การปฏิวตั ิทางการค้า Comercial Revolution Queen Alizabeth 1 Louis 14 การปฏิวตั ิทางการค้า ใน c17-18 -การปฏิวตั ิทางการค้า เป็ นผลมาจากลัทธิพาณิ ชย์นิยม Mercantilism และการเกิดระบบรัฐชาติ Nation State - ระบบรัฐชาติ หมายถึงดินแดน.

Download Report

Transcript การปฏิวตั ิทางการค้า Comercial Revolution Queen Alizabeth 1 Louis 14 การปฏิวตั ิทางการค้า ใน c17-18 -การปฏิวตั ิทางการค้า เป็ นผลมาจากลัทธิพาณิ ชย์นิยม Mercantilism และการเกิดระบบรัฐชาติ Nation State - ระบบรัฐชาติ หมายถึงดินแดน.

การปฏิวตั ิทางการค้า Comercial Revolution
Queen Alizabeth 1
Louis 14
การปฏิวตั ิทางการค้า ใน c17-18
-การปฏิวตั ิทางการค้า เป็ นผลมาจากลัทธิพาณิ ชย์นิยม Mercantilism
และการเกิดระบบรัฐชาติ Nation State
- ระบบรัฐชาติ หมายถึงดินแดน ที่มีองค์ประกอบ ทางภูมิศาสตร์ เชื้อชาติ
ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี มีผลประโยชน์ร่วมกัน ผูค้ นมีความ
จงรักภักดีต่อชาติ มากกว่าสถาบันทางศาสนา เช่น สเปน อังกฤษ ฝรั่งเศส
ฮอลแลนด์ ปรัสเซีย รัสเซีย อิตาลี (กษัตริ ยม์ ีอานาจสมบูรณ์)
- ลัทธิพาณิ ชย์นิยม เป็ นผลมาจากการสารวจดินแดนและการแสวงหาอาณา
นิคม การค้าระหว่างประเทศในยุโรป กับดินแดนโพ้นทะเล ภายใต้การ
ร่ วมมือระหว่างพ่อค้า กับ กษัตริ ย ์
การปฏิวตั ิทางการค้า
การปฏิวตั ิทางการค้ า
หมายถึงการค้ าระหว่ างประเทศ เพือ่ ผลประโยชน์ ของประเทศเป็ นที่ต้งั
ภายใต้ หลักการ ความมั่งคัง่ และอานาจรัฐ
สังคมในยุคนี้จึงเป็ นยุคของการแข่งขันระหว่างรัฐ เพื่อการสร้างความมัง่ คัง่
และแสนยานุภาพของรัฐในด้านต่างๆ จึงมีการเอารัดเอาเปรี ยบ การแก่งแย่ง
แข่งขัน เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ทุกทาง โดยไม่คานึงถึงความสัมพันธ์ที่
พึงมีต่อกันระหว่างรัฐ และนาไปสู่การล่าอาณานิคม และ ลัทธิจกั รวรรดินิยม
ทฤษฎีทางเศรษฐกิจใหม่
อดัม สมิธ
ลัทธิเสรี นิยม Liberalism
อดัม สมิธ ชาวสก๊อตต์ เสนอว่าระบบเศรษฐกิจที่จะทา
ให้รัฐมัง่ คัง่ คือเศรษฐกิจแบบเสรี นิยม Free
Trade หรื อ Laissez-Faire อันเป็ นระบบ
เศรษฐกิจที่จะต้องดาเนไปอย่างเสรี รัฐบาลไม่มี
หน้าที่เข้ามาแทรกแซง หรื อควบคุม แต่มีหน้าที่
เพียงรักษาความสงบภายในรัฐ การแข่งขันอย่างเสรี
จะทาให้เศรษฐกิจมัง่ คัง่
The Wealth of Nations
ทฤษฎีทางเศรษฐกิจใหม่
คาร์ล มาร์กซ์
The Communist Manifesto
ลัทธิสังคมนิยม Socialism
-เป็ นแนวคิดที่เกิดขึ้นเพื่อเรี ยกร้องสิ ทธิและ
ความชอบธรรมให้กรรมกรต่อต้านการเอารัด
เอาเปรี ยบของนายทุน
- มาร์กซ์ นาความคิดสังคมยูโธเปี ยมาปรับปรุ ง
ให้สามารถปฏิบตั ิได้
- รู ปแบบสังคมจไม่มีความแตกต่างระหว่างชนชั้น
และไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ส่วนบุคคล เป็ นสังคมที่มี
ความเสมอภาคอย่างแท้จริ ง
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ c15-18
ความลี้ลบั ของโลกและจักรวาล สามารถอธิ บายได้อย่างมีเหตุผลจาก
ความรู ้ความก้างหน้าทางวิทยาศาสตร์
การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่ถือว่าสุ ดยอดใน
ประวัติศาสตร์โลกตะวันตกโดยทัว่ ไปแล้วมักลง
ความเห็นกันว่าเป็ นของนิโคลัส โคเปอร์นิคสั
(Nicolaus Copernicus ค.ศ.14731543), นักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์, ผูซ้ ่ ึ งขณะนอน
ป่ วยบนเตียงใกล้เสี ยชีวติ เขาได้ตีพิมพ์หนังสื อ
Concerning the Revolutions of the
Heavenly Spheres ซึ่ งเสนอว่าดวงอาทิตย์เป็ น
ศูนย์กลางของระบบจักรวาล โลกและดาวเคราะห์โคจร
รอบดวงอาทิตย์ เป็ นการหักล้างทฤษฎีของปโตเลมี
(Ptolemy หลังค.ศ.83–ค.ศ.161), นักปราชญ์กรี ก,
ที่ระบุวา่ โลกเป็ นศูนย์กลางและดาวเคราะห์หมุนรอบโลก
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์
เกิด ที่เมืองปิ ซา (Pisa) ประเทศอิตาลี (Italy)
ผลงาน - ค.ศ. 1584 ตั้งกฎเพนดูลมั (Pendulum) หรื อกฎ
การแกว่างของนาฬิกาลูกตุม้
กาลิเลโอ
- ค.ศ. 1591 พิสูจน์ทฤษฎีของอาริ สโตเติลที่วา่ วัตถุที่มี
น้ าหนักเบาว่าผิด อันที่จริ งวัตถุจะตกถึงพื้นพร้อมกันเสมอ
- พัฒนากล้องโทรทรรศน์ให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น และ
สามารถส่องดูดาวบนจักรวาลได้
- พบลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์
- พบว่าดาวมีหลายประเภท ซึ่งมีลกั ษณะแตกต่างกัน
ได้แก่ ดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์
- พบทางช้างเผือก (Milky Way)
- พบบริ วารของดาวพฤหัสบดี ว่ามีมากถึง 4 ดวง
- พบวงแหวนของดาวเสาร์ ซึ่งปากฎว่ามีสีถึง 3 สี
- พบว่าพื้นผิวของดาวศุกร์มีลกั ษณะคล้ายกับดวง
จันทร์
- พบจุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sun Spot)
- พบดาวหาง 3 ดวง
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์
- ในยุคของการปฏวัติทางวิทยาศาสตร์ ได้ชื่อว่า ยุคแห่งเหตุผล Age
Of Reason หรื อยุคแห่ งภูมิธรรมAge ofEnlightenment ทาให้
เกิดความก้าวหน้าในวิทยาศาสตร์ดา้ นต่างๆ เช่น ดาราศาสตร์
คณิ ตศาสตร์ รวมทั้งการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ซึ่งส่ งผลมาถึงปัจจุบนั
การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม c 18-19
ค.ศ. 1760 - 1830
สาเหตุที่องั กฤษเป็ นผูน้ าในการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม
-ด้านสังคม ลัทธิพาณิ ชย์นิยม ทาให้องั กฤษประสบความสาเร็ จทางการค้า เกิด
สังคมใหม่ (ชนชั้นกลาง) และประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ทาให้มี
แรงงานเพื่อการผลิต
-ด้านเศรษฐกิจ ระบบการผลิตเพื่อการตลาด และการปฏิวตั ิทางการเกษตร
-ด้านการเมือง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา การเมืองมีเสถียรภาพ การออก
กฏหมายสนับสนุนเช่น กฏหมายการเดินเรื อ กฏหมายการเก็บภาษี
กฏหมายคุม้ ครองการเกษตร
-ด้านเทคโนโลยี มีนกั ประดิษฐ์แสวงหาวิธีการใหม่ๆที่มีประสิ ทธาพ
การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม
Domestic System
นายจ้าง – เจ้าของวัตถุดิบ
ลูกจ้าง – ผลิตที่บา้ นตนเอง
เป็ นเจ้าของเครื่ องมือ
รับค่าตอบแทนตาม
จานวนที่ผลิตได้
Factory System
นายจ้าง – เจ้าของปัจจัยการผลิต
ทั้งหมด เช่นวัตถุดิบ เครื่ องมือ
เครื่ องจักร
ลูกจ้าง – ทางานที่โรงงาน
ค่าจ้างรายวัน
รับ
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
ประเทศอังกฤษ
-อังกฤษ เป็ นแม่แบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยมีพระมหากษัตริ ยอ์ ยูภ่ ายใต้กฏหมายรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็ น
ลายลักษณ์อกั ษร
-ปี ค.ศ.1215 ขุนนางบังคับให้กษัตริ ย ์ คือพระเจ้าจอห์นที่ 5 ทรงยอมรับ
กฏบัตรแมกนา คาร์ตา ถือเป็ นการสละสิ ทธิ์ของพระมหากษัตริ ยท์ ี่อยู่
เหนือกฏหมาย นาไปสู่การตั้งรัฐสภา คือสภาขุนนาง และสภาสามัญ
-Magna Carta 1215 ถือเป็ นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของโลก เพราะระบุถงึ
สิ ทธิเสรี ภาพของประชาชน(กาจัดอานาจกษัตริ ย)์
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
โอลิเวอร์ครอมเวลล์
- กษัตริ ยอ์ งค์ต่อๆมาพยายามละเมิดกฏบัตรเกิด
ความขัดแย้งระหว่างกษัตริ ย ์ กับรัฐสภาเสมอ
-สงครามกลางเมืองระหว่าง ฝ่ ายกษัตริ ย ์ (พระเจ้า
ชาร์ลที่ 1) และสภาสามัญชน มีผลทาให้ โอลิเวอร์
ครอมเวลล์หนั มาจัดตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐคอมอน
เวลท์ ปกครองในระบอบเผด็จการทหารในปี ค.ศ.
1649-1653 ในฐานะ
Lord protector
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
พระเจ้าเจมส์ที่ 2
การปฏิวตั ิอนั รุ่ งโรจน์ Glorious Revolution
ในปี ค.ศ. 1688 โดยรัฐสภาและประชาชน ทาให้
ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชในอังกฤษสิ้ นสุ ดลง
(ในสมัยพระเจ้าเจมส์ ที่ 2)
-ในปี ค.ศ. 1689 ออกพระราชบัญตั ิวา่ ด้วยสิ ทธิ
Bill of Rights ซึ่ งเน้นสิ ทธิ เสรี ภาพของ
ประชาชน และอานาจของรัฐสภาเหนือกษัตริ ย ์
จากนั้นเป็ นต้นมา “รัฐสภา เป็ นสถาบันการเมือง
ที่มีอานาจสูงสุ ด
นักปรัชญาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
โทมัส ฮอบส์
ในคริสต์ ศตวรรษที่ ๑๗ ทีผ่ ้ คู นส่ วนใหญ่ ในโลกตะวันตกเชื่อ
ว่ า อานาจของผู้ปกครองเป็ นโองการจากสวรรค์ ช้ันฟ้า
ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นัก
ปรัชญาชาวอังกฤษ กล้ายืนยันในทางตรงข้ ามว่ า อานาจนั้น
มาจากการตกลงมอบให้ โดยประชาชนผู้ถูกปกครอง แต่ฮ
อบส์กเ็ ป็ นคนแรกที่สาธิ ตอย่างเป็ นระบบว่า รัฐเป็ นเพียง
องค์กรเทียม ที่มนุษย์รวมตัวกันสถาปนาขึ้น เพื่อให้ทา
หน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในหมู่ตน เป้ าหมายของการ
ปกครอง จึงเป็ นอื่นไปมิได้ นอกจากเพื่อจรรโลงสวัสดิภาพ
ของปวงชน นี่คือจุดเริ่ มต้นของกระแสความคิดทางการเมือง
สมัยใหม่ ที่สืบทอดไปสู่ นกั คิดหัวก้าวหน้ารุ่ นหลัง
นักคิดในระบอบประชาธิปไตย
John Locke
-เสนอทัศนะเกี่ยวทฤษฎีความรู ้ และสิ ทธิ
ธรรมชาติของมนุษย์(ชีวิต ทรัพย์สิน
เสรี ภาพ)
-เป็ นผูร้ ิ เริ่ มแนวคิดแบ่งแยกอานาจ
-ถ้ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม ประชาชนมี
สิ ทธิลม้ ล้างรัฐบาลได้
-แนวคิดของเขาเป็ นทั้งทฤษฎีประชาธิปไตย
จอห์น ล็อค
ทฤษฎีการปฏิบตั ิและมีอิทธิพลอย่างมาก
-The Treaties of Governments
ั ิอเมริ กนั และฝรั่งเศส
-A Letter Concerning Toleration ต่อการปฏิวต
นักคิดในระบอบประชาธิปไตย
มองเตสกิเออร์
The Spirit of Law
-ผูใ้ ห้กาเนิดแนวคิดในการแบ่งแยก
อานาจการปกครองสูงสุ ดหรื อ
อานาจอธิปไตยออกเป็ น 3 ฝ่ าย
คืออานาจนิติบญั ญัติ บริ หาร ตุลาการ
ตามแนวคิดของอริ สโตเติล
-ระบบการปกครองต้องสอดคล้องกับ
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ และ
ประวัติศาสตร์
นักคิดในระบอบประชาธิปไตย
นักวิจารณ์ การเมือง เน้นเสรี ภาพทาง
ความคิดเห็นและนับถือศาสนา
-ผลงานตลอดชีวิตของวอลแตร์ได้
ก่อให้เกิดสิ่ งที่เรี ยกว่า “ความคิด
วิพากวิจารณ์” L‘esprit critique
วอลแตร์
นักคิดในระบอบประชาธิปไตย
-คาสอนของเขาสอนให้คนหันกลับไปหา
ธรรมชาติ { back to
nature } เป็ นการยกย่องคุณค่า
ของคนว่า "ธรรมชาติของคนดีอยู่
แล้วแต่สังคมทาให้คนไม่เสมอภาคกัน“
-เน้นเรื่ องเจตจานงร่ วมของประชาชน
-ถ้ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม
ประชาชนมีสิทธิลม้ รัฐบาล
รุ สโซ
Social Contract
นักคิด นักปรัชญา
คาร์ล มาร์กซ์
The Communist Manifesto
-นักคิดชาวเยอรมันที่อิทธิพลสูงต่อโลกและ
มีอิทธิพลอย่างยิง่ จนถึงปัจจุบนั
-จัดตั้งสมัชชากรรมกรสากล
-หนังสื อบทวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ที่
มองผ่านการปะทะกันระหว่างชนชั้น
-งานเขียนของเขา กลายเป็ นแกนหลักของ
การเคลื่อนไหวในแนวทาง
ลัทธิคอมมูนิสต์ สังคมนิยม ลัทธิเลนิน
ลัทธิมาร์กซ์
ศิลปะสมัยใหม่ แบบเรอแนสซองส์
วิหารเซนต์ปีเตอร์
เกิดขึ้นมาจากความ
ปรารถนาของศิลปิ นที่จะ
กลับมาสู่ โลกอันแท้จริ ง
ซึ่ งต่างจากสมัยกลางที่มี
รู ปแบบศิลปะอยูภ่ ายใต้
อิทธิพลของศาสนา
ศิลปะแบบเรอแนสซองส์
• ศิลปะแบบเรอแนสซองส์มีเอกลักษณ์อยูท่ ี่ความพยายามสรรสร้าง
งานศิลปะให้เหมือนธรรมชาติมากที่สุด และแสดงออกถึงจิตใจของ
กลุ่มชนแทนที่จะแสดงออกซึ่งความรู ้สึกของใครคนใดคนหนึ่งอัน
เป็ นลักษณะเฉพาะหน่วย การสร้างงานศิลปะในสมัยนี้จึงเป็ นการ
แสดงออกซึ่งคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ไม่ใช่สรรสร้างเพื่อยกย่อง
เทิดทูนพระมหากษัตริ ยห์ รื อศาสนา
ลีโอนาโด ดาวินชี
ศิลปะแบบเรอแนสซองส์
พิเอต้า โดย ไมเคิล แอนเจิลโล
เดวิด
ศิลปะแบบบารอค
ลักษณะของผลงานทางด้านจิตรกรรม
และสถาปัตยกรรม จะมีรูปแบบ
คล้ายคลึงกัน คือแสดงความหรู หรา
ใหญ่โต เช่นพระราชวังแวร์ซายส์
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิ ก
ได้รับความนิยมมากในc 18
จิตรกรรม ประติมากรรม
ได้รับอิทธิพลจากกรี ก
โรมัน เน้นเรื่ อความสมดุล
กลมกลืน สัดส่ วน
ศิลปะแบบโรแมนติค
ศิลปะแบบโรแมนติค เริ่ มปลาย c18 – 19 ซึ่งมีจุดเด่นคือ
- ให้ความสาคัญแก่ อารมณ์ และความรู ้สึกมากกว่าเหตุผล
- ชื่นชมธรรมชาติต่างๆพยายามหลีกหนีความจริ งของชีวิต
- มีความรู ้สึกในชาตินิยม และอธิปไตยของชาติ
สถาปัตยกรรม
หันไปนิยมศิลปะแบบโกธิ ค
หอไอเฟล - ปารี ส
ประตูชยั - ปารี ส
จิตรกรรม
เดอลาครัวส์
จิตรกรแนวอารมณ์สะเทือนใจ
ดนตรี
โวล์ ฟกัง อมาเดอุส โมสาร์ ตคีต
กวีคนสาคัญของโลก เกิด มกราคม1759
ที่เมืองซาลซ์บูร์ก ออสเตรี ย เป็ นลูกไม้ใต้
ต้นของเลโอโปลด์ โมสาร์ต นักแต่ง
เพลง นักดนตรี ฝีมือไวโอลินเป็ นเยี่ยม
เป็ นหัวหน้าวงดนตรี ประจาสานักอาร์ค
บิชอปซาลซ์บูร์ก
Wolfgang Amadeus Mozart"
โมสาร์ต
คีตกวีดงั ระดับโลก
นักดนตรี
บีโธเฟน
• โชแปง
โชแปง กวีแห่งเปี ยโน
ศิลปะแบบสัจนิยม Realism
ใน c 19 มีความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และเมคโนโลยี
ศิลปะเปลี่ยนแปลงจากแบบโรแมนติค มาเป็ น สัจนิยม ที่แสดงความเป็ นจริ งที่
เกิดขึ้นในสังคม
-ด้านสถาปัตยกรรม เน้นประโยชน์การใช้สอยควบคู่ไปกับความต้องการทาง
สังคม
-จิตรกรรม เน้นความประทับใจและใช้แสงสี เข้ามาจัดภาพImpressionism
เน้นความสาคัญของการแสดงออกNeo Impressionism และ
Abstract { Cubism} ดูอย่างไรก็ได้
Impressionism
Vincent Van Gogh
{Starry Night}
Sunrise
โดย Claude Monet
Neo Impressionism
วรรณกรรม
ด้านวรรณกรรม เสนอความจริ งอย่างตรงไปตรงมา เช่น
- ชาร์ลส์ ดิคเคนส์ เขียน โอลิเวอร์ ทวิส เดวิด คอปเปอร์ ฟิล
- ลีโอ ตอลสตอย เขียน สงครามและสันติภาพ
- แมกซิม กอร์ก้ ี เขียน แม่