การวิจัยทฤษฎีฐานราก Grounded Theory Study

Download Report

Transcript การวิจัยทฤษฎีฐานราก Grounded Theory Study

รศ. ดร. วิโรจน์ สารร ัตนะ
หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย 2556
การวิจัยเชงิ คุณภาพ...สร ้างทฤษฎี
การวิจัยเชงิ ปริมาณ....ทดสอบ
ทฤษฎี
(Deductive)
(Inductive)
/
/
การวิจัยทฤษฎีฐานราก ...
ก า ร วิ จั ย ท ฤ ษ ฎี ฐ า น ร า ก (Grounded
Theory Study)
เป็ นปฏิบต
ั ก
ิ ารเชิง
คุ ณ ภาพอย่ า งเป็ นระบบของการรวบรวม
ข อ้ มู ล การจ าแนกข อ้ มู ล ออกเป็ นหมวด
่
(categories/ themes) และการเชือมโยง
หมวดเหล่ า นั้ น เพื่ อน าเสนอเป็ นทฤษฎี
(theory)
ที่เป็ นกรอบแนวคิด กว า้ งๆ
อ ธิ บ า ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง เ ห ตุ ก า ร ณ์
(events)
กิจกรรม (activities) การ
กระท า (actions) หรือ การมี ป ฏิ ส ัม พัน ธ ์
(interactions) ในประเด็นทีวิ่ จยั
ทฤษฎีทเป็
ี่ นผลจากการวิจยั ทฤษฎีฐานราก
จึงเป็ น “ทฤษฎีเชิงกระบวนการ” (process
Grounded
Theory
Study
Theory
Building
้ อ
ใชเมื
่ .....
่
.....นักวิจยั ต ้องการทราบทฤษฎีหรือคาอธิบายอย่างกว ้างๆ ทีจะ
นามาอธิบายกระบวนการนั้นๆได ้อย่างเหมาะสมและอย่าง
สอดคล ้องกับบริบทจากข ้อมูลฐานราก ไม่เป็ นทฤษฎีทหยิ
ี่ บยืมมา
จากเอกสารตารา แต่เป็ นทฤษฎีทสอดคล
ี่
้องกับสถานการณ์ กับ
่ างาน และ
การปฏิบต
ั จิ ริง กับความรู ้สึกนึ กคิดของคนในทีท
่ บซบั ซ ้อน ซึงสามารถน
่
ครอบคลุมถึงข ้อเท็จจริงทีสลั
าไปอ ้างอิง
(generalizable) ได ้ในระดับหนึ่ ง เป็ นทฤษฎีในระดับกลาง
(middle range theory) แมไ้ ม่เทียบเท่ากับทฤษฎีใหญ่
่ เช่น ทฤษฎีพฤติกรรมนิ ยมของ Skinner
(grand theory) อืนๆ
รูปแบบ...
Anselm Strauss
การวิจยั ทฤษฎีฐานรากนั้นมี
หลากหลาย แล ้วแต่ใครจะยึดถือรูปแบบ
ใด แต่สามารถจาแนกได ้ 3 รูปแบบดังนี ้
Barney Glaser
คือ
1) รูปแบบเชิงระบบของ Strauss
and Corbin
้
2) รูปแบบเกิดขึนใหม่
ของ
Kathy Charmaz
Glaser Creswell (2008) กล่าวว่า การเลือกใชรู้ ปแบบสามรูปแบบ
่ ต ้องการเน ้น
ดังกล่าวข ้างต ้น มีข ้อควรพิจารณาหลายประการ เชน
3) รูปแบบการสร
้างของ
กระบวนการเชงิ ระบบมากน ้อยเพียงใด ต ้องการกาหนดหมวดเพือ
่
Charmazการวิเคราะห์ข ้อมูลหรือไม่ สถานะของนักวิจัยเป็ นอย่างไร วิธกี าร
้
ทีใ่ ชในการสรุ
ปผลการวิจัยจะเป็ นการตัง้ คาถามทิง้ ไว ้หลวมๆ หรือ
จะให ้เป็ นข ้อสมมติฐานทีเ่ ฉพาะเจาะจง เป็ นต ้น แต่อย่างไรก็ตาม
รูปแบบเชิงระบบของ Strauss
and Corbin
่ ฒนาเพิมขึ
่ นจากแนวคิ
้
เป็ นรูปแบบทีพั
ดที่ Strauss and
่ นผู้รเิ ริมการวิ
่
Glaser ซึงเป็
จยั ทฤษฎีฐานรากได ้พัฒนาขึน้
่ กนาไปใช ้อย่างแพร่หลายในการ
ในปี 1967 เป็ นรูปแบบทีถู
่ นขันตอนของการวิ
้
วิจยั ทางการศึกษา ทีเน้
เคราะห ์ข ้อมูล
้
ใน 4 ขันตอน
ดังนี ้
○ การเปิ ดรหัส (open coding)
○ การหาแก่นของรหัส (axial coding)
○ การเลือกรหัส (selective coding)
○ การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ ์เชิงเหตุผลหรือแผนภาพ
ของทฤษฎี (development of a logic paradigm or a
visual picture of the theory generated)
การเปิ ดรหัส (open coding)
่
เป็ นการนาเอาข ้อมูลทีรวบรวมได
้
จากแหล่งต่างๆ เช่น การ
สัมภาษณ์ การสังเกต การบันทึก
อนุ ทน
ิ และการสนทนากลุม
่ เป็ น
ต ้น มาจาแนกเป็ น “หมวด”
(category/theme) รวมกันให ้
่ ความหมาย
เป็ นกลุม
่ ทีมี
(meaningful groups)
่
้วย “หมวด
โดยทัวไปจะประกอบด
หลักและหมวดย่อย” (core
categories &
้
้
subcategories) ในขันตอนนี
นักวิจยั จะสามารถกาหนดหมวด
หลักและหมวดย่อยได ้หลายหมวด
หลักและหลายหมวดย่อย ใน
การเปิ ดรหัสดังกล่าว เป็ นไปตาม
หลักการเชิงอุปมาน (inductive)
ของการวิจยั เชิงคุณภาพ (จาก
่
ลักษณะเฉพาะไปสูล
่ ก
ั ษณะทัวไป)
่
่ ้
โดยเริมจากการลงภาคสนามเพื
อให
่ าไปสูก
ได ้ข ้อมูลดิบทีจะน
่ ระบวนการ
ตามลาดับดังนี ้ “ข ้อมูลดิบ –
คุณลักษณะ/ตัวบ่งชี ้ – รหัส/มโนทัศน์
– หมวด” หากหลายๆ “หมวด” จัดให ้
การหาแก่นของรหัส (axial
coding)
เป็ นการเลือก (select) หมวดหลัก จากหมวดใดหมวดหนึ่ ง
่ าหนดได ้ในขันตอนการเปิ
้
ทีก
ดรหัส (one open coding
่ าหนดให ้เป็ น “ปรากฏการณ์หลัก” (core
category) เพือก
่
่วิจ ย
phenomenon)
ของ “กระบวนการ” ในเรืองที
ั
่ ่
จากนั้นเป็ นการกาหนดความสัมพันธ ์ของหมวดหลักอืนที
เหลือ เข า้ กับ ปรากฏการณ์ห ลัก ที่ก าหนดนั้ น โดยหมวด
่
่
หลักอืนเหล่
านั้น บางหมวดเป็ นเงือนไขเชิ
งสาเหตุ (causal
่ งผลต่อปรากฏการณ์หลัก บางหมวดเป็ น
conditions) ทีส่
่ ามาใช ้ หรือเป็ นการกระทา
ยุทธศาสตร ์ (strategies) ทีน
่ ดขึน้ อัน
(action) หรือมีปฏิสม
ั พันธ ์ (interaction) ทีเกิ
่
เป็ นผลจากปรากฏการณ์หลัก นั้น บางหมวดเป็ นเงือนไข
เชิง สถานการณ์ที่มี อ ิท ธิพ ลต่ อ การใช ้ยุ ท ธศาสตร ์/การ
่ ทา้ ยสุงดบริ
กระทา/ปฏิสม
ั พันธ ์ โดยจาแนกออกเป็ นเงือนไขเชิ
บท ้ “รูปแบบความสัมพันธ ์เชิงเหตุผล
จะได
่ ความเฉพาะเจาะจง
(contextual conditions) ทีมี
และ
หรือแผนภาพของทฤษฎี
” (development of
่
เงือนไขสอดแทรก
(intervening conditions)
ที่มี
a logic paradigm
or a visual picture of
้ และบางหมวดเป็ นผลสืบเนืthe
่ องที่เกิtheory
้
ลักษณะกว า้ งขึน
ดขึน
generated) เป็ นรูปแบบ
(consequences) จากการใช ้ยุทธศาสตร ความสั
์/การกระท
ม พัา/
น ธ ์เชิง เหตุผ ล (logic)
ระหว่า ง
ปฏิสม
ั พันธ ์
เ งื่ อ นไ ข เ ชิ ง ส า เ ห ตุ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห ลั ก
การเลือกรหัส
และการพัฒนารู ปแบบความสัมพันธ ์เชิงเหตุผลหรือ
แผนภาพของทฤษฎี
การเลือกรหัส (selective coding) และการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ ์เชิง
เหตุผลหรือแผนภาพของทฤษฎี (development of a logic paradigm
or a visual picture of the theory generated)… เป็ นการ “เขียน
ทฤษฎี” จากรูปแบบความสัมพันธ ์เชิงเหตุผลหรือแผนภาพของทฤษฎี หรือ
่
รูปแบบความสัมพันธ ์เชิงเหตุผลระหว่างเงือนไขเชิ
งสาเหตุ ปรากฏการณ์หลัก
ยุทธศาสตร ์/การกระทา/ปฏิสม
ั พันธ ์ เงื่อนไขเชิงบริบท เงื่อนไขสอดแทรก
่ ดขึน
้ ทีจั
่ ดทาไดใ้ นขันตอนการหาแก่
้
และผลสืบเนื่ องทีเกิ
นของรหัส (axial
coding)
่ บายถึง “กระบวนการ” ในประเด็นการ
เป็ นการเขียนทฤษฎีในลักษณะทีอธิ
วิจยั โดยใช ้เทคนิ ค story line และใช ้บันทึก ส่วนตัว (personal memos)
ที่บัน ทึ กไว เ้ ป็ นข อ้ มู ล ประกอบการเขี ย น โดยนั ก วิ จ ัย จะต อ้ งตรวจสอบ
่
ความสัมพันธ ์เชิงเหตุผล (logic) ระหว่างเงือนไขเชิ
งสาเหตุ ปรากฏการณ์
หลัก ยุ ท ธศาสตร ์/การกระท า/ปฏิ ส ัม พัน ธ ์ เงื่ อนไขเชิง บริบ ท เงื่ อนไข
่ ดขึนอยู
้
่
สอดแทรก และผลสืบเนื่ องทีเกิ
่ตลอดเวลาดดู้วยภซึ
งการด
าเนิ
น
งานตาม
าพหน
้าถั
ด
ไป
้
่
ขันตอนดัง กล่ า ว จะท าให ไ้ ด ้ “ทฤษฎี” (theory)
ทีเกิด จากรู ป แบบ
ความสัมพันธ ์เชิงเหตุผลหรือแผนภาพของทฤษฎีทมี
ี่ ความช ัดแจ ้ง (explicit)
ั พันธ์เชงิ เหตุผลหรือ
รูปแบบความสม
แผนภาพของทฤษฎี
---- ผลจากการวิจัย
(causal-consequencetheoretical framework)
ลักษณะสาคัญของการวิจัย
ทฤษฎีฐานราก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
เป็ นวิธก
ี ารเชิงกระบวนการ (process approach)
เป็ นการเลือกตัวอย่างเชิงทฤษฎี (theoretical
sampling)
เป็ นการวิเคราะห ์ข ้อมูลเชิงเปรียบเทียบอย่าง
ต่อเนื่ อง (constant comparative data
analysis)
มีหมวดหลัก 1 หมวด (a core category)
ก่อให ้เกิดทฤษฎี (theory generation)
มีการบันทึก (memos)
1 . เ ป็ น วิ ธ ี ก า ร เ ชิ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร
(process approach) .... เนื่องจากโลก
่
ทางสัง คมเป็ นเรืองของผู
ค
้ นที่มีป ฏิส ม
ั พัน ธ ์ต่ อ กัน
่ กวิจยั ทฤษฎีฐานรากตอ้ งการทา
เป็ นปฏิสม
ั พันธ ์ทีนั
ความเข ้าใจถึง “กระบวนการ” ของผูค้ นเหล่านั้นกับ
่ าหนด ดังนั้น กระบวนการในการ
หัวขอ้ การวิจยั ทีก
วิจยั ทฤษฎีฐานรากจึงหมายถึงลาดับเหตุการณ์ของ
การกระท าและการมีปฏิสม
ั พันธ ์กัน ของบุค คลและ
่
เหตุการณ์ทเกี
ี่ ยวข
้องกับหัวข ้อการวิจยั






2. เป็ นการเลือกตัวอย่างเชิงทฤษฎี (theoretical sampling)
่
่ เพือการ
่
........... ในการเลือกตัวอย่างบุคคลเพือการสั
มภาษณ์หรือการสังเกต หรืออืนๆ
่
เก็บรวบรวมขอ้ มูลในการวิจยั ทฤษฎีฐานรากนั้นจะแตกต่างจากการวิจยั เชิงคุณภาพอืนๆ
่ คคลทีจะท
่ าให ้
เป็ นการเลือกตัวอย่างเชิงทฤษฎี (theoretical sampling) โดยจะมุ่งไปทีบุ
่ อใหเ้ กิดทฤษฎีเป็ นสาคัญ เช่น ในการศึกษากระบวนการเลือกเพือการเรี
่
ไดข
้ อ้ มูลทีจะก่
ยน
่
่
ต่อในโรงเรียน บุคคลทีจะให
ข
้ อ้ มูลไดด้ ท
ี สุ
ี่ ด คือ นักเรียนและผูป้ กครอง สาหรบั บุคคลอืน
่ ้ นักวิจยั
เช่น ผูบ้ ริหาร ครูผูส้ อน เป็ นต ้น จะมีความสาคัญรองลงไป ดังนั้น ในการวิจยั เรืองนี
่ ้นเก็บข ้อมูลจากนักเรียนและผูป้ กครองก่อนเป็ นลาดับแรก
จะเริมต
่
การรวบรวมข อ้ มู ล ซึงในการวิ
จย
ั นั้ น นั ก วิจ ย
ั อาจใช ว้ ิธ ีก ารสัง เกต การสนทนา การ
้ นทึก
สัมภาษณ์ การบันทึกสาธารณะ บันทึกประจาวันหรืออนุ ทน
ิ ของผูใ้ หข
้ อ้ มูล รวมทังบั
่
ความเห็นส่วนตัวของผูว้ จิ ยั เอง (personal reflections) ซึงในบรรดาวิ
ธก
ี ารเหล่านั้น
นักวิจยั ทฤษฎีฐานรากดูจะใหค้ วามสาคัญกับ “การสัมภาษณ์” ว่าจะช่วยใหไ้ ดข
้ อ้ เท็ จจริง
จากผูใ้ ห ้ข ้อมูลได ้ดีกว่า
่
ในการรวบรวมข อ้ มู ล เพื่อก่อให เ้ กิด ทฤษฎีน้ั น อาจน าแนวคิด เกียวกั
บ กระบวนการเก็ บ
้
รวบรวมข ้อมูลจากรูปแบบเกิดขึนใหม่
ของ Glaser มาใช ้ได ้ เรียกว่า “วิธก
ี ารย้อนไปมา”
่ กวิจยั ได ้รวบรวมข ้อมูล และมีการวิเคราะห ์ข ้อมูล
(zigzag approach) เป็ นกระบวนการทีนั
้ั
่
้
ในทันที ไม่รอจนกว่าจะรวบรวมขอ้ มูลไดท้ งหมด
ซึงการเก็
บรวมรวบขอ้ มูลในลักษณะนี จะ
3. เป็ นการวิ เ คราะห ข
์ อ
้ มู ล เชิง เป รีย บเที ย บอย่ า งต่ อ เนื่ อง
(constant comparative data analysis) .......ในการวิจยั ทฤษฎีฐาน
่
ราก นั ก วิจ ยั จะเกียวข
อ้ งในกระบวนการเก็ บ รวบรวมข อ้ มู ล การจัด กระท ากับ ข อ้ มู ล เพื่อ
่ ม และการเปรียบเทียบสารสนเทศใหม่ทได
จาแนกเป็ น “หมวดๆ” การเก็บสารสนเทศเพิมเติ
ี่ ้
้ เป็ นกระบวนการพัฒ นา “หมวด” ที่เป็ นปฏิบต
กับ “หมวดต่า งๆ” ที่ก าลัง เกิดขึน
ั ิก ารเชิง
่ อเป็ นกระบวนการวิเคราะห ์ข ้อมูล
เปรียบเทียบอย่างต่อเนื่อง (constant comparison) ซึงถื
เชิงอุปมาน (inductive) จากกรณี เฉพาะใหเ้ ป็ นกรณี ทกว
ี่ า้ งขึน้ (from specific to
broad)
เป็ นการเปรีย บเทีย บข อ้ มู ล ระหว่ า งเหตุ ก ารณ์ก บ
ั เหตุ ก ารณ์ (incidents)
่ ไ้ ด ้ “หมวด” ทีมี
่ ฐานราก
เหตุการณ์กบ
ั หมวด (categories) และหมวดกับหมวด เพือให
่ ม้ าในลักษณะเป็ นตัวบ่งชี ้ (indicators) จากหลากหลายแหล่ง
(ground) จากข ้อมูลทีได
แล ้วนามาจัดกลุ่ม (grouping) เป็ นรหัส (codes) ไดห้ ลายรหัส (เช่น รหัส 1 - รหัส 2 รหัส 3 เป็ นต ้น) โดยกระบวนการเปรียบเทียบนี ้ นักวิจยั จะต ้องเปรียบเทียบตัวบ่งชีกั้ บตัวบ่งชี ้
่
รหัสกับรหัส และหมวดกับหมวด อย่างต่อเนื่ องตลอดระยะเวลาของการวิจยั เพือขจั
ดการมี
มากเกินไป (redundancy)
4. มีหมวดหลัก 1 หมวด (a core category) .....ในบรรดา
่ าหนดไดจ้ ากขอ้ มูลทีรวบรวมมา
่
“หมวด” ต่างๆ ทีก
นักวิจยั จะเลือกหมวดหลัก 1 หมวด (a
core category) เป็ น “ปรากฏการณ์หลัก” สาหรบั เสนอทฤษฎีฐานราก นั่นคือ หลังจาก
้ บฐานข อ้ มูล ทีได
่ ม้ า) นักวิจยั จะเลือก
กาหนด “หมวด” ไดจ้ านวนหนึ่ ง (8-10 หมวด ขึนกั
่ นพืนฐานในการเขี
้
่ ยวข
่
หมวดหลัก 1 หมวดเพือเป็
ยนทฤษฎี โดยมีปัจจัยหลายประการทีเกี
้อง
่ ความถีในการเกิ
่
้ การถึงจุดอิมตั
่ วไวและ
กับการเลือก เช่น ความสัมพันธ ์กับหมวดอืน
ดขึน
่ ฒนาเป็ นทฤษฎี- เป็ นต ้น
ง่าย และมีความช ัดเจนทีจะพั
-
-
-
-
-
-
“
”
“
”
5. การก่อให ้เกิดทฤษฎี
(theory generation) .......
้
กระบวนการวิจยั ทุกขันตอนจะน
าไปสู่
การก่อให ้เกิดทฤษฎีจากฐานข ้อมูลที่
นักวิจยั รวบรวมมาได ้ โดย “ทฤษฎี”
จากการวิจยั ทฤษฎีฐานรากนี ้ จะเป็ น
การอธิบายอย่างกว ้างๆ ต่อ
“กระบวนการ” ในหัวข ้อทีวิ่ จยั โดย
ทฤษฎีจากการวิจยั ทฤษฎีฐานราก มี
่ นไปได ้ 3
แนวทางการนาเสนอทีเป็
แนวทาง คือ
 นาเสนอเป็ นรูปแบบความสัมพันธ ์
เชิงเหตุผลหรือแผนภาพของทฤษฎี
(development of a logic
paradigm or a visual coding
paradigm)
6 . มี ก า ร บั น ทึ ก ข อ ง นั ก วิ จ ั ย
(memos) .......โดยตลอดระยะเวลา
ของการวิจยั นั กวิจยั จะตอ้ งบันทึก ข อ้ มูล
ให ค
้ วามคิ ด ค วามเห็ น รวมทั้ ง ความ
่ ตอ
สังหรณ์ใจทีมี
่ ข ้อมูล และต่อ “หมวด” ที่
่
จ าแนกไว ้ ซึงจะเป็
นประโยชน์ต่ อ การได ้
แ น ว คิ ด ที่ จ ะ เ ก็ บ ข ้อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม ห รื อ
ก าหนดแหล่ ง ข อ้ มู ลใหม่ ห รือไม่ อ ย่ า งไร
ตลอดจนการปร บ
ั ขอ
้ มู ล เพื่ อมิ ใ ห เ้ กิ ด
สภาพ “ภูเขาขอ้ มูล” (mountains of
่ อที่
data) นอกจากนั้น ยังใช ้เป็ นเครืองมื
จ ะ ไ ด ้เ ส ว น า กั น เ กี่ ย ว กั บ ท ฤ ษ ฎี ที่ จ ะ
้ อย่ า งไรก็ ต าม ในการวิจ ย
ก่อให เ้ กิด ขึน
ั
ทฤษฎีฐานรากมักจะไม่นาเอา “บันทึก” นี ้
มาเป็ นส่วนหนึ่ งของรายงานการวิจยั ด ้วย
การตรวจสอบความตรง
(validation)
ทฤษฎี (theory)
ที่ ได จ้ าก
กระบวนการวิจ ย
ั ทฤษฎีฐ านราก ควร
ไ ด ้ร ับ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ต ร ง
(validation) ซึง่ Creswell (2008)
Willis (2007) Locke (2001)
Leedy and Ormrod (2001) ต่างมี
ทัศนะตรงกันว่า เป็ นส่วนหนึ่ งของการ
่
วิ จ ัย ทฤษฎี ฐ านรากที่ ส าคัญ ซึงอาจ
กระทาได ้ดังนี ้ เช่น
 การตรวจสอบจากผูม
้ ส
ี ว่ นร่วมใน
่ ยกว่า
การวิจยั ในลักษณะทีเรี
member checks
 การนาไปเปรียบเทียบกับทฤษฎีที่
้ าถามการวิจยั กรณี ใช ้รูปแบบการ
การตังค
วิจยั ทฤษฎีฐานรากเชิงระบบของ Strauss
and้ Corbin
การตังคาถามการวิจยั กรณี ใช ้รูปแบบการวิจยั ทฤษฎีฐานราก
่ ดั เจน
เชิงระบบของ Strauss and Corbin จะใหแ้ นวคิดทีช
่
้ าถามการวิจยั ในเชิงเหตุผลสัมพันธ ์ต่อกันดังนี ้
เกียวกั
บการตังค
ว่า
 ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห ลั ก มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น อ ย่ า งไ ร ( core
phenomenon)
เกิด จากสาเหตุ อ ะไร (causal
conditions)
 ปรากฏการณ์หลัก (core phenomenon) มีอท
ิ ธิพลให ้
เกิ ด การใช ย้ ุ ท ธศาสตร อ์ ะไร /เกิ ด การกระท าอะไร /มี
ปฏิสม
ั พันธ ์กันอย่างไร (strategies/action/ interaction)
่
โดยมีเงือนไขเชิ
งบริบท (contextual conditions) และ
่
่
เงือนไขสอดแทรก
(intervening conditions) อะไรทีมี
อิท ธิพ ลต่ อ การใช ย้ ุ ท ธศาสตร /์ การกระท า/ปฏิ ส ัม พัน ธ ์
(strategies/action/interaction) นั้นด ้วย
 ก า รใ ช ้ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ / ก า ร ก ร ะ ท า / ป ฏิ สั ม พั น ธ ์
(strategies/action/interaction)
ได ก
้ ่อให เ้ กิด ผล
้
สืบเนื่ อง (consequences) อะไรขึนมา
ตอบคาถามการวิจยั กรณี ใช ้รูปแบบการ
วิจยั ทฤษฎีฐานรากเชิงระบบของ Strauss
and Corbin
การหาคาตอบเพื่อตอบคาถามการวิจยั รูปแบบ
การวิจ ย
ั ทฤษฎีฐ านรากเชิง ระบบของ Strauss
and
Corbin
ก็ จะใหแ้ นวคิดการสรุปหรือ
น า เ ส น อ ผ ล ก า ร วิ จั ย ที่ เ ป็ น “ ท ฤ ษ ฎี เ ชิ ง
กระบวนการ” (process
theory)
ที่มี
องค ์ประกอบของทฤษฎีต ามค าถามการวิจ ยั นั้ น
คือ
 ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห ลั ก ( core
phenomenon)
และสาเหตุทท
ี่ าให เ้ กิด
ปรากฏการณ์หลัก (causal conditions)
่ ดขึน้
 ยุทธศาสตร ์/การกระทา/ปฏิสม
ั พันธ ์ทีเกิ
จ า ก อิ ท ธิ พ ล ข อ ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห ลั ก
่
(strategies) เงือนไขเชิ
งบริบท (contextual
conditions)
และเงื่อนไขสอดแทรก
เมื่อไดค้ าตอบมาครบถว้ น นั กวิจยั จะไดผ
้ ล
สรุ ป เป็ น “ทฤษฎี เ ชิง กระบวนการ ” ใน
ลัก ษณะที่เป็ นรูป แบบเชิงทฤษฎีเ ชิง สาเหตุ
แ ล ะ ผ ล สื บ เ นื่ อ ง ที่ เ กิ ด ขึ ้ น ( causalconsequence
theoretical
framework) หรือรูปแบบความสัมพันธ ์เชิง
เ ห ตุ ผ ล ห รื อ แ ผ น ภ า พ ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ห รื อ
รู ป แบบความสัม พัน ธ เ์ ชิง เหตุ ผ ลระหว่ า ง
เงื่ อนไข เชิง สาเหตุ ปรากฏการณ์ ห ลั ก
่
ยุทธศาสตร ์/การกระทา/ปฏิสม
ั พันธ ์ เงือนไข
่
เชิงบริบท เงือนไขสอดแทรก
และผลสืบเนื่ อง
่ ดขึน้
ทีเกิ
ิ ใจ...
หากตัดสน
หากสนใจการทาวิจยั ทฤษฎีฐานราก ควร
้ ล้ ะเอียด อย่างใช ้
ศึกษาระเบียบวิธวี จิ ยั นี ให
่ ้วน รวมทังกรณี
้
ความคิด อย่างถีถ
ตวั อย่าง
่
งานวิ จ ัย หากตัด สิ นใจแน่ นอน ควรเริม
review
หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ใน
่ ม้ ี
ประเด็นทีวิ่ จยั กาหนดไว ้ในบทที่ 2 เพือให
ความไวเชิง ทฤษฎี ใ นช่ว งลงภาคสนาม
ก า ร ก า ห น ด ก ร อ บ แ น ว คิ ดใ น ก า ร วิ จ ั ย
รวมทั้งเพื่ อน าไปอ า้ งอิ งในการอภิ ป ราย
ผลการวิจยั จากภาคสนามจริง
และ... ควรเข ้าร ับการอบรมเทคนิ คการเก็บ
ข ้อมูลเชิงคุณภาพ และการวิเคราะห ์ข ้อมูล
เชิงคุณภาพด ้วยโปรแกรม Atlas/ti
...และศึกษากรณี ตวั อย่าง
ึ ษา
กรณีศก

่ มผูน้ าการ
กัญญา โพธิวฒ
ั น์ (2549) เรืองที
่
่
เปลียนแปลงในโรงเรี
ยนประถมศึกษา: การศึกษาเพือ
สร ้างทฤษฎีฐานราก
http://ednet.kku.ac.th/~edad/OLD/Dissertatio
n_Pdf/Kanya.pdf
่ อนไขความส
่
 สุพจน์ ประไพเพ็ ชร (2551) เรืองเงื
าเร็จ
่ ประสิทธิผลในโรงเรียนชาวไทยภูเขา
ของการบริหารทีมี
http://ednet.kku.ac.th/~edad/OLD/Dissertatio
n_Pdf/Supot.pdf
่
 อภิสท
ิ ธิ ์ บุญยา (2553) เรืองการมี
สว่ นร่วมของชุมใน
โรงเรียนดีเด่นขนาดเล็ก: การวิจยั ทฤษฎีฐานราก
http://ednet.kku.ac.th/~edad/OLD/Apisit.pdf
การวิจัยทฤษฎีฐานราก...ผู ้วิจัย









เป็ นนักวิจยั เชิงคุณภาพ (qualitative researcher)
เป็ นผูส้ ร ้างทฤษฎี (theory builder)
เป็ นนักแปลความ (interpretation)
เป็ นนักสังเกต (observer)
เป็ นนักสัมภาษณ์ (interviewer)
เป็ นนักบันทึกเหตุการณ์ (event recorder)
เป็ นนักสร ้างสรรค ์ (creator)
เป็ นนักนวัตกรรม (innovator)
………………………