น แต่ มีการเจ็บป่ วยด้ วยโรคเรื้ อรั งทีม่ ีสาเหตุจาก
พฤติกรรมการดารงชีวิตที่ไม่ เหมาะสมเพิม่ ขึ้น
สถาบันครอบครัวอ่ อนแอ ไม่ สามารถทาบทบาทหน้ าที่ได้ อย่างเหมาะสม
กระแสการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม การกระจายการพัฒนาและการขยายตัว
ของเมือง ส่ งผลต่ อสภาพเศรษฐกิจและสั งคมของประชาชน
คนไทยมีรายได้ สูงขึ้น แต่ การกระจายรายได้ ยงั ขาดความเป็ นธรรม ส่ วนแรงงาน
นอกระบบยังขาดหลักประกันความมั่นคงในชีวิต
การกระจายการพัฒนาระหว่ างพืน้ ที่ และระหว่ างเมืองกับชนบทมีความเหลื่อมล้า
ก่ อให้ เกิดช่ องว่ างทางความร้ ู ความคิดของประชาชนมากขึ้น
ความไว้ วางใจและการช่ วยเหลือเกือ้ กลู กันในสั งคมลดลง กระทบต่ อทุนทางสังคม
โดยรวมของประเทศ
ชุมชนมีความเข้ มแข็งเพิม่ ขึ้น
ผลการได้ รับการบริการ/การพัฒนา
เมือง
ชนบท
จำนวนปี กำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกร
9.1 ปี
6.8 ปี
0.7 ล้ำนคน
5.4 ล้ำนคน
ร้อยละของครัวเรื อนที่เข้ำถึงน้ ำสะอำด
92.2
83.1
จำนวนบุคลำกรแพทย์ต่อประชำกร
กทม.
ภำคอื่นๆ
แพทย์ 1 คนต่อประชำกร (คน)
879
3,500 – 7,400
จำนวนคนจน
การสร้ างเครือข่ ายความร่ วมมือระหว่ างสถาบันและระหว่ างประเทศ และการร่ วม
สร้ างสรรค์ ทางสั งคม กระตุ้นให้ เกิดการตืน่ ตัวเรื่องจิตสานึกสาธารณะ การมีส่วน
ร่ วมในกระบวนการพัฒนา การรักษาสิ ทธิของตนเองและผู้อนื่ และธรรมาภิบาล
ภาคเอกชน
คนไทยมีจิตสานึกสาธารณะ มีความตื่นตัวในการรั กษาสิทธิของตนเองมาก
ขึ้น แต่ เคารพสิทธิเสรี ภาพของผ้ อู ื่นลดลง
ประเทศไทยมีสถาบันธุรกิจเอกชนทีท่ างานเพือ่ สั งคม และบรรษัทภิบาล
เพิม่ ขึ้น แต่ ยงั อย่ ใู นระดับต่าเมื่อเทียบกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
การเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างประชากรไทยจากยุคเบบีบ้ ูม สู่ สังคมผู้สูงอายุ
ส่ งผลให้ ต้องมีการปรับเปลีย่ นการลงทุนทางสั งคมให้ เหมาะสม
Pyramid of Thai Population
2513
75+
70-74
65-69
60-64
55-59
50-54
45-49
40-44
35-39
30-34
25-29
20-24
15-19
10-14
5-9
0-4
Baby Boom
The working age population
has to support for a 2513
comparative large population
of children.
2552
2570
75+
70-74
65-69
60-64
55-59
50-54
45-49
40-44
35-39
30-34
25-29
20-24
15-19
10-14
5-9
0-4
75+
70-74
65-69
60-64
55-59
50-54
45-49
40-44
35-39
30-34
25-29
20-24
15-19
10-14
5-9
0-4
Aging Population
Demographic Dividend
The working age population dominates
the pyramid, so there is possibility that
they will be well able to support the old
and the young.
Child
Working
Age
2552 The working age population 2570
needs to support a large
population of older people.
Old
Implication is Manpower Structure is changing due to demographic change
ปี
จำนวน
(คน)
2533
54,528
2543
สัดส่วน (%)
0-14 ปี
15-59 ปี
60+
29.25
63.43
7.33
62,212
24.66
65.95
9.38
2552
66,903
21.00
67.52
11.48
2553
67,313
20.51
67.59
11.90
2554
67,597
20.07
67.67
12.26
2555
67,912
19.69
67.64
12.68
2556
68,251
19.34
67.52
13.14
2557
68,610
19.00
67.33
13.66
2558
68,980
18.66
67.11
14.23
2559
69,222
18.30
66.92
14.78
2563
70,100
16.63
65.87
17.51
2570
70,640
14.41
62.86
22.73
2573
70,629
13.50
61.38
25.12
ปัจจัยด้ านความอ่ อนแอของสั งคมไทยเป็ นผลจากความไม่ สมดุลของ
โครงสร้ างและการนาไปปฏิบัติ
ความไม่ สมดุลเชิงโครงสร้ างสังคมในด้ านต่ างๆ ---โครงสร้ างการกระจาย
ทรัพยากรและความมั่งคัง่ มีความเหลือ่ มลา้ , การกระจายอานาจยังไม่
ครอบคลุมถึงสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่ วมจัดการทรัพยากร
ท้ องถิน่ และการมีส่วนร่ วมในกระบวนการพัฒนาชุมชนท้ องถิน่ ของ
ตนเอง , การกระจายโอกาสในการเข้ าถึงสิทธิประโยชน์ ต่างๆ ของรัฐยังไม่
ทัว่ ถึง
ความไม่ ชัดเจนกลไกกฎหมาย และกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ องกับการปฏิบัติ
ด้ านวัฒนธรรม
การปฏิรูปทางสังคมทีผ่ ่ านมาทาให้ สังคมไทยมีแนวโน้ มแยกเป็ นส่ วน ๆ
มากขึน้
ปัจจัยการเปลีย่ นแปลงทางด้ านการเมือง การมีสิทธิ และ
การมีส่วนร่ วมทางการเมือง
โครงสร้ างอานาจในการบริหารจัดการทางการเมืองและสั งคมขาดความสมดุล
ประชาชนยังมีบทบาทจากัด การกระจายอานาจสู่ ท้องถิ่นยังล่ าช้ า ไม่ สะท้ อนความ
ต้ องการของประชาชน
โอกาสและการมีส่วนร่ วมในเข้ าถึงและจัดการทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมไม่ เท่ า
เทียมกัน
รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎระเบียบต่ างๆ มีความเป็ นสากลสู ง อยู่บนพืน้ ฐานของ
เสรีภาพและเสมอภาคแบบแนวคิดตะวันตก แต่ ไม่ สอดคล้องค่ านิยมในบริบทไทย
ระบบการพัฒนาประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแบบตะวันตกไม่ สอดคล้องกับ
ค่ านิยมพืน้ ฐานแบบไทย
มูลเหตุจูงใจให้ เกิดความขัดแย้ งเกิดจากแต่ ละฝ่ ายเชื่อว่ าไม่ ได้ รับความเป็ นธรรม
จากสั งคม
• นาเก่ ง / ตามเป็ น
• เป็ นตัวเอง / เป็ นหมู่คณะ
• สามารถแข่ งขัน / รู้ จกั พอดี
• ใฝ่ รู้ วทิ ยาการใหม่ /ชื่นชมเอกลักษณ์ วฒ
ั นธรรมเดิม
• พัฒนาการทางาน/พัฒนาสุ นทรียภาพ
• รักตัวเอง/รักเพือ่ นมนุษย์ และรักธรรมชาติ
ให้ ความสาคัญกับการพัฒนาคนให้ มคี ุณธรรมนาความรู้ เกิด
ภูมคิ ุ้มกัน โดยพัฒนาทางจิตใจควบคู่กบั การพัฒนาการเรียนรู้ ของคนทุกกลุ่ม
วัยตลอดชีวติ และสามารถจัดการกับองค์ ความรู้ ทั้งภูมปิ ัญญาท้ องถิ่นและ
องค์ ความรู้ สมัยใหม่ เพือ่ นาไปใช้ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม พร้ อมทั้ง
เสริมสร้ างสุ ขภาวะคนไทยให้ มสี ุ ขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ และอยู่ใน
สภาพแวดล้ อมทีน่ ่ าอยู่ โดยเน้ นการพัฒนาระบบสุ ขภาพครบวงจร และ
เสริมสร้ างคนไทยให้ อยู่ร่วมกันอย่ างสั นติสุขดารงชีวิตอย่ างมั่นคงทั้งใน
ระดับครอบครัวและชุ มชน สร้ างโอกาสในการเข้ าถึงแหล่ งทุน ส่ งเสริมการ
ดารงชีวติ ทีม่ คี วามปลอดภัย น่ าอยู่ บนพืน้ ฐานของความยุติธรรมในสั งคม
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาสติปัญญา ทักษะ และฝี มือแรงงาน
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้อย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ
- ปฎิรูปกระบวนการสอนให้ ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ อย่ างมีเหตุผล
- มีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ ฯลฯ
- จัดกิจกรรมที่สัมพันธ์ กบั สั งคม
- สนับสนุน ค้ นคว้ าความรู้จากสื่ อและแหล่งเรียนรู้ในชุ มชน
- สนับสนุนการจัดทาหลักสู ตรท้ องถิ่น
- สนับสนุนการประสานงานระหว่ างหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง(เครือข่ าย)
- ปรับปรุงระบบการวัดผลสั มฤทธิ์,การเสนอคัดเลือก
- ปฎิรูประบบการผลิตและพัฒนาครูอาจารย์
o คัดเลือก อบรม และสร้ างจิตสานึก
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัว
และชุมชน
• การปฎิรปู กระบวนการเรียนการสอนทัง้ ในโรงเรียน
และนอกระบบโรงเรียน
• การส่งเสริมการการใช้สื่อสารมวลชนเพื่อพัฒนา
ศักยภาพของครอบครัว
• การสร้างเครือข่ายการเรียนรูข้ องชุมชนอย่างเป็ น
ระบบ
 องค์กรทางสังคม อาทิ บ้าน วัด โรงเรียน
ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
1. กลุ่มเป้าหมายมีมาก หลากหลาย เกินความสามารถในการ
จัดกิจกรรมตอบสนอง
2. พืน้ ที่กระจัดกระจายยากต่ อการจัดให้ ทวั่ ถึง ครอบคลุม
3. ขาดการประสานงาน
4. ขาดการกระจายอานาจ
5. บุคลากรขาดความรู้ และ ประสบการณ์
6. มีความซ้าซ้ อน
ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (ต่อ)
7. ขาดการระดมทรัพยากร
8. ขาดข้ อมูลกลุ่มเป้าหมาย
9. เนือ้ หารู ปแบบกิจกรรมไม่ ยดื หยุ่น
10. ขาดการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล
11. ขาดการวิจัย และพัฒนากิจกรรมใหม่ ๆ
www.themegallery.com
1. ให้ บริการทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้ องกับ
ความต้ องการ และความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
2. รู ปแบบ กิจกรรม ต้ องหลากหลาย
3. ปฏิรูปวิธีการคิดและการทางาน
4. ศูนย์ บริการทีม่ ชี ีวติ (Living Lifelong Learning Center)
5. ให้ เครือข่ ายชาวบ้ านจัดเองมากยิง่ ขึน้
6. ปรับหลักสู ตรเป็ น Mosaic หรือ Tailor-made
7. มีการเทียบระดับ มีการเทียบโอนการเรียน เทียบโอนความรู้
ประสบการณ์
8. หลักสู ตรต้ องมีความยืดหยุ่น (Flexible learning)
9. ระดมทรัพยากรทุกภาคส่ วน
10. ส่ งเสริมการเรียนการสอนทางไกล และการเรียนเป็ นกลุ่ม
11. บูรณาการเรียนรู้ กบั กิจกรรมในวิถชี ีวติ
www.themegallery.com
12. ต้ องสร้ างองค์ กรแห่ งการเรียนรู้ พฒ
ั นาทีมงาน , กาหนดเป้าหมาย
องค์ กร, กิจกรรมขององค์ กร, เกิดการเรียนรู้
13. ขยายบริการการศึกษาในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสาหรับผู้ใหญ่
14. ปรับปรุ งและพัฒนารู ปแบบกิจกรรมให้ เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
15. จัดการศึกษาในลักษณะองค์ รวม
- ครอบครัวกับโรงเรียน ครอบครัวกับระบบการศึกษา
- บ้ าน,วัด,โรงเรียน,ชุมชน,สั งคม
16. ระดมสถานกาลังในการจัดการศึกษา
17. พัฒนาและเชื่อมโยงแหล่ งเรียนรู้ และแหล่ งความรู้
18. พัฒนาปรับปรุง ครู ความรับผิดชอบ,บทบาทหน้ าที่,ความรู้
และทักษะ,วิสัยทัศน์ ,การอบรม
19. การใช้ สารสนเทศ
20. สร้ างเครือข่ าย ความร่ วมมือในทุกระดับ ความช่ วยเหลือ
21. การมีส่วนร่ วมของท้ องถิ่น
- สร้ างสั งคมแห่ งการเรียนรู้
• เรียนได้ ทุกที่ ทุกเวลา ทุกคน
- ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ใช้ เทคโนโลยีโทรคมนาคม
• ใช้ ระบบการเรียนรู้ของชุ มชน,สร้ างเครือข่ ายแห่ งการเรียนรู้
• ให้ องค์ กรท้ องถิ่นมีส่วนร่ วม
• ใช้ การศึกษานอกระบบ,เทียบโอนความรู้และประสบการณ์
- ปรับแนวความคิดการศึกษาไม่ ใช่ การแพ้คดั ออก ทุกคนชนะในลู่ของตนเอง
เครือข่ าย เป็ นกระบวนการของการจัดระบบความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
กลุ่มบุคลากร ชุ มชน องค์ กร ให้ เกือ้ กูลและเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เพือ่ การดาเนินงาน
ให้ บรรลุเป้ าหมายอย่ างใดอย่ างหนึ่ง โดนมีหลักการและแนวปฏิบตั ิร่วมกัน
องค์ ประกอบของเครือข่ าย
เป้ าหมาย, หลักการ , วิธีการปฏิบตั ิ , โอกาสการเรียนรู้ , กลไกการดาเนินงาน
การใช้ ทรัพยากร
ประเภทของเครือข่ าย
- เครือข่ ายภาครัฐ
- เครือข่ ายภาคเอกชน
- เครือข่ ายบุคคล
- เครือข่ ายชุ มชน ประชาชน
•กาหนดนโยบาย
•จัดทาแผนแม่ บท
•กาหนดมาตรฐานกิจกรรม
•จัดตั้งกองทุนส่ งเสริม
•สร้ างแรงจูงใจ
•จัดทาสั ญญาข้ อตกลง
•จัดระบบสนับสนุน
•จัดรับข้ อมูล
•จัดระบบประชาสั มพันธ์
•พัฒนาบุคลากร
ยุทธวิธีที่ 1 การสนองความต้ องการของผู้เรียน
- ทาให้ ผ้ เู รียนเห็นว่ าการเรียนรู้ มคี วามหมายและสามารถนาไปใช้ ในชีวิตได้
เป็ นการปูทางนาไปสู่ การเรียนรู้ ตลอดชีวิต
- ใช้ วธิ ีการให้ ผ้ เู รียนเป็ นศูนย์ กลาง, ใช้ การเรียนการสอนในสถานทีจ่ ริง การใช้ การสอน
แบบธรรมชาติ(non-traditional) การเรียนรู้ แบบมีส่วนร่ วม
ยุทธวิธีที่ 2 พัฒนาปัจจัยสนับสนุนสาหรับการเรียนรู้ชีวติ ตลอดชีวติ
- ใช้ ทรัพยากรท้ องถิ่น
- การประชาสั มพันธ์ กบั โปรแกรมอืน่
- การสร้ างเครือข่ าย
- การให้ เอกชน ชุ มชนมีส่วนร่ วมแบบ Partnership
- การสนับสนุนทางวิชาการ
ยุทธวิธีที่ 3 จัดโปรแกรมทีห่ ลากหลายโดยคานึงถึงความแตกต่ างของผู้เรียน
- ผู้เรียนทีม่ สี ถานภาพทางเศรษฐกิจแตกต่ างกัน
- ผู้เรียนทีม่ พี นื้ ฐานความรู้ แตกต่ างกัน
- ผู้เรียนทีม่ ฐี านะทางสั งคมแตกต่ างกัน
- ต้ องค้ นหาความแตกต่ าง จุดเด่ น มาใช้ ประโยชน์ และตอบสนองความแตกต่ างเหล่ านั้น
ยุทธวิธีที่ 4 พัฒนาทักษะการคิดทีส่ ู งขึน้
- จัดโปรแกรมทีจ่ ะช่ วยให้ ผู้เรียนพัฒนาทรัพยากร การใช้ เหตุผล การแก้ ปัญหา
และการตัดสิ นใจ การวิเคราะห์ และประเมิลข่ าวสารข้ อมูล
- การพัฒนาข้ อมูลและสถานการณ์ ในทางสร้ างสรรค์ และมีจินตนาการใหม่ ๆ
ฝึ กทักษะการคิดแก้ ปัญหาในชีวติ จริง
ยุทธวิธีที่ 5 ต้ องให้ ผู้เรียนใช้ ทกั ษะทีม่ ีอยู่ในชีวติ ประจาวัน
- จัดโปรแกรมทีท่ าให้ ผ้ เู รียนได้ ใช้ พัฒนาทักษะการอ่ าน การเขียน การ
พูด การฟังทีจ่ าเป็ นในชีวติ ประจาวัน
- ส่ งเสริมให้ มกี ารอภิปรายแลกเปลีย่ นในกระบวนการเรียนรู้ ทุก
กิจกรรมทีม่ คี วามหมายและเป็ นประโยชน์ ต่อผู้เรียน
1.หลักการ
-ยืดหยุ่น หลากหลาย
-ทัว่ ถึง ต่ อเนื่อง
-สอดคล้ อง
-ร่ วมมือทุกภาคส่ วน
-ระดมทรัพยากร
4.เป้ าหมายสุ ดท้ าย
-ประชาชนได้ รับการศึกษา
และมีโอกาสในการเรียนรู้ทุก
ช่ วงวัยอย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ
-ประชาชนได้ รับการพัฒนา
ความรู้ทกั ษะ และอุดมคติ
เพือ่ สามารถการดาเนินชีวติ
ได้ อย่ างเป็ นสุ ข
2.กลุ่มเป้ าหมาย
-ทุกกลุ่มประชากร
-ทุกเพศทุกวัย
การศึกษา
ตลอดชีวติ
3.การจัดการเรียนรู้
-ทุกภาคส่ วนจัดกิจกรรมการเรียนรู้
-ใช้ แหล่ งเรียนรู้
-ใช้ สื่อเทคโนโลยีทุกประเภท
-หลักสู ตรหลากหลายสั มพันธ์ กบั
ชีวติ
-ใช้ การเทียบโอนความรู้ และ
ประสบการณ์
-จัดการศึกษาทุกรูปแบบ
www.themegallery.com
ในระบบ,นอกระบบ
,อัธยาศัย
ก้ าวสู่ ประชาคมอาเซียน
: หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม
One vision, one identity, one community
LOGO
เนือ้ หาการบรรยาย
1
ควำมรู้เรื่องอำเซียน
-
2
ก้ำวสู่ประชำคมอำเซียน
3
กำรศึกษำ : รำกฐำนประชำคมอำเซียน
4
แผนยุทธศำสตร์กำรศึกษำของไทย
.
การเตรียมความพรอมด
านการศึ
กษาเพือ
่ กาวสู
้
้
้
่ ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558
กฎบัตร
อาเซียน
ประชาคม
อาเซียน
เป็นกรอบปฏิบตั แิ ละวางโครง
สร้างการทางานของอาเซียน
บังคับใช้ 15 ธค 51
ประชำคม
กำรเมือง ควำม
มันคง
่
ประชาคม
เศรษฐกิจ
ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
นโยบาย 5 ข้อ
เพือ
่ ขับเคลือ
่ น
การศึ กษาในอาเซี ย นของประเทศ
ไทย
นโยบำยที่ ๑ เผยแพร่ ควำมรู ้ ข้อมูลข่ำวสำร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ
อำเซียน
นโยบำยที่ ๒ พัฒนำศักยภำพของนักเรี ยน นักศึกษำ และประชำชนให้
มีทกั ษะที่เหมำะสมเพื่อเตรี ยมควำมพร้อมในกำรก้ำวสู่ ประชำคมอำเซียน เช่น
ควำมรู ้ภำษำอังกฤษ ภำษำเพื่อนบ้ำน เทคโนโลยีสำรสนเทศ
โยบำยที่
๓
พัฒนำมำตรฐำนกำรศึกษำเพื่อส่งเสริ มกำรหมุนเวียนของ
นักศึกษำและครู อำจำรย์ในอำเซียน
นโยบำยที่ ๔ เตรี ยมควำมพร้อมเพื่อเปิ ดเสรี กำรศึกษำในอำเซียนเพื่อรองรับกำร
ก้ำวสู่ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
นโยบำยที่ ๕ พัฒนำเยำวชนเพื่อเป็ นทรัพยำกรสำคัญในกำรก้ำวสู่ ประชำคม
อำเซียน
สรางความเข
าใจเกี
ย
่ วกับ
้
้
กฎบัตรอาเซียน ส่งเสริม
ประชาธิปไตย
สิ ทธิ
มนุ ษยชน
คานิ
ย
มทาง
่
วัฒนธรรม จัดงาน
ฉลองวันอาเซียน
จัดทำกรอบกำรพัฒนำทักษะ ระบบ
ถ่ ำ ยโอนนั ก เรี ยน เคลื่ อนย้ ำ ย
แรงงำน พัฒ นำมำตรฐำนอำชี พ ต่ อ
ควำมต้องกำรภำคอุตสำหกรรม
กำรสอนเรื่ องอำเซี ย นในโรงเรี ยน
กำหนดให้ภ ำษำอำเซี ย นเป็ นวิ ชำเลื อ ก
สร้ ำ งควำมตระหนั ก เกี่ ย วกับ อำเซี ย น
ส่ งเสริ มกำรวิจัย สร้ ำงควำมเข้ำใจและ
ตระหนักรับรู ้ในเรื่ องสิ่ งแวดล้อม
การศึ กษาเพือ
่
สร้างเศรษฐกิจ
การศึ กษาเพือ
่ สราง
้
สั งคมและวัฒนธรรม
การศึ กษาเพือ
่ สราง
้
การเมืองและความมัน
่ คง
1 แผนงานจัดตั้งประชาคม
สั งคมวัฒนธรรมอาเซียน
กำรศึกษำ
ยุทธศาสตร ์ 1 สรางความ
้
ตระหนักเกีย
่ วกับอาเซียน
ยุทธศาสตร ์ 2.1 สร้ างโอกาสใน
การได้รับการศึกษาในระดับประถม
และมัธยมศึกษา
ยุทธศาสตร ์ 2.2 การเพิ่ม
คุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวติ และพัฒนาอาชีพ
ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรเคลื่อนย้ำยข้ำม
พรมแดนและจัดกำรศึกษำให้เป็ นสำกล
นโยบายในการเตรียมความพร้ อมเพือ่ ก้ าวสู่ ประชาคมอาเซียน
ด้ านการศึคษาของประเทศไทย
โดยอ้างอิงจากกรอบการ
ดาเนินงานของอาเซียน หมายเลข 1-4 ของแผนภูมิ
2 ปฏิญญาชะอา-หัว
หิน ดานการศึ
กษา
้
ของอาเซียน
3 แผน 5 ปี กำรศึกษำ
ของอำเซียน
4 แผนปฏิบต
ั ก
ิ าร
อาเซียน
+3
(2553-2560)
การศึ กษาและการฝึ กอบรมเพือ
่ แก่
เด็กและเยาวชน
3) การส่งเ2) การสรางเครื
อขาย
้
่
การวิจย
ั และพัฒนาระหวางสถาบั
น
่
สริมความรวมมื
อดานการศึ
กษา
่
้
ระดับอุดมศึ กษา
4)
สนับสนุ นการวิจย
ั และการ
แลกเปลีย
่ นทุนและนักวิชาการ
5)
การเรงรั
่ ดการออกวีซ่าให้แก่
นักเรียน และนักวิชาการ
6)
การปลูกฝังเอกลักษณเอเชี
ย
์
ตะวันออก
1)
จุดเริ่มต้นของอำเซียน
สมำคมแห่งประชำชำติเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ก่อตัง้ โดยปฏิญญำกรุงเทพ
(Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหำคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์การก่อตัง้ อาเซียน
ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือในทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
ส่งเสริมสันติภาพและความมันคงส่
่ วนภูมภิ าค
ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็ นอยู่
และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
ควำมหมำยของตรำสัญลักษณ์อำเซียน
สีน้าเงิน สันติภาพและความมันคง
่
สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้ า
สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง
สีขาว ความบริสทุ ธ์ ิ
รวงข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้าหนึ่ งใจเดียว
วงกลม แสดงถึงความเป็ นเอกภาพ
อำเซียนเริ่มต้นด้วยสมำชิกห้ำประเทศ
คือ อินโดนี เซีย มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
•
•
•
•
ต่อมำมีสมำชิกใหม่เพิ่มขึน้ อีกห้ำประเทศ
ได้แก่ บรูไน ดำรุสซำลำม เวียดนำม
สปป ลำว พม่ำ และกัมพูชำ
หลักการพืน้ ฐานของอาเซียน
กำรตัดสินใจโดย
หลักฉันทำมติ
กำรไม่แทรกแซง
กิจกำรภำยในของกัน
และกัน
ควำมร่วมมือเพื่อ
พัฒนำอำเซียน
ความเป็ นอยู่ที ่
ดีของประชาชน
ประชาคมอาเซียน
คำว่ำ ประชำคมอำเซียน ปรำกฏครัง้ แรกอย่ำงเป็ นทำงกำร ในปฏิญญำ
สมำนฉันท์อำเซียน ฉบับที่ 1 ที่เกำะบำหลี อินโดนี เซีย
ในวันที่ 24 กุมภำพันธ์ 2519 กล่ำวว่ำ
รัฐสมำชิกต้องพัฒนำกำรรับรู้อย่ำงแข็งขันในเรื่องอัตลักษณ์ ภมู ิ ภำค และ
ต้องใช้ควำมพยำยำมทุกอย่ำงในอันที่จะสร้ำงประชำคมอำเซียนทีเ่ ข้มแข็ง
เป็ นที่เคำรพของทุกชำติ และให้ควำมเคำรพต่อทุกประเทศ บนพืน้ ฐำน
ของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกันที่มีผลประโยชน์ ร่วมกัน ตำมหลักกำร
ตัดสินใจด้วยตนเอง อธิปไตยที่เท่ำเทียมกัน และกำรไม่แทรกแซงใน
กิจกำรภำยในของชำติอื่น”
“วิสยั ทัศน์ อำเซียน ๒๐๒๐”
• ปี ๒๕๔๐ ผู้น ำอำเซี ย นให้ ก ำรรับ รอง “วิ ส ัย ทัศ น์ อ ำเซี ย น ๒๐๒๐”
(ASEAN Vision 2020)
• เพื่อสร้ำงควำมสมำนฉันท์ของประชำชำติเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ มุ่ง
ปฏิส มั พันธ์ก บั โลกภำยนอก กำรด ำรงชี วิ ตอย่ ำ งสันติสุข ควำมมันคง
่
และควำมมังคั
่ ง่ ควำมเป็ นหุ้นส่ วนร่วมกันในกำรพัฒนำอย่ำงมี พลวัตร
และในประชำคมแห่ ง สัง คมที่ เอื้ ออำทร ควำมสมำนฉั นท์ และนำไปสู่
ควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจอย่ำงใกล้ชิดมำกขึน้ ภำยในอำเซียน
ปฏิญญำบำหลี ฉบับที่ ๒ (Bali Concord II
• มี เป้ ำหมำยไปสู่ก ำรรวมตัว ของอำเซี ย นในลัก ษณะกำรเป็ นชุม ชนหรือ
ประชำคมเดียวกันให้สำเร็จภำยในปี ๒๕๖๓
• ต่อมำในกำรประชุมสุดยอดอำเซี ยน ครัง้ ที่ ๑๒ เมื่อเดือนมกรำคม ๒๕๕๐
ที่ เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ ผู้นำประเทศอำเซี ยนตกลงที่ จะเร่งรัดกระบวนกำร
สร้ำงประชำคมอำเซียนให้แล้วเสร็จภำยในปี ๒๕๕๘
โครงสร้ำงของประชำคมอำเซียน
ASEAN Community
by 2015
ASEAN Political
Security Community
ASEAN Economic
Community
ASEAN Socio-cultural
Community
ประชาคมอาเซียน
๑) ประชำคมกำรเมืองและควำมมันคงอำเซี
่
ยน
ประเทศในภูมิภำคอยู่ร่วมกันอย่ำงมีสนั ติ มีระบบแก้ไขควำมขัดแย้งระหว่ำงกัน
ได้ด้วยดี มีเสถียรภำพอย่ำงรอบด้ำน มีกรอบควำมร่วมมือเพื่อรับมือกับภัย
คุกคำมควำมมันคงทั
่
ง้ รูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชำชนมีควำม
ปลอดภัยและมันคง
่
๒) ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน มุ่งให้เกิดกำรรวมตัวกันทำงเศรษฐกิจ และ กำร
อำนวยควำมสะดวกในกำรติดต่อค้ำขำยระหว่ำงกัน อันจะทำให้ภมู ิ ภำคมีควำม
เจริญมังคั
่ ง่ และสำมำรถแข่งขันกับภูมิภำคอื่นๆได้ เพื่อควำมอยู่ดีกินดีของ
ประชำชนในประเทศอำเซียน
๓) ประชำคมสังคมและวัฒนธรรมอำเซียน ประชำชนอยู่ร่วมกันภำยใต้แนวคิด
สังคมที่เอื้ออำทร มีสวัสดิกำรทำงสังคมที่ดี และมีควำมมันคงทำงสั
่
งคม
กฏบัตรอำเซียน
 ชำติสมำชิกให้สตั ยำบันกฎบัตรอำเซียนอย่ำงเป็ นทำงกำร ในกำรประชุมสุด
ยอดอำเซียน ครัง้ ที่ ๑๓ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกำยน ๒๕๕๐
เป็ นเสมือนธรรมนูญของอำเซียนที่วำงกรอบทำงกฎหมำยและโครงสร้ำง
องค์กร จัดระบบกำรทำงำนและบริหำรกลไกควำมร่วมมือระหว่ำงกัน
โดยเฉพำะกำรรวมตัวเป็ นประชำคมอำเซียน ภำยในปี ๒๕๕๘
กฏบัตรอำเซียน
• วัต ถุป ระสงค์ ได้ แ ก่ ก ำรส่ ง เสริม ควำมร่ ว มมื อด้ ำ นกำรเมื อ งควำมมันคง
่
เศรษฐกิ จ และสัง คมวัฒ นธรรม สร้ ำ งตลำดและฐำนกำรผลิ ต เดี ย วที่ มี
เสถี ย รภำพ ควำมมังคั
่ ง่ มี ค วำมสำมำรถในกำรแข่ ง ขัน สนั บ สนุ น กำร
พัฒนำอย่ำงยังยื
่ น กำรอนุรกั ษ์มรดกทำงวัฒนธรรมในภูมิภำค และคุณภำพ
ชีวิตที่ดีของประชำชนในภูมิภำค
• ส่งเสริมกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ในเรื่องกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ตลอด
ชี วิ ต วิ ท ยำศำสตร์ แ ละเทคโนโลยี เ พื่ อ เสริ ม สร้ ำ งพลัง ประชำชนและ
เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งแห่งประชำคมอำเซียนที่มีประชำชนเป็ นศูนย์กลำง
แผนงำนกำรจัดตัง้ ประชำคมสังคมและ
วัฒนธรรมอำเซียน (พ.ศ ๒๕๕๒-๒๕๕๘)
• ประชำคมอำเซี ยนที่ มีประชำชนเป็ นศูนย์กลำงและมีสงั คมที่ รบั ผิดชอบ
เพื่อก่อให้เกิดควำมเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันและควำมเป็ นเอกภำพในหมู่
ประชำชำติและประชำชนอำเซียน
• เสริ ม สร้ ำ งอัต ลัก ษณ์ ร่ ว มกัน และท ำให้ เ กิ ด เป็ นสัง คมที่ เ อื้ อ อำทรและ
แบ่ ง ปั น ซึ่ ง จะท ำให้ คุณ ภำพชี วิ ต และควำมเป็ นอยู่ แ ละสวัส ดิ ก ำรของ
ประชำชนดีขึน้
• สำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำรของภูมิภำค
อำเซียนจะส่งเสริมกำรเป็ นอยู่และคุณภำพชีวิตที่ดีของประชำชน
จัดให้ประชำชนเข้ำถึงโอกำสทำงกำรศึกษำอย่ำงเที่ยงธรรมในกำรพัฒนำด้ำนต่ำงๆ
ส่งเสริมและลงทุนในด้ำนกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ ตลอดชีวิต
กำรฝึ กอบรมและกำรเสริ ม สร้ ำ งขี ด ควำมสำมำรถ ส่ ง เสริ ม นวัต กรรมและกำร
ประกอบกำร
 ส่งเสริมกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ในกำร
ดำเนินกิจกรรมด้ำนสังคมและเศรษฐกิจ
 ได้ให้ควำมสำคัญต่อกำรบูรณำกำรด้ำนกำรศึกษำให้เป็ นวำระของอำเซี ยนด้ำนกำร
พัฒนำ
 กำรสร้ำงสังคมควำมรู้ โดยเข้ำถึงกำรศึกษำอย่ำงทัวถึ
่ ง ส่งเสริมกำรเลี้ยงดูและพัฒนำ
เด็กปฐมวัย และกำรปลูกฝังเรื่องของอำเซียนในกลุ่มเยำวชนผ่ำนทำงกำรศึกษำ และ
กิจกรรมต่ำงๆ เพื่อสร้ำงอัตลักษณ์อำเซียน




แผนปฏิบตั ิ กำรประชำคมสังคมและวัฒนธรรมอำเซียน
• กำรสร้ำงประชำคมแห่งสังคมที่เอื้ออำทร
• กำรแก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่ องมำจำกกำรรวมตัวทำง
เศรษฐกิจ
• กำรส่งเสริมควำมยังยื
่ นของสิ่งแวดล้อมและกำรจัดกำรดูแล
สิ่งแวดล้อมอย่ำงถูกต้อง
• กำรเสริมสร้ำงรำกฐำนสู่กำรเป็ นประชำคมอำเซียนในปี
พ.ศ 2558
กำรศึกษำ: รำกฐำนกำรสร้ำงประชำคม
• เป็ นส่วนหนึ่ งของควำมร่วมมือเฉพำะด้ำนของอำเซียน เริ่มตัง้ แต่ทศวรรษแรก
ของกำรก่อตัง้ อำเซียน เมื่อมีกำรจัดกำรประชุมด้ำนกำรศึกษำ ASEAN
Permanent Committee on Socio-Cultural Activities ครัง้ แรก เดือนตุลำคม
๒๕๑๘
• กำรผลักดันให้ควำมร่วมมือด้ำนกำรศึกษำของอำเซียนมีลกั ษณะทำงกำรและ
มีผลในเชิงนโยบำยและในเชิงปฏิบตั ิ มำกขึน้ ด้วยกำรยกระดับควำมร่วมมือนี้ สู่
ระดับรัฐมนตรีอำเซียนด้ำนกำรศึกษำ โดยกำรประชุมระดับรัฐมนตรีศึกษำ
อำเซียนด้ำนกำรศึกษำ หรือที่เรียกว่ำ Meeting of ASEAN Ministers of
Education จัดขึน้ ครัง้ แรก เดือนธันวำคม ๒๕๒๐
ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน
• ประเทศไทยมีบทบำทสำคัญในกำรผลักดันให้เกิดควำมร่วมมือด้ำน
กำรศึกษำเพื่อก้ำวสู่ประชำคมอำเซียน โดยได้เสนอปฏิญญำ ชะอำ-หัวหินว่ำ
ด้วยกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือด้ำนกำรศึกษำเพื่อสร้ำงประชำคมอำเซียนที่
เอื้ออำทรและแบ่งปันภำยในปี ๒๕๕๘ ต่อผูน้ ำอำเซียน เพื่อให้กำรรับรองใน
ระหว่ำงกำรประชุมสุดยอดอำเซียน ครัง้ ที่ ๑๕ ณ ชะอำ-หัวหิน ประเทศไทย
การปรับโครงสร้ างอาเซียน การศึกษา
ในปี ๒๕๔๙ ประเทศสิงคโปร์ได้จดั กำรประชุมรัฐมนตรีศึกษำอำเซียนครัง้
ที่ ๑ ขึน้ ในวันที่ ๒๑ มีนำคม ๒๕๔๙ ลักษณะคู่ขนำนกับกำรประชุม
สภำรัฐมนตรีศึกษำแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ครัง้ ที่ ๔๑ และจำกนัน้ มำ
กำรประชุมในลักษณะคู่ขนำนเช่นนี้ ได้ดำเนินกำรต่อเนื่ องมำจนถึง
ปัจจุบนั
กำรประชุมรัฐมนตรีศึกษำอำเซียน ครัง้ ที่ ๖
กำรรำยงำนกำรยกร่ ำ งแผน ๕ ปี ด้ ำ นกำรศึ ก ษำของอำเซี ย น
ที่ ประชุมฯ ได้ เห็นชอบร่ำงขอบเขตกำรดำเนินงำนของกำรประชุม
เจ้ำหน้ ำที่ อำวุโสด้ำนกำรศึกษำของอำเซี ยน + ๓ กำรจัดกำรประชุม
เจ้ำหน้ ำที่อำวุโสด้ำนกำรศึกษำของอำเซี ยน + ๓ กำรจัดกำรประชุม
เชิ งปฏิ บัติ ก ำรเรื่ อ ง ควำมร่ ว มมื อ ด้ ำ นกำรศึ ก ษำเพื่ อ เสริ มสร้ ำ ง
ศักยภำพชุมชนและกำรแข่งขันในภูมิภำคเอเชียตะวันออก
ยุทธศำสตร์ ๕ ปี ด้ำนกำรศึกษำของอำเซียน
๒๕๕๔-๒๕๕๕
ยุทธศำสตร์ที่ ๑ กำรเสริมสร้ำงควำมตระหนักเกี่ยวกับอำเซียน
ด้วยกำรเสริมสร้ำงควำมตระหนักและค่ำนิยมร่วมกำรเป็ นประชำชน
อำเซียนในสังคมทุกระดับ รวมทัง้ ในสำขำกำรศึกษำ
ยุทธศำสตร์ ประกอบด้วยกำรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกำรจัดทำรูปแบบ
โครงกำรอำเซียนศึกษำในภูมิภำค กำรจัดกำรเรียนกำรสอน เรื่องอำเซียน
ในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำ กำรจัดทำ
โครงกำรฝึ กอบรมครูและพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอนภำยในภูมิภำค
รวมทัง้ กำรสนับสนุนให้มีกำรแลกเปลี่ยนนักศึกษำ และกำรแลกเปลีย่ น
วัฒนธรรม
ยุทธศำสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้ำงโอกำสในกำรได้รบั
กำรศึกษำในระดับประถมและมัธยมศึกษำ
เพื่อบรรลุเป้ ำหมำยกำรจัดกำรศึ กษำเพื่อปวงชน จำกกำรประชุมโลกว่ำ
กำรศึกษำเพื่อปวงชน เมื่อปี ๒๕๓๓ ซึ่ งประเทศสมำชิกอำเซี ยนได้ให้กำร
รับรองกำรสร้ำงโอกำสกำรเรี ยนรู้และส่ งเสริมให้ มีก ำรจัดกำรศึ กษำใน
ระดับประถมศึกษำทัวโลกและให้
่
มีกำรลดอัตรำผู้ไม่ร้หู นังสือ และต่ อมำ
ประชำคมโลกได้กำหนดเป้ ำหมำยเพื่อให้ ทวโลกบรรลุ
ั่
เป้ ำหมำยกำรจัด
กำรศึกษำเพื่อปวงชนภำยในปี ๒๕๕๘
ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัดมาตรฐาน
การศึกษา การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาอาชีพ
 กำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำในระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำ
ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำทัง้ ในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน
ส่งเสริมโอกำสให้มีกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ประชำชนทุกคนสำมำรถ
ศึกษำอย่ำงต่อเนื่ อง
กำรส่งเสริมให้มีกำรประกันคุณภำพและกำรเพิ่มคุณค่ำแก่กลวิธีใหม่ๆ และ
นวัตกรรมเพื่อฝึ กอบรมครูและผูน้ ำกำรศึกษำ
ส่งเสริมกำรใช้ประโยชน์ จำกข้อมูลข่ำวสำรและเทคโนโลยีกำรสื่อสำร
กำรแบ่งปันแนวปฏิบตั ิ ที่ดีเกี่ยวกับกำรประเมินนักเรียน
กำรจัดตัง้ เครือข่ำยย่อยสำหรับเสริมสร้ำงศักยภำพครู
กำรสนับสนุนให้มีกำรจัดทำกรอบกำรประกันคุณภำพครูในภูมิภำค
กำรส่งเสริมให้มีกำรพัฒนำอำชีพครูและผูบ้ ริหำรโรงเรียนอย่ำงต่อเนื่ อง
กำรแลกเปลี่ยนแนวปฏิบตั ิ ที่ดีในกำรสร้ำงแรงจูงใจครู
กำรส่งเสริมโครงกำรเทียบโอนหน่ วยกิตของครูและกำรเคลื่อนย้ำยครู
กำรเสริมสร้ำงศักยภำพเกี่ยวกับกำรบริหำรโรงเรียน
ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรเคลื่อนย้ำยข้ำมพรมแดนและกำรจัด
กำรศึกษำให้มีควำมเป็ นสำกล
๑) กำรจัดกำรศึกษำแก่ผเ้ ู รียนเป็ นไปเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของ
ตลำดแรงงำนและสภำพเศรษฐกิจของยุคโลกำภิวตั น์ ซึ่งต้องอำศัย
แรงงำนที่มีทกั ษะและควำมชำนำญกำรสูง และสำมำรถเคลื่อนย้ำย
๒) กำรจัดกำรศึกษำในระดับอุดมศึกษำจำเป็ นต้องได้รบั กำรพัฒนำในด้ำน
คุณภำพ
๓) สังคมเศรษฐกิจควำมรู้ทำให้ประเทศต่ำงๆ มีควำมต้องกำรแรงงำนทีม่ ี
ทักษะสูง ที่จำเป็ นจะต้องได้รบั พัฒนำควำมเชี่ยวชำญภำยใต้กำรจัด
โครงกำรทำงกำรศึกษำเฉพำะด้ำน
กำรแบ่งปันควำมรู้เกี่ยวกับทรัพยำกรในภูมิภำคและกำรเชื่อมโยงของประเทศ
สมำชิกอำเซียน เช่น กำรจัดประชุมวิชำกำรเกี่ยวกับควำมเป็ นสำกลของ
มหำวิทยำลัย กำรแบ่งปันทรัพยำกรห้องสมุดและฐำนข้อมูลระหว่ำงประเทศ
สมำชิกอำเซียนและกำรจัดทำศูนย์กำรเรียนรู้
กำรส่งเสริมกำรดำเนินกิจกรรมต่ำงๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดกำรแลกเปลี่ยน
นักเรียน และทุนกำรศึกษำในทุกระดับ
กำรจัดทำแผนปฏิบตั ิ กำรระดับชำติเพื่อให้สถำบันกำรอุดมศึกษำมีควำมเป็ นสำกล
โดยมุ่งเน้ นที่ยทุ ธศำสตร์ในภูมิภำค เช่น กำรแลกเปลี่ยนนักเรียนในภูมิภำค กำร
แลกเปลี่ยนคณำจำรย์ และจัดโครงกำรฝึ กอบรมด้ำน
ยุทธศำสตร์ที่ 4 กำรสนับสนุนกำรดำเนินงำนขององค์กรรำย
สำขำอื่นๆเพื่อพัฒนำกำรศึกษำ
กำรดำเนินงำนของสำขำอื่นๆ ของอำเซียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับกำร
ดำเนินงำนด้ำนกำรศึกษำ เช่น กำรศึกษำด้ำนสภำพแวดล้อม กำรจัดกำร
ด้ำนควำมเสี่ยงและภัยพิบตั ิ กำรจัดกำรศึกษำเพื่อสิทธิมนุษยชน กำร
จัดกำรศึกษำเพื่อกำรป้ องกัน HIV/AIDS
กำรดำเนินงำนด้ำนกำรศึกษำเพื่อขับเคลื่อนสู่
ประชำคมอำเซียนของประเทศไทย
กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของประเทศไทย เพื่อรองรับกำรก้ำวสู่กำรเป็ น
ประชำคมอำเซียน
แก้ไขปัญหำพืน้ ฐำนระยะยำวของประเทศ พร้อมทัง้ ให้ควำมสำคัญต่อคุณภำพ
กำรศึกษำของประเทศ โดยเฉพำะผลสัมฤทธ์ ิ ทำงกำรศึกษำของนักเรียนใน
วิชำ ภำษำไทยภำษำอังกฤษ คณิตศำสตร์ และวิทยำศำสตร์
แผนกำรศึกษำแห่งชำติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) เพื่อพัฒนำคนอย่ำงรอบด้ำน
และสมดุล สร้ำงสังคมไทยให้เป็ นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญำ และกำรเรียนรู้
และพัฒนำสภำพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็ นฐำนในกำรพัฒนำคน
กำรปฏิรปู กำรศึกษำในทศวรรษสอง
เพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำของประเทศ ด้วยกำรผลักดันนโยบำย
เรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้ำงโอกำสกำรศึกษำให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รบั
กำรศึกษำอย่ำงมีคณ
ุ ภำพและต่อเนื่ อง โดยเฉพำะ สร้ำงเด็กให้เป็ นคนดี
คนเก่ง มีควำมสุข มีควำมสำมำรถ สนับสนุนกำรแข่งขันของประเทศ อยู่
ร่วมในสังคมโลกได้อย่ำงยังยื
่ นบนพืน้ ฐำนของควำมเป็ นไทย ส่งเสริม
กำรศึกษำเพื่อสร้ำงควำมเป็ นพลเมือง
กำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์ด้ำนกำรศึกษำใน
กรอบอำเซียนของประเทศไทย
นโยบำยที่ ๑ กำรเผยแพร่ควำมรู้ ข้อมูลข่ำวสำร และเจตคติที่ดี
เกี่ยวกับอำเซียน เพื่อสร้ำงควำมตระหนักและเตรียมควำมพร้อม
ของครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ นักเรียน
นักศึกษำ และประชำชน เพื่อก้ำวสู่ประชำคมอำเซียน ภำยในปี
๒๕๕๘
โครงการ/กิจกรรม
 การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ด้านการศึกษาเพือ่ ก้ าวสู่ ประชาคมอาเซียน ภายในปี
๒๕๕๘ ของประเทศไทย
 จัดโครงการเพือ่ ส่ งเสริมความรู้ ด้านประชาคมอาเซียน ให้ แก่ บุคลากร ข้ าราชการ
และประชาชนทัว่ ไป เช่ น โครงการอบรมและประชุ มปฏิบัติการหลักสู ตรพัฒนา
สมรรถนะข้ าราชการเพือ่ เตรียมการก้ าวสู่ ประชาคมอาเซียน
จัดเวทีวชิ าการเพือ่ ให้ เกิดความรู้ เกีย่ วกับอาเซียน และบูรณาการความร่ วมมือ
ระหว่ างหน่ วยงานที่ดาเนินการอาเซียนด้ านการศึกษาอย่ างสม่าเสมอเพื่อให้ เกิดผล
ปฏิบัตทิ เี่ ป็ นรู ปธรรม
จัดโครงการสั มมนาทางวิชาการเพือ่ สร้ างความร่ วมมือทางการศึกษาในภูมิภาค
อาเซียน
สอดแทรกความรู้ เกีย่ วกับอาเซียนในหลักสู ตรการศึกษาไทยทุกระดับ เพือ่ ให้
ความรู้ และสร้ างเจตคติทดี่ เี ยาวชน และประชาชนชาวไทยเพือ่ พร้ อมก้ าวสู่ การเป็ น
ประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘
นโยบำยที่ ๒ กำรพัฒนำศักยภำพของนักเรียน นักศึกษำ
และประชำชนให้มีทกั ษะที่เหมำะสมเพื่อเตรียมควำมพร้อม
ในกำรก้ำวสู่ประชำคมอำเซียน เช่น ควำมรู้ภำษำอังกฤษ
ภำษำเพื่อนบ้ำน เทคโนโลยีสำรสนเทศ ทักษะและควำม
ชำนำญกำรที่สอดคล้องกับกำรปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทำง
อุตสำหกรรมและกำรเพิ่มโอกำสในกำรหำงำนทำของ
ประชำชน รวมทัง้ กำรพิจำรณำแผนผลิตกำลังคน
โครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาบุคลากรด้ านภาษา เช่ น ภาษาอังกฤษ ภาษาของกลุ่มประเทศ
สมาชิกอาเซียน
โครงการพัฒนาวิชาอาเซียนศึกษา รายวิชาเลือกหรือบูรณาการเนือ้ หาดังกล่ าวลงใน
รายวิชาทีเ่ กีย่ วข้ องตามหลักสู ตรการศึกษานอกระบบ
พ.ศ.๒๕๕๑
จัดกิจกรรม/การแข่ งขันทางวิชาการในอาเซียน
จัดหลักสู ตร การฝึ กอบรม ค่ ายเยาวชน ฯลฯ
นโยบำยที่ ๓ กำรพัฒนำมำตรฐำนกำรศึกษำเพื่อส่ งเสริ มกำร
หมุนเวียนของนักศึกษำและครู อำจำรย์ในอำเซียน รวมทั้งเพื่อให้มี
กำรยอมรับในคุณสมบัติทำงวิชำกำรร่ วมกันในอำเซียน กำรส่ งเสริ ม
ควำมร่ วมมือระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำต่ำงๆ และกำรแลกเปลี่ยน
เยำวชน กำรพัฒนำระบบกำรศึกษำทำงไกล ซึ่งช่วยสนับสนุน
กำรศึกษำตลอดชีวิต กำรส่ งเสริ มและปรับปรุ งกำรศึกษำด้ำน
อำชีวศึกษำและกำรฝึ กอบรมทำงอำชีพทั้งในขั้นต้นและขั้นต่อเนื่อง
ตลอดจนส่ งเสริ มและเพิ่มพูนควำมร่ วมมือระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำ
ของประเทศสมำชิกของอำเซียน
กิจกรรม/โครงการ
จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนำศักยภำพแก่เยำวชนและประชำชนอย่ำงมีคณ
ุ ภำพ
และทัวถึ
่ ง
โครงกำรควำมร่วมมือกับต่ำงประเทศเพื่อพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ
โครงกำรแลกเปลี่ยนครู/ผูส้ อน/นักเรียนในอำเซียน
กำรแลกเปลี่ยนผูฝ้ ึ กอบรมและผูอ้ บรมด้ำนฝี มือแรงงำนในภูมิภำค
จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนำทักษะด้ำนอำชีวศึกษำ เทคนิค และวิชำชีพให้แก่
เยำวชนไทย
นโยบำยที่ ๔ กำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อเปิดเสรีกำรศึกษำใน
อำเซี ย นเพื่ อ รองรับ กำรก้ ำ วสู่ ป ระชำคมเศรษฐกิ จ อำเซี ย น
ประกอบด้วย กำรจัดทำควำมตกลงยอมรับร่วมด้ำนกำรศึกษำ
กำรพัฒนำควำมสำมำรถ ประสบกำรณ์ ในสำขำวิชำชี พสำคัญ
ต่ ำงๆ เพื่อรองรับกำรเปิดเสรีกำรศึกษำ ควบคู่กบั กำรเปิดเสรี
ด้ำนกำรเคลื่อนย้ำยแรงงำน
กิจกรรม/โครงกำร
ดำเนินกำรวิจยั เพื่อศึกษำกฎ ระเบียบ และผลกระทบในกำรเปิดเสรีด้ำน
กำรศึกษำในอำเซียน
ให้ควำมรู้แก่สถำบันกำรศึกษำต่ำงๆ เพื่อเตรียมควำมพร้อมในกำรเปิดเสรี
กำรศึกษำ
เวทีวิชำกำร ดำเนินกำรวิจยั และจัดทำกรณี ศึกษำเพื่อเตรียมควำมพร้อมของ
ประเทศไทยในกำรเปิดเสรีกำรศึกษำ
กำรประชุมทำควำมเข้ำใจระหว่ำงผูบ้ ริหำรสถำนศึกษำภำยใต้สงั กัด
กระทรวงศึกษำธิกำร เพื่อพิจำรณำท่ำที ควำมพร้อมและข้อจำกัดต่ำงๆ ใน
กำรเปิดเสรี
นโยบำยที่ ๕ กำรพัฒนำเยำวชนเพื่อเป็ นทรัพยำกรสำคัญในกำร
ก้ำวสู่ประชำคมอำเซียน
โครงการ/กิจกรรม
กำรจัดค่ำยนักเรียน นักศึกษำ โครงกำรค่ำยกิจกรรมพัฒนำผูเ้ รียน
กำรจัดกีฬำมหำวิทยำลัยอำเซียน มหกรรมดนตรีอำเซียน
กำรจัดสัมมนำวิชำกำรเพื่อเสริมสร้ำงบทบำทเยำวชน
กำรจัดเวทีเยำวชนเพื่อเปิดโอกำสให้เยำวชนได้แสดงควำมคิดเห็นในกำรก้ำว
สู่ประชำคมอำเซียน
บทสรุป
 เตรียมควำมพร้อมของเยำวชนและประชำชนไทยในกำรก้ำวสู่
ประชำคมอำเซียน ภำยในปี ๒๕๕๘
กำรพัฒนำมำตรฐำนกำรศึกษำได้อย่ำงทัดเทียมกับประเทศต่ำงๆ
ในภูมิภำคและนอกภูมิภำค ครู และบุคลำกรกำรศึกษำขอไทยจะ
ได้รบั กำรพัฒนำทักษะที่เหมำะสม พรังพร้
่ อมด้วยภำวะผูน้ ำ มีควำม
เชี่ยวชำญในกำรใช้ภำษำอังกฤษ และภำษำเพื่อนบ้ำน
กำรมีควำมพร้อมที่จะรองรับกำรเปิดเสรีกำรศึกษำตำมข้อตกลง
เปิดเสรีกำรศึกษำอำเซียน ภำยในปี 2558
คาคม
“หลวงพ่อวัดดอนจั่น”
จังหวัดเชียงใหม่

ความสงบเป็ นความสุ ขสู งสุ ด ของมนุษย์

การศึกษาสร้ างความสุ ขที่มเี งือ่ นไข : อยากมี อยากได้
อยากเป็ น

ลิงได้ ทอง ถึงมีค่าก็ไม่ ได้ ประโยชน์ อะไร ไก่ ได้ พลอยก็
เหมือนกัน

ลิงได้ กล้ วยเน่ ายังดีกว่ า ยังมีค่า ลิงยังมีความสุขกว่า

ในปัจจุบัน การเป็ นคน คือ คนดีต้องเหนื่อยยาก เราต้ องทา
ตัวเป็ นคนครึ่ งผีครึ่ งคน ดีบ้างชั่วบ้ างไปตามเรื่ อง อย่ าเป็ นคน
ดีอย่ างสมบูรณ์ แบบเพราะโลกทุกวันนีม้ ีแต่ คนครึ่งผีครึ่งคน

ต้ องสอนให้ คนเข้ าใจคนอืน่ ไม่ ใช่ สอนให้ คนเอาแต่ ความพอใจ
ของตน

คนเราต้ องเข้ าใจความเป็ นปกติ ความผิดปกติก็เป็ นสิ่ งปกติ
ให้ เข้ าใจว่ า ปกติกค็ อื ความไม่ ปกติ

ชีวติ คือ ความปกติ ต้ องมีการเปลีย่ นแปลงหมุนเวียนกันไป ความ
ไม่ หยุดนิ่ง ความเปลีย่ นแปลง คือความเป็ นปกติ

โลกแห่ งปัญญา v.s. โลกแห่ งการศึกษา

การศึกษา ทาให้ คนมีแต่ เงื่อนไข

ปัญญาทาให้ คนปลดเปลือ้ งจากเงื่อนไข

การศึกษา เปรียบได้ เหมือนลูกดีต่อพ่ อแม่

ปัญญา เปรียบได้ เหมือนพ่ อแม่ ดตี ่ อลูก

ปัญญาสร้ างความสุ ข ทาอย่ างมีความสุ ข ทาเพราะมีกเิ ลส

ศีล สมาธิ ปัญญา คือความสุ ขทีส่ ุ ดยอด

การศึกษาเป็ นแต่ เพียงความรู้ ข้นั ต่าของมนุษย์ เท่ านั้น

ปัญญาเป็ นความรู้ ข้นั สู ง

ทางานด้ วย ธรรม อย่าสั กแต่ ว่าทา
ขอบค ุณท ุกท่าน
จบการน
าเสนอ
LOGO