ประเทศพม่า กับการล่าอาณานิคมของอังกฤษ

Download Report

Transcript ประเทศพม่า กับการล่าอาณานิคมของอังกฤษ

ประเทศพม่า
กับการล่าอาณานิคมของอังกฤษ
นายมาโนชญ์ มูลทรัพย์
ประวัติความเป็ นมา
ประวัติความเป็ นมา ต่อ
►ประเทศพม่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
เป็ นประเทศที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ มีอารย
ธรรมที่มีความเจริ ญ ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองการ
ปกครอง ศิลปะและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ความ
เป็ นมาของพม่านั้นมีความยาวนานและซับซ้อน มี
ประชาชนหลายเผ่าพันธุ์เคยอาศัยอยูใ่ นดินแดนแห่งนี้
เผ่าพันธุ์เก่าแก่ที่สุดที่ปรากฏได้แก่ชาวมอญ
ประวัติความเป็ นมา ต่อ
►พุทธศตวรรษที่ 13 พม่าได้อพยพลงมาจากบริ เวณพรมแดน
ระหว่างจีนและทิเบต เข้าสู่ที่ราบลุ่มแม่น้ าอิระวดี และได้
กลายเป็ นชนเผ่าส่ วนใหญ่ที่ปกครองประเทศในเวลาต่อมา
ความซับซ้อนของประวัติศาสตร์พม่าเกิดจากการอพยพย้ายถิ่น
ฐานมาของชุมชนต่างๆที่มาอาศัยในลุ่มแม่น้ าอิระวดีทาให้เกิด
การขยายตัวกลายเป็ นเมืองและอาณาจักรในเวลาต่อมา
อาณาจักรมอญ
อาณาจักรมอญ
► มอญ ถือได้วา่ ชนเผ่าแรกที่สามารถสร้างอารยธรรมขึ้นเป็ น
เอกลักษณ์ของตนได้อพยพเข้ามาอาศัยอยูใ่ นดินแดนแห่งนี้เมื่อราว
2,400 ปี และได้สถาปนาอาณาจักรสุ วรรณภูมิ อันเป็ นอาณาจักร
แห่งแรกขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 2 ณ บริ เวณใกล้เมืองท่าตอน
(Thaton)
► ชาวมอญได้รับอิทธิ พลของศาสนาพุทธผ่านทางอินเดียในราวพุทธ
ศตวรรษที่ 2 ซึ่งเชื่อว่ามาจากการเผยแพร่ พระพุทธศาสนาในรัช
สมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช
อาณาจักรพยู หรื อ เพียว
► ชาวพยูหรื อบางที่เราก็เรี ยกว่า เพียว คือกลุ่มที่เข้ามาอาศัยอยูใ่ นดินแดนประเทศ
พม่าตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 4 และได้สถาปนานครรัฐขึ้นหลายแห่ง เช่น 1.
พินนาคา (Binnaka)
2. มองกะโม้ (Mongamo)
3. ศรี เกษตร (Sri Ksetra)
4. เปี ยทะโนมโย (Peikthanomyo)
5. หะลินยี (Halingyi)
มีเมืองอยูภ่ ายใต้อานาจปกครองของชาวพยู 18 เมือง และชาวพยูเป็ นชนเผ่าที่รัก
สงบ ไม่ปรากฏว่ามีสงครามเกิดขึ้นระหว่างชนเผ่าพยู
อาณาจักรพุกาม
► "พุกาม" (Bagan) โดยได้เข้ามาแทนที่อานาจภายหลังจากการเสื่ อม
สลายไปของอาณาจักรชาวพยู
► อาณาจักรพุกามในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธา พระองค์สามารถ
รวบรวมแผ่นดินพม่าให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันสาเร็ จ และเมื่อ
พระองค์ทรงตีเมืองท่าตอนของชาวมอญได้ใน พุทธศักราช 1600
อาณาจักรพุกามก็กลายเป็ นอาณาจักรที่เข้มแข็งที่สุดในดินแดนพม่า
ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 17 ดินแดนในคาบสมุทรสุ วรรณภูมิ
เกือบทั้งหมดถูกครอบครองโดยอาณาจักรเพียงสองแห่ง คือเขมร
(เมืองพระนคร) และพุกาม
อาณาจักรพุกาม ต่อ
► การเสื่ อมของอาณาจักรพุกาม
1. สถาบันกษัตริ ยส์ นับสนุนสถาบันศาสนามากเกินไป
2. จากการรุ กรานของจักรวรรดิมองโกล
- พระเจ้านราธิหบดี ได้ทรงนาทัพสู่ยนู านเพื่อยับยั้งการ
ขยายอานาจของมองโกล แต่เมื่อพระองค์แพ้สงคราม
- พระเจ้านราธิหบดีถูกพระราชโอรสปลงพระชนม์ ทาให้
อาณาจักรมองโกลสามารถเข้าครอบครองดินแดนของ
อาณาจักรพุกามได้ท้ งั หมด
อาณาจักรอังวะและหงสาวดี
► จากการล่มสลายของอาณาจักรพุกาม พม่าได้แตกแยกออกจากกันอีกครั้ง
► มีการสถาปนาอาณาจักรอังวะในปี พุทธศักราช 1907
► ศิลปะและวรรณกรรมของพุกามได้ถูกฟื้ นฟูจนยุคนี้ กลายเป็ นยุคทองแห่ ง
วรรณกรรม
► ดินแดนทางใต้ ชาวมอญได้สถาปนาอาณาจักรของพวกตนขึ้นใหม่อีกครั้ง
ที่หงสาวดี โดยกษัตริ ยธ์ รรมเจดีย ์ เป็ นจุดเริ่ มต้นยุคทองของมอญ ซึ่งเป็ น
ศูนย์กลางของพุทธศาสนานิกายเถรวาทและศูนย์กลางทางการค้าขนาดใหญ่
ในเวลาต่อมา
อาณาจักรตองอู
►อาณาจักรพุกามถูกรุ กรานจากไทใหญ่ ชาวอังวะได้อพยพลงมา
สถาปนาอาณาจักรแห่งใหม่ โดยมีศูนย์กลางที่เมืองตองอู ในปี
พุทธศักราช 2074 พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ ซึ่งสามารถรวบรวม
พม่าเกือบทั้งหมดให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันได้อีกครั้ง ในช่วง
ระยะเวลานี้ ได้มีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่เกิดขึ้นในภูมิภาค
ชาวไทใหญ่มีกาลังเข้มแข็งเป็ นอย่างมากทางตอนเหนือ
►โปรตุเกสได้เริ่ มมีอิทธิ พลในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้และ
สามารถเข้าครอบครองมะละกาได้
อาณาจักรตองอู ต่อ
การที่พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ได้ยา้ ยเมืองหลวงมาอยูท่ ี่เมืองหงสาวดี
เหตุผลส่ วนหนึ่งก็เนื่องด้วยทาเลทางการค้า
► พระเจ้าบุเรงนองได้ข้ ึนครองราชย์สืบต่อจากพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ และ
สามารถเข้าครอบครองอาณาจักรต่าง ๆ รายรอบได้
อาทิ มณี ปุระ (พ.ศ. 2103)
อยุธยา (พ.ศ. 2112)
►
อาณาจักรตองอู ต่อ
► กษัตริ ยแ์ ห่ งราชวงศ์ตองอูจาเป็ นต้องถอนตัวจากการครอบครองดินแดน
ตอนใต้โดยย้ายเมืองหลวงไปอยูท่ ี่เมืองอังวะ พระเจ้าอะนอกะเพตลุน
(Anaukpetlun) พระนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง สามารถรวบรวมแผ่นดิน
พม่าให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันอีกครั้งในพุทธศักราช 2156 พระองค์
ตัดสิ นใจที่จะใช้กาลังเข้าต่อต้านการรุ กรานของโปรตุเกส พระเจ้าธารุ น
(Thalun) ผูส้ ื บทอดราชบัลลังก์ ได้ฟ้ื นฟูหลักธรรมศาสตร์ของอาณาจักร
พุกามเก่า แต่พระองค์ทรงใช้เวลากับเรื่ องศาสนามากเกินไป จนละเลยที่จะ
ใส่ ใจต่ออาณาเขตทางตอนใต้ ท้ายที่สุด หงสาวดี ที่ได้รับการสนับสนุนจาก
ฝรั่งเศสซึ่งตั้งมัน่ อยูใ่ นอินเดีย ก็ได้ทาการประกาศเอกราชจากอังวะ จากนั้น
อาณาจักรของชาวพม่าก็ค่อย ๆ อ่อนแอลง จากการรุ กรานของชาวมอญ
ภาพเจดีย ์ ชเวดากอง
วาดโดยช่างภาพชาวอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2368
ราชวงศ์อลองพญา หรื อ อาณาจักรคองบอง
►ราชวงศ์ อลองพญาได้รับการสถาปนาขึ้นและสร้างความ
เข้มแข็งจนถึงขีดสุ ดได้ภายในเวลาอันรวดเร็ ว พระเจ้า อลอง
พญาซึ่งเป็ นผูน้ าที่ได้รับความนิยมจากชาวพม่า ได้ขบั ไล่ชาว
มอญที่เข้ามาครอบครองดินแดนของชาวพม่าได้ใน พ.ศ. 2296
จากนั้นก็สามารถเข้ายึดครองอาณาจักรมอญได้อีกครั้งใน พ.ศ.
2302 ทั้งยังสามารถกลับเข้ายึดครองกรุ งมณี ปุระได้ในช่วงเวลา
เดียวกัน
ราชวงศ์อลองพญา หรื อ อาณาจักรคองบอง ต่อ
► พระเจ้า อลองพญาสถาปนาเมืองย่างกุง้ เป็ นเมืองหลวงใน พ.ศ. 2303
หลังจากเข้ายึดครองตะนาวศรี (Tenasserim) พระองค์ได้ยาตราทัพเข้า
รุ กรานอยุธยา แต่ตอ้ งประสบความล้มเหลวเมื่อพระองค์ทรงสวรรคตใน
ระหว่างสงคราม
► พระเจ้าสิ นบูหชิน (Hsinbyushin)พระราชโอรส ได้นาทัพเข้ารุ กราน
อาณาจักรอยุธยาอีกครั้งใน พ.ศ. 2309 และประสบความสาเร็ จในปี ถัดมา
ในรัชสมัยนี้ แม้จีนจะพยายามขยายอานาจเข้าสู่ดินแดนพม่า แต่พระองค์ก็
สามารถยับยั้งการรุ กรานของจีนได้ท้ งั สี่ ครั้ง
ราชวงศ์อลองพญา หรื อ อาณาจักรคองบอง ต่อ
► รัชสมัยของพระเจ้าโบดอพญา (Bodawpaya ) พระโอรสอีกพระองค์ของ
พระเจ้าอลองพญา พม่าต้องสูญเสี ยอานาจที่มีเหนืออยุธยาไป แต่ก็
สามารถผนวกดินแดนยะไข่ และตะนาวศรี เข้ามาไว้ได้ ในรัชสมัยของ
พระเจ้าบาคยีดอว์ (Bagyidaw) ครองราชย์ ขุนนางชื่อมหาพันธุละ (Maha
Bandula) เข้ารุ กรานแคว้นอัสสัมได้สาเร็ จ
► เกิดการเผชิญหน้าโดยตรงระหว่างพม่า กับ อังกฤษที่ครอบครองอินเดีย
อยูใ่ นขณะนั้น
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ
► จากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ แล้ว ยุโรปหลายประเทศเร่ ง
พัฒนาศักยภาพทางด้านการเกษตร และอุตสาหกรรม ซึ่งเป็ นที่ตอ้ งการของ
ชาวยุโรป ทาให้เกิดสังคมการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรขึ้นเป็ น
อย่างมาก ยิง่ ในภาคอุตสาหกรรมนั้น เช่น ประเทศ อังกฤษ และฝรั่งเศส ที่
ต้องการผลผลิตทางด้านการเกษตรเพื่อนามาใช้ในประเทศของตนเอง ทาให้
ประเทศเหล่านี้ตอ้ งช่วงชิงอานาจ และ อาณานิคม ในดินแดนต่างๆเพื่อนา
ผลผลิตในพื้นที่ มาใช้ จนเกิดการล่าอาณานิคมของชาวยุโรปในดินแดน
ต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศตน
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ ต่อ
► สาหรับในทวีปเอเชียนั้นอังกฤษ และฝรั่งเศสให้ความสาคัญเป็ นอย่าง
มากเพราะมีทรัพยากรที่มีประโยชน์จานวนมาก จนทาให้เกิดยุคการ
ล่าอาณานิคม โดยเฉพาะในอินเดียที่องั กฤษ และฝรั่งเศสให้
ความสาคัญเป็ นอย่างมาก ในขณะเดียวกันอังกฤษ และฝรั่งเศสก็ให้
ความสาคัญกับประเทศพม่า โดยประเทศฝรั่งเศสต้องการที่จะติดต่อ
กับพม่า อังกฤษมองว่าการที่ฝรั่งเศสจะเข้าไปมีอิทธิพลเหนือ พม่า
นั้นจะทาให้องั กฤษเสี ยผลประโยชน์เป็ นอย่างมากดังนั้นอังกฤษ
จาเป็ นที่จะต้องเข้าแทรกประเทศพม่าก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ายึดครอง
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ ต่อ
► สงครามระหว่าง อังกฤษ และพม่าในครั้งที่หนึ่ ง (พ.ศ. 2367–2369)
► สาเหตุ
- เจ้าเมืองมณี ปุระยกเลิกไม่ส่งเครื่ องราชบรรณาการ
- เจ้าเมืองมณี ปุระได้หนีไปให้เจ้าเมืองกะชาร์ ช่วยเหลือแต่ไม่ได้เข้าไป
อย่างผูล้ ้ ีภยั แต่ ไปในการขับไล่เจ้าเมืองกะชาร์
- เจ้าเมืองกะชาร์ เข้าไปขอความช่วยเหลือจากข้าหลวงอังกฤษ
- สนธิสัญญายันดาโบ (Yandaboo) ทาให้พม่าต้องสู ญเสี ยดินแดนอัสสัม
มณี ปุระ ยะข่าย และตะนาวศรี ไป
มุมมองของนักวิชาการ
เกษตรศิริ . พม่ าประวัติศาสตร์ และการเมือง : มองว่าการที่
อังกฤษจาเป็ นต้องทาสงครามกับพม่านั้นมาจาก 2 ปัจจัยหลักคือ
► 1 การที่พม่าขยายอิทธิ พลไปในพื้นที่ที่องั กฤษยึดครองคือ บริ เวณยะไข่ จิต
ตะกอง และอัสสัม จนกลายเป็ นชนวนของสงครามระหว่างอังกฤษ และ
พม่า
► 2 การขยายอิทธิ พลของอังกฤษจากอินเดีย เข้าสู่ เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เพื่อ
หาทางทาการค้ากับจีน
► ชาญวิทย์
มุมมองของนักวิชาการ ต่อ
สุ นทราวาณิชย์ ผู้แปล . มองว่า การที่องั กฤษ
จาเป็ นต้องเข้ายึดครองพม่านั้นมีสาเหตุมาจากการสกัดกั้นการขยาย
อิทธิพลของฝรั่งเศสในการเป็ นมหาอานาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ดังที่ฝรั่งเศสสามารถครอบครอง เมือง ฮานอย บริ เวณสามเหลี่ยมปาก
แม่น้ าแดง แค้วนตังเกี๋ย และอันนัม ทาให้องั กฤษจาเป็ นต้องเข้ายึด
ครองพม่า
► นินิเมียม . ฉลอง
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ ต่อ
► อังกฤษเริ่ มก็ตน
้ ตักตวงทรัพยากรต่างๆ ของพม่านับแต่น้ นั เพื่อเป็ น
หลักประกันสาหรับวัตถุดิบที่จะป้ อนสู่สิงคโปร์ สร้างความแค้นเคืองให้กบั
ทางพม่าเป็ นอย่างมาก กษัตริ ยอ์ งค์ต่อมาจึงทรงยกเลิกสนธิสญ
ั ญายันดาโบ
และทาการโจมตีผลประโยชน์ของฝ่ ายอังกฤษ ทั้งต่อบุคคลและเรื อ
► สงครามระหว่างพม่าและอังกฤษครั้งที่สอง
อังกฤษได้ผนวกหงสาวดีและพื้นที่ใกล้เคียงเข้าไว้กบั ตน โดยได้เรี ยก
ดินแดนดังกล่าวเสี ยใหม่วา่ พม่าตอนใต้
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ ต่อ
►สงครามครั้งนี้ก่อให้เกิดการปฏิวตั ิครั้งใหญ่ในพม่า เริ่ มต้น
ด้วยการเข้ายึดอานาจโดยพระเจ้ามินดง (Mindon Min)
จากพระเจ้าปะกัน (Pagin Min ) ซึ่ งเป็ นพระเชษฐาต่าง
พระชนนี พระเจ้ามินดงพยายามพัฒนาประเทศพม่าเพื่อ
ต่อต้านการรุ กรานของอังกฤษ
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ ต่อ
►พระองค์ได้สถาปนา
กรุ งมัณฑะเลย์ ซึ่งยากต่อ
การรุ กรานจากภายนอก ขึ้น
เป็ นเมืองหลวงแห่งใหม่ แต่
ก็ยงั ไม่เพียงพอที่จะหยุดยั้ง
การรุ กรานจากอังกฤษได้
วัดชาวอินบิน เมืองมัณฑะเลย์
พระราชวัง มัณฑะเลย์
พระราชวัง มัณฑะเลย์
ทางขึ้นเขามัณฑะเลย์
พม่า ในยุคสงครามกับอังกฤษ ต่อ
► สงครามระหว่างพม่า กับ
อังกฤษ ครั้งที่สามในปี พุทธศักราช 2428
► ผลของสงคราม
- อังกฤษสามารถเข้าครอบครองดินแดนประเทศพม่าส่ วนที่เหลือ
เอาไว้ได้
- อังกฤษยกเลิกระบบกษัตริ ยใ์ นพม่า
- อังกฤษให้ขา้ ราชการท้องถิ่นปกครอง
แทนระบบกษัตริ ย ์ ( ข้าหลวงใหญ่คอยดูแล)
เศรษฐกิจพม่ าในสมัยอาณานิคมของอังกฤษ
►การปกครองพม่าตอนบน
- มีการสนับสนุนให้ประชาชนอพยพลงมาในพม่าตอนล่างเพื่อ
ทา
การเกษตร
►การปกครองพม่าตอนกลาง
- ส่ งเสริ มการปลูกอ้อย ถัว่ ลิสง งา ฝ้ าย ยาสูบ ข้าวสาลี
เศรษฐกิจพม่ าในสมัยอาณานิคมของอังกฤษ
►การปกครองพม่าตอนล่าง
- การสนับสนุนให้พม่าตอนล่างมีการทาในภาคการเกษตร
- เปิ ดดาเนินการกิจการป่ าไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้มีการเพิ่ม
เที่ยวการ
เดินเรื อของบริ ษทั เรื อกลไฟ อิระวดี และมีการสร้างทางรถไฟ
►การแสวงหาผลประโยชน์ของนายทุน
- นายทุนต่างชาติ ชาวจีน และชาวอินเดีย
มุมมองของนักวิชาการ
เกษตรศิริ . พม่ าประวัติศาสตร์ และการเมือง : มองว่า สาหรับ
ในด้านเศรษฐกิจของพม่าในสมัยอาณานิคมของอังกฤษโดยรวม นับได้วา่
การเกษตร การทาเหมือง และการทาไม้ซ่ ึงเป็ นเศรษฐกิจหลักของ พม่า นั้น
มีการขยายตัวในด้านกาลังการผลิตสูงกว่าในยุคกษัตริ ยอ์ ย่างชัดเจน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปริ มาณการผลิตข้าวได้เพิ่มขึ้นหลายเท่าอันเนื่องเพราะมี
การขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวในเขตพม่า ตอนล่าง และยังสามารถส่ งออก
ข้าวในปริ มาณที่สูงมาก )
► ชาญวิทย์
มุมมองของนักวิชาการ
► หม่ องทินอ่ อง . ประวัติศาสตร์ พม่ า :
มองว่าแม้องั กฤษจะเข้ามาพัฒนาใน
ด้านการเกษตรในประเทศก็ตามแต่จุดประสงค์หลักนั้นเพื่อให้ชาวพื้นเมือง
ผลิตสิ นค้าให้กบั ตนมากกว่าผลประโยชน์ของคนพื้นเมืองเอง ขณะที่
การเกษตรมีการเติบโต ชาวไร่ ชาวนาพม่า จึงมีความจาเป็ นด้านเงินทุน แต่
ต้องกูเ้ งินด้วยดอกเบี้ยสูงจากพวกหากินกับเงินกูซ้ ่ ึงส่ วนใหญ่เป็ นพวกแขก
ชิตตี แต่ดว้ ยเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภัยธรรมชาติซ่ ึงทาให้ชาวนาปลูกข้าว
ได้นอ้ ย อีกทั้งจานวนข้าวเท่าที่ผลิตได้ยงั ถูกกดราคาโดยเหล่านายทุน
ต่างชาติ ดังนั้นชาวนาจึงไม่อาจใช้หนี้คืนได้จนที่นาถูกยึดในที่สุด
ลัทธิชาตินิยมในพม่ า
►
ขบวนการลัทธิชาตินิยมใน
พม่า เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิด
จากการปลดปล่อยตนเองให้
เป็ นเอกราช จากอานาจของเจ้า
อาณานิคม ( อังกฤษ )
ขบวนการชาตินิยมเริ่ มแรก
ของพม่า ได้อิทธิพลจากพุทธ
ศาสนา
ลัทธิชาตินิยมในพม่ า
► อังกฤษมิได้ให้ความสนใจในเรื่ องของศาสนา โดยถือ
ว่าตนให้เสรี ภาพกับประชาชนเต็มที่ในเรื่ องของการ
นับถือศาสนา
►เกิดการก่อตั้งสมาคมชาวพุทธหนุ่ม YMBA
►เกิดการประท้วงขึ้นในกลุ่มพระสงฆ์ ( กบฏเกือก )
ในกรณี ที่ฝรั่งเศสสวมรองเท้าเข้าวัด
มุมมองนักวิชาการ
เกษตรศิริ . พม่ าประวัติศาสตร์ และการเมือง :
มองว่าขบวนการชาตินิยมในพม่านั้นมีสาเหตุมุ่งเน้นเรื่ อง
ของศาสนาที่มีความแตกต่างกัน โดยอังกฤษเองไม่ได้ไม่ได้
ให้ความสาคัญกับพระพุทธศาสนาซึ่ งเป็ นศาสนาที่
ประชาชนชาวพม่านับถือ จนทาให้พระสงฆ์ตอ้ งออกมา
ชุมนุมประท้วง และรุ กลามกลายเป็ นขบวนการชาตินิยมของ
กลุ่มนักศึกษาต่อไป
► ชาญวิทย์
มุมมองนักวิชาการ
► ศิวพร
ชัยประสิ ทธิกลุ . ประวัติศาสตร์ เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ในอดีตถึงปัจจุบัน. มองว่า การก่อตัวของขบวนการ
ชาตินิยมนั้นมาจากสาเหตุที่รัฐบาลอังกฤษเข้ามา ควบคุม
นโยบายหลักของประเทศ เกิดการคอรัปชัน่ มากมายใน
นักการเมือง หนังสื อพิมพ์ตกเป็ นเครื่ องมือของนักการเมือง
รัฐบาลไม่สนใจปากท้องของประชาชน จึงเกิดช่องว่าง
ระหว่างประชาชนกับนักการเมืองจึงเป็ นสาเหตุที่นาไปสู่
ขบวนการชาตินิยมในพม่า
ขบวนการชาตินิยมในพม่ า โดยนายพล อองซาน
ขบวนการชาตินิยมในพม่ า โดยนายพล อองซาน ต่ อ
►ออง ซาน (Aung San) หรื อ อู อองซาน (U Aung San)เกิดเมื่อวันที่
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 ในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของส
หราชอาณาจักร ซึ่ งในช่วงนั้นพม่าเป็ นส่ วนหนึ่งของประเทศ
อินเดียที่เป็ นอาณานิคมของ สหราชอาณาจักร เขาเข้าศึกษาที่
มหาวิทยาลัยย่างกุง้ ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และ
ได้รับเลือกให้เป็ นผูน้ านักศึกษา พ.ศ. 2484
ขบวนการชาตินิยมในพม่ า โดยนายพล อองซาน ต่ อ
►ออง ซานได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น โดยเขาได้ก่อตั้ง
กองกาลังปลดปล่อยพม่าที่กรุ งเทพมหานคร ในช่วงสงครามโลก
ครั้งที่สอง ญี่ปุ่นสามารถยึดพม่าจากสหราชอาณาจักรได้
► ญี่ปุ่นได้ประกาศว่าพม่าเป็ นประเทศเอกราช และตั้งออง ซานเป็ น
นายกรัฐมนตรี ออง ซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็ น
ความจริ ง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่ วมกับฝ่ าย
สัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า
ขบวนการชาตินิยมในพม่ า โดยนายพล อองซาน ต่ อ
► อองซานได้ก่อตั้ง องค์การสันนิ บาต
เสรี ภาพแห่งประชาชนต่อต้าน
ฟาสซิ สต์ (Anti-Fascist Peoples
Freedom League : AFPFL) เพื่อต่อต้าน
ญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ อองซานและพรรค
AFPFL ได้เจรจากับอังกฤษ โดย
อังกฤษยืนยันที่จะให้พม่ามีอิสรภาพ
ปกครองตนเองภายใต้เครื อจักรภพ
และมีขา้ หลวงใหญ่องั กฤษประจาพม่า
ช่วยให้คาปรึ กษา
ขบวนการชาตินิยมในพม่ า โดยนายพล อองซาน ต่ อ
►อองซานมีอุดมการณ์ที่ตอ้ งการเอกราชอย่างสมบูรณ์ อังกฤษได้
พยายาม สนับสนุนพรรคการเมืองอื่น ๆ ขึ้นแข่งอานาจกับพรรค
AFPFL ของอองซานแต่ไม่เป็ นผลสาเร็ จ จึงยินยอมให้พรรค
AFPFL ขึ้นบริ หารประเทศโดยมีอองซานเป็ นหัวหน้า อองซานมี
นโยบายสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ และต้องการเจรจากับ
รัฐบาลอังกฤษโดยสันติวธิ ี จึงทาให้เกิดความขัดแย้งกับฝ่ ายนิยม
คอมมิวนิสต์ในพรรค AFPFLจนนาไปสู่การลอบฆ่านายพลออง
ซาน และรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาล
ผลกระทบต่ อประเทศ
► อูนุได้ข้ ึนเป็ นนายกรัฐมนตรี แทนประกาศใช้รัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 17
ตุลาคม 2490 โดยอังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่พม่าแต่ยงั รักษาสิ ทธิทางการ
ทหาร
► 4 มกราคม พ.ศ. 2491 อังกฤษจึงได้มอบเอกราชให้แก่พม่าอย่างสมบูรณ์
► นายอูนุถูกบีบให้ลาออก เมื่อพ.ศ. 2501
► นายพล เนวิน ขึ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี แทนซึ่ งได้ทาการปราบจลาจลและพวก
นิยมซ้ายจัดอย่างเด็ดขาด เขาได้จดั ไห้มีการเลือกตั้งทัว่ ประเทศในพ.ศ. 2503
ทาให้นายอูนุได้กลับมาเป็ นผูจ้ ดั ตั้งรัฐบาลใหม่ เพราะได้รับเสี ยงข้างมากใน
สภา
การได้ รับเอกราชของพม่ าจากประเทศอังกฤษ
► (1 ) รัฐบาลสั นนิบาตอิสรภาพต่ อต้ านฟาสซิส์
( พ.ศ. 2391 – 2501 )
- จัดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทุก 4 ปี
- พรรคสั นนิบาตอิสรภาพต่ อต้ านฟาสซิสต์ ได้ รับเลือกเป็ นรั ฐบาล
- พรรคสั นนิบาตอิสรภาพต่ อต้ านฟาสซิสต์ ประกอบด้ วยสมาชิ กพรรค
ที่
มีแนวคิดหลากหลายทางการเมือง อาทิ คอมมิวนิสต์ สั งคมนิยม และ
กลุ่มทหารเพือ่ ประชาชน ท้ ายสุ ดได้ ส่งผลให้ เกิดความแตกแยก
การได้ รับเอกราชของพม่ าจากประเทศอังกฤษ ต่ อ
►
(2 ) รัฐบาลรักษาการ ( พ.ศ. 2501 - 2503 )
- เนวินเข้ ารับตาแหน่ งเป็ นนายกรัฐมนตรี พร้ อมบุคคลทางการเมืองอีก 14 คน
เข้ าร่ วมรัฐบาล
- รัฐบาลรักษาการประสบผลสาเร็จเป็ นพิเศษในการรักษาความสงบเรียบร้ อยและ
การรักษากฎหมาย คาสั่ งอภัยโทษถูกยกเลิกและให้ การปราบปรามผู้ก่อการร้ าย
ดาเนินต่ อไป
- กาหนดการปกครองรัฐฉานในรู ปแบบเดียวกับแผ่ นดินหลัก ให้ แบ่ งการปกครอง
เป็ นจังหวัด อาเภอ ตาบล
- แต่ งตั้งรัฐมนตรีกากับกิจการรัฐแต่ ละรัฐสาหรับรัฐกะฉิ่น รัฐคะยา รัฐกะเหรี่ยง
การได้ รับเอกราชของพม่ าจากประเทศอังกฤษ ต่ อ
2503 – 2505 ) )
- ในการเลือกตั้งทีจ่ ัดในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 นั้น กลุ่มของ
พรรคสั นนิบาตอิสรภาพต่ อต้ านฟาสซิสต์ ได้ รับชัยชนะ เปลี่ยนชื่อ
พรรคของตนเป็ นพรรคสหภาพ
- เกิดการแตกแยกภายในพรรคสหภาพเป็ น 2 กลุ่มคือ
( 1 ) กลุ่มตะขิ่น
( 2 ) กลุ่มทหาร
► (3 ) รัฐบาลสหภาพ ( พ.ศ.