แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร ระบบการเงินและนโยบาย

Download Report

Transcript แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร ระบบการเงินและนโยบาย

แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
ระบบการเงินและนโยบายการเงิน
สมลักษณ์ หิรัญบูรณะ
1.
ความสาคัญของเงินและ
ระบบการเงิน
- วิวฒ
ั นาการของเงิน
- มาตรฐานการเงิน
- ทุนสารองเงินตรา
- โรงพิมพ ์ธนบัตร
1.
ความสาคัญของเงินและร
ความสาคัญของเงิน
่ มนุ
่ ษย ์ประดิษฐ ์ขึน้
เงินเป็ นสิงที
่ คนแต่
่
่
เงินเป็ นสิงที
ละระดับแต่ละฐานะเกียวข
้อง
่
้
เงินไปเกียวข
้องในวงกว ้างทังทางเศรษฐกิ
จ สังคมแล
ต ัวกลาง
่
คงทน/ดู ง่าย หน้าทีของเงิ
น
วัดมู ลค่า
ยอมร ับ
1.
ความสาคัญของเงินและร
วิวฒ
ั นาการของเงิน
่ นสิงของหรื
่
1. เงินทีเป็
อสินค ้า
่ นเหรียญกษาปณ์
2. เงินทีเป็
่ นกระดาษ
3. เงินทีเป็
่ นเครดิต
4. เงินทีเป็
1.
ความสาคัญของเงินและร
มาตรฐานการเงิน
หลักการ
่ อและศร ัทธาในค่าของเงิน
1) สร ้างความเชือถื
่
2) ควบคุมปริมาณเงินให ้มีจานวนทีเหมาะสมกั
บขนาด
อิงกับอะไร?
1. มาตรฐานโลหะมีคา
่
่
2. มาตรฐานเงินกระดาษไม่อาจแลกเปลียน
- เหรียญกษาปณ์
- ธนบัตร
1.
ทุนสารองเงินตรา
ความสาคัญของเงินและร
1.
โรงพิมพ ์ธนบัตร
ความสาคัญของเงินและร
2.
ทฤษฎีและแนวคิดนโยบายการเงิ
- ทฤษฎีการเงินคลาสสิค
- ทฤษฎีการเงินสมัยใหม่
- ทฤษฎีการเงินนิ ยม
- ทฤษฎีเงินเฟ้ อ
ิ
ทฤษฎีการเงินคลาสสค
• การเปลีย
่ นแปลงของปริม าณเงิน จะมี
ผลเปลีย
่ นแปลงภาวะเศรษฐกิจทั่วไป
ค่า ของเงิน ตกต่า ลงหรือ เงิน ถูก ลงซ งึ่
เ ป็ น นั ย ว่ า ร า ค า ส ิ น ค า้ แ พ ง ขึ้ น ซ ึ่ ง
หมายถึ ง ว่ า เงิ น จ านวนเดี ย วกั น ซ ื้ อ
ิ ค ้าได ้น ้อยลง
สน
ทฤษฎีนจ
ี้ งึ ตระหนักในปริมาณเงินกับ
ิ ค ้า
ราคาสน
ทฤษฎีการเงินสมัยใหม่(เคนส)์
• เป็ นทฤษฎีทพ
ี่ ยายามอธิบาย
ปรากฏการณ์เศรษฐกิจด ้วยพฤติกรรม
ิ ค ้า เน ้นให ้เห็นการ
ของราคาสน
ิ ค ้าในภาค
เปลีย
่ นแปลงของราคาสน
ิ ค ้าอุปโภคบริโภค ซงึ่ มีผล
การผลิตสน
สะท ้อนต่อการเปลีย
่ นแปลงทางเครดิต
ซงึ่ ในทีส
่ ด
ุ จะทาให ้วัฏฏจักรเศรษฐกิจ
เปลีย
่ นไปด ้วยและพยายามอธิบาย
ทฤษฎีการเงินนิยม
• ปริมาณเงินมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจ
มากกว่านโยบายการคลังหรือนัยหนึง่
ต ้องการอธิบายว่า
“เงินเท่านัน
้ ทีส
่ าคัญ” (Money alone
matters)
จึงเรียกว่าทฤษฎีการเงินนิยม
(Monetarism)
์ ละฟรีด
แนวคิดเปรียบเทียบเคนสแ
แมน
เคนส ์
ฟรีดแมน
นโยบายการคลังสาคัญกว่านโยบาย
นโยบายการเงินโดยการควบคุม
เงินมีความสาคัญมากทีส
่ ด
ุ
ปริมาณเงินเป็ นเสมือนน้ ามันหล่อลืน
่
ปริมาณเงินเป็ นเหมือนเคมีตัวเร่ง
(Catalyst)อย่างกว ้างขวาง
การเปลีย
่ นแปลงปริมาณเงินมีผล
อัตราดอกเบีย
้ ทีไ่ ปกาหนดการลงทุน การ
งานและผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
การเปลีย
่ นแปลงปริมาณเงินจะมีผล
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติโดยตรง
การลงทุนมีความยืดหยุน
่ ต่ออัตราดอกเบีย
้
การลงทุนอาจจะขึน
้ อยูก
่ บ
ั ปั จจัยอืน
่
สาคัญของอัตราดอกเบีย
้ ต่อการลงทุนมี
กฎทวีคณ
ู ของการลงทุนมีความสาคัญใน
พิจารณาการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
กฏทวีคณ
ู ทางการเงินคือหลักเกณฑ์ใน
พิจารณาการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
Polak Model
• “ในการขยายเครดิตภายในประเทศ ซงึ่
เกิดจากภาครัฐบาลก็ด ี ภาคเอกชน
หรือธุรกิจเมือ
่ ได ้รับเครดิตแล ้วจะนา
เงินไปใชจ่้ ายในธุรกรรมต่างๆและสว่ น
้ นเครดิตเพือ
หนึง่ จะใชเป็
่ การสงั่
ิ ค ้าเข ้าทาให ้สูญเสย
ี เงินตรา
สน
ต่างประเทศ ถ ้ายิง่ เครดิต
ภายในประเทศขยายมากเท่
าใด
*การเงินและการธนาคารในประเทศไทยเริ
งช
ทฤษฎีเงินเฟ้ อ
ิ ค ้า
• เงินเฟ้ อ หมายถึง ภาวะทีร่ าคาสน
เพิม
่ ขึน
้ อันเป็ นผลให ้ค่าของเงินลดตา่ ลง
ิ ค ้าเพิม
• ราคาสน
่ ขึน
้ เพราะอะไร?
1)ราคาเพิม
่ ขึน
้ เพราะค่าจ ้างการ
ั ญาของพรรค
เรียกร ้องของสหภาพ สญ
การเมือง ต ้นทุนวัสดุเพิม
่ ขึน
้
ผู ้ประกอบการเอากาไรมากเกินควร
วิกฤติธรรมชาติ วิกฤติเศรษฐกิจ วิกฤติ
การเมือง
ทฤษฎีการเงินและนโยบายการเงิน
วิวัฒนาการของทฤษฎี
การเงิน 3 ยุคสมัย
ิ ศก
ึ ษาทฤษฎี
1.ยุคคลาสสก
การเงินด ้านอุปทาน
(MS)มากกว่าด ้านอุปสงค์(MD)
ึ ษาด ้าน MD
2.ยุคเคนส ์ ศก
3.
การหมุนเวียนของเงินและปริมาณเงิน
่
หน้าทีของเงิ
น
การหมุนเวียนของธนบัตรและเหรียญก
3.
การหมุนเวียนของเงินและปริม
่
น
หน้าทีของเงิ
1.เป็ นมาตรฐานในการเทียบค่า
่
2.เป็ นตัวกลางในการแลกเปลียน
่
3.หน้าทีของการเก็
บร ักษาค่า
่ ( ปั จจัยภายนอก )
ปริมาณเงินเพิม
้
่ น
อุปสงค ์รวมเพิมขึ
่
เงินสารองของธนาคารเพิม
่ น
้
ระดับราคาเพิมขึ
่
่ น
้ จ้างงานเพิม
่
การกู เ้ พิมลงทุ
นเพิมขึ
่ ( ระลอก 2 )
ปริมาณเงินเพิม
่
คาดการณ์เกียวก
ับเงินเฟ้อ
้ ค่าแรง เพิม
่
ดอกเบีย
่ นทุนสู งกว่าการเพิมราคา
่
การเพิมต้
ธุรกิจขาดทุน
ถอนเงินจากธนาคาร
ปริมาณเงินลด
้
่ งใจ
ออม มากกว่าลงทุนทีตั
อุปสงค ์ลดลง
นัยทางนโยบาย
่ อท
• ปริมาณเงินเป็ นปั จจัยทีมี
ิ ธิพลต่อระดับ
้
ราคาเท่านัน
• จุดมุ่งหมายของการมีเสถียรภาพในระด ับ
้
ราคาเกิด และการจ้างงานเต็มที่ เกิดขึนได้
โดยดู แลให้ป ริมาณเงินขยายต ัวในอ ัตราที่
สอดคล้องกับอ ัตราการขยายตัวของ
ผลผลิตและความต้องการถือเงินในระยะยาว
• การใช้นโยบายการเงินแบบดุลพินิจโดยการ
่
่
เปลียนปริ
มาณเงินเพือลดความผั
นผวน
ของวัฏฏจักรธุรกิจจึงไม่จาเป็ น
่ เสถียรภาพจึงจาเป็ นสาหร ับ
• ปริมาณเงินทีมี
ทฤษฎีความต ้องการถือเงินของ
เคนส ์
MS = MD
สมมติฐาน
1. MS เปลีย
่ นแปลงไปขึน
้ อยูก
่ บ
ั การดาเนินนโยบาย
การเงินของรัฐบาล
2. อัตราดอกเบีย
้ เป็ นสงิ่ จูงใจให ้เกิดการลงทุนทัง้ ใน
ภาคผลิตและภาคการเงิน
3. ความต ้องการถือเงินสด(MD)ของประชาชนมี3
ประเภท คือ
เพือ
่ ใชจ่้ ายประจาวัน เก็บไว ้ฉุกเฉิน และเก็งกาไรใน
พันธบัตรรัฐบาล
หรือฝากประจากับธนาคารพาณิชย์
ทฤษฎีการเงินของสานักการเงินนิยม
(มิลตัน ฟรีดแมน)
• สมมติฐาน
1. ทฤษฎีการเงินเป็ นทฤษฎีการถือเงิน(MD)
่ ฤษฎีการผลิต รายได ้ประชาชาติ
ไม่ใชท
ิ ค ้า
หรือ ราคาสน
ิ ทรัพย์
2. เงินตรา คือ สน
ื่ ในการ
3. ความต ้องการถือเงินสด เพือ
่ เป็ นสอ
ื้ สน
ิ ค ้าและบริการ
แลกเปลีย
่ นซอ
4. ความต ้องการถือเงินเพือ
่ เก็งกาไร หรือการ
ลงทุนทางการเงินของผู ้มีเงินออมขึน
้ อยูก
่ บ
ั
่ ความพอใจ
ปั จจัยหลายอย่าง เชน
นโยบายการเงิน
• ประสิทธิภาพของนโยบายการเงิน ยุคคลาสสิก ระบบ
เศรษฐกิจมีการจ ้างงานเต็มที่ ราคาสินค ้ามีเสถียรภาพ
ร ัฐบาลไม่แทรกแซงการประกอบการของเอกชน การดาเนิ น
นโยบายการเงินจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและระบบเศรษฐกิจ
จะมีเสถียรภาพในระยะยาว
• ยุคเคนส ์ ระบบเศรษฐกิจไม่จาเป็ นต ้องเกิดการจ ้างงานเต็มที่
การลงทุนอาจไม่เท่ากับเงินออม และเกิดการว่างงานได ้ใน
ระบบเศรษฐกิจ การดาเนิ นนโยบายการเงินจึงมีประสิทธิภาพ
้ อแก
่
ระยะสันเพื
้ไขปัญหาเงินเฟ้ อ และเงินฝื ด หรือร ักษาระดับ
ราคาสินค ้าให ้มีเสถียรภาพ แต่ในภาวะเศรษฐกิจตกต่าแล ้ว
นโยบายการเงินจะด ้อยประสิทธิภาพกว่านโยบายการคลัง
• ยุคสานักการเงินนิ ยม(ฟรีดแมน) ร ัฐบาลไม่ควรแทรกแซงการ
่ ดปัญหาเศรษฐกิจเช่น
ทางานของระบบเศรษฐกิจ เมือเกิ
่ อนโยบาย
เศรษฐกิจถดถอย เศรษฐกิจตกต่า จึงนาเครืองมื
่
นโยบายการเงิน
หมายถึง การหามาตรการหรือเครือ
่ งมือทาง
การเงินมาจัดการปริมาณเงิน(MS)ของ
ประเทศให ้เหมาะสมสอดคล ้องกับนโยบาย
เศรษฐกิจประเทศ ธนาคารกลางและธปท.
จะกาหนดมาตรการและเครือ
่ งมือการเงิน
ต่างๆเพือ
่ ควบคุมปริมาณเงินให ้สมดุลให ้
บรรลุเป้ าหมายของนโยบายการเงินและ
สอดคล ้องกับเป้ าหมายเศรษฐกิจประเทศ
เป้ านโยบายเศรษฐกิจมีหลายประการ
ในการดาเนินนโยบายการเงินจะตัง้ เป้ า
นโยบายการเงินให ้สอดคล ้องกับเป้ าหมาย
การดาเนินมาตรการทางการเงินเพือ
่
รักษาเสถียรภาพภายในประเทศ
ิ ค ้าให ้เหมาะสมด ้วย
การรักษาระดับราคาสน
การตัง้ เป้ าเงินเฟ้ อ(Inflation Target)
ธปท. จะดาเนินนโยบายการเงินเชงิ อนุรักษ์
2 ประเภท คือ
1. เครือ
่ งมือการเงินเชงิ ปริมาณ (หน ้าต่าง
การเงิน= Loan Window)
ื้ หรือขายหลักทรัพย์
1.1 การซอ
1..2 การเพิม
่ หรือลดอัตราเงินสดสารอง
ตามกฎหมาย
2. เครือ
่ งมือการเงินเชงิ คุณภาพ
2.1 การควบคุมเครดิตเพือ
่ การบริโภค
(ดอกเบีย
้ ผ่อนสง่ ระยะเวลาในการผ่อนสง่ )
ื้ ขาย
2.2 การควบคุมเครดิตเพือ
่ การซอ
หลักทรัพย์ (การเปลีย
่ นแปลงระดับMargin
ื้ ขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ในการซอ
ประเทศไทย
ั ชวนธนาคารพาณิชย์ให ้ปฏิบต
2.3 การชก
ั ิ
ิ เชอ
ื่ ธุรกิจ SMEs ชน
ี้ า
ตาม(ให ้ปล่อยสน
ระดับอัตราดอกเบีย
้ ตา่ ในตลาดเงิน ลดการ
เครือ
่ งมือนโยบายการเงินเพือ
่ การ
รักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอก
1. รักษาระดับทุนสารองระหว่าง
ประเทศให ้เหมาะสม
2. รักษาดุลการชาระเงินให ้สมดุล
3. รักษาระดับอัตราแลกเปลีย
่ นให ้มี
เสถียรภาพ
การดาเนินนโยบายการเงินเสรีทาง
การเงินของประเทศไทย
• เริม
่ ดาเนินการเปิ ดเสรีปี2533(
เตรียมการปี 2530-2532)
1. การผ่อนคลายการควบคุมการปริวรรต
เงินตราต่างประเทศ
2. การยกเลิกเพดานดอกเบีย
้ ของสถาบัน
การเงินต่างๆ
3. การจัดตัง้ กิจการวิเทศธนกิจ (BIBF)
แผนการเงินของประเทศไทยหลัง
เปิ
ด
เสรี
ท
างการเงิ
น
• ขยายขอบเขตการดาเนินงานของสถาบัน
•
•
•
•
การเงินให ้ได ้ระดับมาตรฐานสากล
พัฒนาโครงสร ้างของตลาดการเงินทัง้ ตลาดเงิน
และตลาดทุนให ้สมบูรณ์แบบ
่ ม
สนับสนุนการกระจายความเจริญไปสูภ
ู ภ
ิ าค
โดยสนับสนุนให ้ขยายการบริการทางการเงิน
่ ม
ด ้วยวิธข
ี ยายสาขาการบริการสูภ
ู ภ
ิ าคมากขึน
้
ิ ธิภาพในการกากับดูแลสถาบัน
ปรับปรุงประสท
การเงินและระบบการเงิน
พัฒนาบุคลากรและเสริมสร ้างจรรยาบรรณใน
การทาธุรกิจการเงิน
4.ความหมายและความสาค ัญของเค
ประเภทของเครดิต
- วัตถุประสงค ์การใช ้
- ระยะเวลา
- ประเภทผูก้ ู ้
5.
สถาบันการเงินและบทบาท
ความสามารถในการระดมเงินออม
การให ้กู ้เงิน
จานวนทร ัพย ์สิน
โครงสร ้างสถาบันการเงิน
ตลาดเงิน
ตลาดทุน
จานวนสถาบันการเงิน
ความสมดุลย ์ระหว่างความต ้องการและการสนองตอบ
่
ข ้อกาหนดทีมาจากโลกาภิ
วฒ
ั น์(BIS)
5. สถาบันการเงินและบ
มุมมองการดาเนิ นการของธนาคารพาณิ ชย ์
- มุมมองผูบ้ ริหารธนาคาร
้ น
- การบริหารหนี สิ
- การบริหารสินทร ัพย ์
- การบริหารสภาพคล่อง
- มุมมองผูบ้ ริหารนโยบายการเงิน
- ประสิทธิภาพในการผลิต
- ประสิทธิภาพในการแจกแจงทรพ
ั ยากร
- ประสิทธิภาพต่อการร ักษาเสถียรภาพท
5. สถาบันการเงินแล
-
เส ้นทางพัฒนาสถาบันการเงิน
- การระดมเงินออมภายในประเทศ
- การเปิ ดเสรีในการแสวงหาทุนจาก
ต่างประเทศ
- การร ับพันธะข ้อ 8 *ของ IMF**
-
BIBF
* สนใจรายละเอียดอ่านได ้จากhttp://www.ryt9.com/s/ryt9/222872
**
IMFhttp://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/index/Pages/IMF_index
.aspx
5. สถาบันการเงินแล
ธนาคารเฉพาะกิจของร ัฐ
273
ถนนสามเสน
การธนาคารกลาง นายธนาคารกลางและบทบ
ความเป็ นอิสระของธนาคารกลาง
ความเป็ นอิสระของธนาคารกลาง
นายพิสท
ุ ธิ์ นิมมานเหมินทร์
6. การธนาคารกลาง นายธนาคาร
่
หน้าทีของนายธนาคารกลาง
่ กษาให ้กับร ัฐบาล
- การเป็ นทีปรึ
- การเป็ นนายธนาคารให ้กับรัฐบาล
- การเป็ นนายธนาคารให ้กับธนาคารพาณ
- การออกบัตรธนาคาร
- การกากับและตรวจสอบสถาบันการเงิน
- การร ักษาทุนสารองระหว่างประเทศ
6. การธนาคารกลาง นายธนาคาร
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0
%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B
8%A3%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%
A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2
%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E
0%B8%97%E0%B8%A8
่
-ความสัมพันธ ์กับธนาคารกลางอืนและ
-กองทุนการเงินระหว่างประเทศ(IMF.*)
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8
%AA%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%99_%E0%B8%A5%E0%B8%B2%
E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94
*
IMF
ดูในhttp://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/index/Pages/IMF_index.aspx
http://en.wikipedia.org/wiki/Christine_Lagarde
6. การธนาคารกลาง นายธนาคาร
การพัฒนาระบบการเงิน
- แผนการปร ับปรุงระบบการเงินระยะ 3 ปี (2533- แผนการผ่อนคลายข ้อจากัดต่างๆ
- แผนการพัฒนาการกากับและตรวจสอบส
- แผนการพัฒนาตราสารการเงิน
- แผนการปร ับปรุงระบบการชาระเงิน ระบบ
้
่
บัญชีและการตังโรงพิ
มพ ์ธนบัตรแห่งทีสอง
นโยบายการเงิน (Moral Suasion :Too Big to
การร ักษาเสถียรภาพทางการเงิน
- อัตราเงินสดสารอง
- นโยบายอัตราดอกเบีย้
การเสริมสร ้างความมั่นคงของสถาบันการ
่
- อัตราเงินทุนต่อสินทร ัพย ์เสียง
้
- การให ้กู ้ยืมแก่ลก
ู หนี รายใหญ่
ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
7.
7. นโยบายกา
- การควบคุมปริมาณเงิน
- Seasonal changes
- ทฤษฎีลก
ู โป่ งสามลูกสูบ
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=298331
ด ้านเอกชน
ด ้านร ัฐบาล
ด ้านต่างประเทศ
่
ในระบบเศรษฐกิจ เสมือนหนึ่ งลูกโป่ ง ในยาม ทีระบบ
่ น้ เปรียบ ประดุจลูกโป่ ง
เศรษฐกิจมีป ริมาณเงินเพิมขึ
่ มาณเงินลดลงเปรียบประดุจลูกโป่ ง
พองลม ในยามทีปริ
่ นเวียนในระบบ
แฟบ ลม การกากับปริมาณเงินทีหมุ
เศรษฐกิจก็ดจ
ุ เดียวกับการ กากับปริมาณลมในลูกโป่ ง
่ องทาง ทีกระทบต่
่
โดยทีช่
อปริมาณเงินในระบบ
เศรษฐกิจมีอยู่ 3 ช่องทาง เสมือนหนึ่ งว่าลูกโป่ งมี 3
ลูกสูบ อันปร ะกอบ ด ้วยลูกสูบการคลัง (การเก็บภาษี
อากรและการใช ้จ่ายของร ัฐบาล) ลูก สูบ การเงิน
่
ภายในประเทศ (การขยายหรือลดสินเชือของระบบ
สถาบันการเงิน) และลูกสูบการเงินระหว่างประเทศ
่
(การเคลือนย
้ายเงิน เข ้าและออก ระหว่างประเทศ)
หัวใจ ของการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคอยูท
่ ี่
8.
ตลาดการเงิน
- ตลาดเงิน
- ตลาดทุน
9.
กรณี ศก
ึ ษาในระบบการเงินและการกาหน
การดาเนิ นนโยบายการเงินเสรีทางการเงิน
ของประเทศไทย
•
1.
2.
3.
4.
5.
่ าเนิ นการเปิ ดเสรีปี2533(เตรียมการปี 2530เริมด
2532)
การผ่อนคลายการควบคุมการปริวรรตเงินตรา
ต่างประเทศ
้
การยกเลิกเพดานดอกเบียของสถาบั
นการเงิน
ต่างๆ
้ จการวิเทศธนกิจ (BIBF)
การจัดตังกิ
ออกพ.ร.บ.หลักทร ัพย ์และตลาดหลักทร ัพย ์
้
การจัดตังชมรมผู
ค้ ้าตราสารหนี ้
แผนการเงินของประเทศไทยหลังเปิ ดเสรี
ทางการเงิน
• ขยายขอบเขตการดาเนิ นงานของสถาบันการเงินให ้ได ้ระดับ
มาตรฐานสากล
้
• พัฒนาโครงสร ้างของตลาดการเงินทังตลาดเงิ
นและตลาดทุน
ให ้สมบูรณ์แบบ
• สนับสนุ นการกระจายความเจริญไปสูภ
่ ม
ู ภ
ิ าค โดยสนับสนุ น
ให ้ขยายการบริการทางการเงินด ้วยวิธข
ี ยายสาขาการ
บริการสูภ
่ ม
ู ภ
ิ าคมากขึน้
• ปร ับปรุงประสิทธิภาพในการกากับดูแลสถาบันการเงินและ
ระบบการเงิน
• พัฒนาบุคลากรและเสริมสร ้างจรรยาบรรณในการทาธุรกิจ
การเงิน
การดาเนิ นนโยบายการเงินแบบกาหนด
เป้ าหมายเงินเฟ้ อ
(Inflation Target)
กรอบและนโยบายในการดาเนิ นงาน
1. กาหนดการร ักษาเสถียรภาพทางด ้านราคา
เป็ นเป้ าหมายหลักของนโยบายการเงิน
2. ประกาศเป้ าหมายเงินเฟ้ อและตรวจสอบได ้
้
้ “Key Policy
3. ประกาศอัตราดอกเบียระยะสั
น
้ อคื
้ นพันธบัตร
Rate” หรืออัตราดอกเบียซื
่ นดอกเบียชี
้ น้ าทางการเงิน
ร ัฐบาล14วัน ซึงเป็
(ส่งสัญญาณการแก ้ปัญหาเงินเฟ้ อหรือเงิน
่ อทางการเงินทีใช
่ ้ในการดาเนิ น
เครืองมื
้ าเงินเฟ้ อ
นโยบายการเงินแบบตังเป้
่
้
• ประกาศเปลียนแปลงอั
ตราดอกเบียในตลาดซื
อ้
คืนพันธบัตรร ัฐบาล(BOT-REPO)
่
่
มาณสินเชือในระบบในตลาด
• เปลียนแปลงปริ
ธนาคารพาณิ ชย ์(ตลาดเงิน)
่
้
• เปลียนแปลงราคาหลั
กทร ัพย ์และตราสารหนี ใน
ตลาดทุน
่
่
• การเปลียนแปลงระดั
บอัตราแลกเปลียน
่
• การเปลียนแปลงโครงสร
้างระบบการเงินและการ
การดาเนิ นนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย
่
้ นฟูเศรษฐกิจไทย(2545)
เพือการฟื
ปัจจุบน
ั เศรษฐกิจไทยกาลังฟื ้ นตัว(Recovery)
การดาเนิ นงานด ้านนโยบายการเงิน ธปท.จะดาเนิ น
นโยบายการเงินผ่อนคลาย(Easy Money Policy) โดย
่ น้
มุ่งหวังให ้ปริมาณเงินและปริมาณเครดิตเพิมขึ
่
เพือเสริ
มสภาพคล่องในระบบเศรษฐกิจและเพือ่
่
่ อทาง
นฝื ด ธปท.จะใช ้เครืองมื
หลีกเลียงสภาวะเงิ
้ อ
การเงิน 3 มาตรการ ดังนี คื
1. หน้าต่างการเงิน (Loan Window) โดยธปท.จะลด
้
อัตราดอกเบียมาตรฐาน
(Bank Rate)ให ้กับสถาบัน
่
้ เกิน 7 วัน
การเงินทีมาขอกู
้ยืมกับธปท.ระยะสันไม่
้
(ณ 27 เมษายน2545 อัตราดอกเบียมาตรฐาน
เท่ากับร ้อยละ4)
่ อการเงินต่อ
เครืองมื
้ นพันธบัตรหรือตลาดอาร ์/พี
2. ตลาดซือคื
้
(Repurchase Market) ธปท.จะทาการซือขาย
้ เกิน 14 วัน อัตรา
พันธบัตรระยะสันไม่
้ ากับ 1.25% (ก.ค.2546)
ดอกเบียเท่
3. ธปท. ให ้สถาบันการเงินกู ้ยืมผ่านตลาด
้ นพันธบัตรนอกเวลาทาการ โดยคิด
ซือคื
้
อัตราดอกเบียแพงกว่
าในตลาดอาร ์/พี
้
แบบปกติ นั่นคือ ดอกเบียอาร
์/พีแบบ
โจเซฟ สติกลิตซ ์ : ทาอย่างไรจึงจะป้ องกันวิกฤตว
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%9F_%E0%B8%
AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%
B9%8C
http://www.saruthomesite.net/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%8B/
“บางคนอาจจะพูดว่า เฟด (ธนาคารกลาง
สหร ัฐอเมริกา) ล ้มเหลวสองครง้ั คือล ้มเหลว
ในการเป็ นผูก้ ากับดูแล (regulator) และ
ล ้มเหลวในการควบคุมนโยบายการเงิน
่ สภาพ
(conduct of monetary policy) การทีมี
้ ่า) ที่
คล่อง (เงินปล่อยกู ้ได ้ในอัตราดอกเบียต
ท่วมท ้นตลาด และความหละหลวมในการ
กากับดูแล นาไปสูส
่ ภาวะฟองสบู่ของ
่
อสังหาริมทร ัพย ์ และเมือฟองสบู
่แตก เงินกู ้
่ งอยู
้ บ
้
แบบทดหลายชน้ั ซึงตั
่ นพืนฐานของการ
่ งเกินไป ก็พลัน
ประเมินสภาพสินทร ัพย ์ทีสู
หลอมละลาย”
“สงครามราคาสามล ้านล ้านเหรียญ :
่ ้จริงของความขัดแย ้งในอ
ต ้นทุนทีแท
“ฟองสบู่อสังหาริมทร ัพย ์ การออมทร ัพย ์ภาค
่
่ ด
คร ัวเรือนดิงฮวบลงเป็
นศูนย ์ ถึงระดับต่าทีสุ
้ ครงการถดถอยคร
้ั
้ั
นับตังแต่
งใหญ่
เป็ นต ้นมา เฟด
พยายามบริหารเศรษฐกิจให ้มีเสถียรภาพ แต่
่ านั้น เป็ นเรืองสายตาสั
่
้ เพราะอเมริกา
แนวทางทีท
น
่ บยืมจากคนอืนมา”
่
ยังชีวต
ิ อยูบ
่ นเงินและเวลาทีหยิ
้ั
“ศูนย ์กลางของคาตาหนิ ทงหลายควร
ลงไปยังสถาบันการเงินโดยตรง สถาบัน
้
้ และความจริงคือเหล่า
ทังหลายนี
่ พอ้ งไปกับความ
ผูบ้ ริหาร มีแรงจูงใจทีไม่
ต ้องการของเศรษฐกิจและสังคมของ
เรา”
กระบวนการแก ้ปัญหาหลาย
แนวทาง
1. เราต ้องเข ้าไปแก ้ไขแรงจูงใจสาหรบั
ผู ้บริหารเป็ นอันดับแรก ลดขอบเขตของ
ผลประโยชน์ทบ
ั ซ ้อน และปร ับปรุงข ้อมูล
่
ของผูถ้ อื หุ ้นเกียวกั
บการลดมูลค่าหุ ้น ที่
้ ้น (stock option)
เกิดจากสิทธิเลือกซือหุ
เราควรจะลดแรงจูงในสาหร ับการเข ้าไป
่
้
ร ับความเสียงมากเกิ
นไป รวมทังการ
้ งมี
่ มานาน
มุ่งเน้นไปยังเป้ าหมายระยะสันซึ
มากเกินพอแล ้ว ตัวอย่างเช่น กาหนดให ้
้
โบนัสจ่ายบนพืนฐานของผลตอบแทนใน
่ าหนดเป็ น
ระยะเวลาห ้าปี แทนทีจะก
่
ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ ์ทางการเงิน เพือ
่ กซือและขาย
้
สร ้างความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ ์ทีถู
โดยธนาคาร กองทุนบาเน็ จบานาญ ฯลฯ
ปลอดภัยพอสาหร ับ “การบริโภคของมนุ ษย ์”
เฉพาะผูใ้ หญ่ทบรรลุ
ี่
นิตภ
ิ าวะแล ้ว จึงจะได ้ร ับ
่ าอะไรก็ตามทีตนต
่
เสรีภาพทีจะท
้องการ แต่
ไม่ได ้หมายความว่าพวกเขาจะได ้ร ับอนุ ญาตให ้
่
ใช ้เงินคนอืนไปเล่
นการพนัน บางคนอาจจะมอง
้
ว่านี่ อาจจะไปปิ ดกันนวั
ตกรรมใหม่ๆ แต่นี่จะ
เป็ นการดีทจะกลั
ี่
บมาพิจารณาถึงนวัตกรรมที่
เรามี หรือก็คอื ความพยายามในการทาลาย
่ เรา
่
ระบบการตรวจสอบและการกากับดูแล สิงที
่
ต ้องการก็คอื นวัตกรรมใหม่ๆ ทีสะท
้อนถึงความ
่ าพวก
ต ้องการของคนอเมริกน
ั ธรรมดาๆ เพือว่
แนวทาง
3. เราต ้องสร ้างคณะกรรมการสร ้าง
่
เสถียรภาพในระบบการเงิน เพือตรวจสอบ
้
ภาพรวมของระบบการเงินทังระบบ
่
่
ตรวจสอบความเกียวข
้องเชือมโยงของ
่ ยวข
่
้
่
บรรดาคนทีเกี
้องกันทังหลาย
เพือ
ป้ องกันการสร ้างแรงทดเชิงระบบมาก
่
จนเกินไป ดังทีเราได
้มีประสบการณ์มา
4. เราต ้องการกาหนดมาตรการกากับดูแล
่ เพือปร
่
อืนๆ
ับปรุงความปลอดภัย และมี
เหตุผลพอต่อระบบการเงินของเรา อย่างเช่น
่
“กันชนความเร็ว” เพือลดการกู
้ยืม จาก
ประวัตศ
ิ าสตร ์แล ้ว การขยายการกู ้ยืมอย่าง
่ นส่วน
รวดเร็ว ต ้องร ับผิดชอบในฐานะทีเป็
แนวทาง
5. เราต ้องการกฎหมายคุ ้มครอง
่ ขน
้
ผูบ้ ริโภคทีดี
ึ ้ รวมทังกฎหมายใน
การป้ องกันการกู ้ยืมแบบไล่ลา่
6. เราต ้องการกฎหมายการแข่งขันที่
ดีขน
ึ ้ สถาบันการเงินสามารถกัดกิน
่ เป็
่ นลูกค ้าจากบัตรเครดิตได ้
เหยือที
ง่ายเป็ นเพราะการขาดการแข่งขัน
่ าคัญยิงกว่
่ านั้น เราไม่ควร
แต่สงที
ิ่ ส
อยูใ่ นสถานการณ์ทว่ี่ า บรรษัทนั้น
แนวทาง
้
“การปฏิรป
ู เหล่านี อาจไม่
ร ับประกันว่าเราจะไม่พบวิกฤติครง้ั
่
้
ต่อไป สิงประดิ
ษฐ ์ทังหลายในตลาด
การเงินนั้นดูน่าประทับใจ แต่ใน
่ ดแล ้ว พวกเขาก็จะมองออกว่า
ทีสุ
่
ควรจะหลีกเลียงการก
ากับดูแล
ต่างๆได ้อย่างไร แต่การปฏิรป
ู ครง้ั
้ าให ้วิกฤติครงใหม่
้ั
นี จะท
ทมี
ี่
้ ดได ้ยากขึน้
ลักษณะคล ้ายกันนี เกิ
้ กก็จะมีความ
และหากมันเกิดขึนอี
่ั
่งชือว่
่ า นาย อี.
“นักเศรษฐศาสตร ์ฝรงคนหนึ
เอฟ ชูมาเกอร ์ (E.F. Schumacher) ได ้พิมพ ์
่ า Small Is Beautiful
หนังสือออกมาเล่มหนึ่ ง ชือว่
่ า จิว๋
มีผูแ้ ปลเป็ นภาษาไทยดูเหมือนจะใช ้ชือว่
แต่แจ๋ว ในหนังสือเล่มนี ้ บทหนึ่ งคือ บทที่ 4 ได ้
้ อว่
่ า "Buddhist Economics" แปลว่า
ตังชื
เศรษฐศาสตร ์ชาวพุทธ หนังสือเล่มนี ้ และ
โดยเฉพาะบทความบทนี ้ ได ้ทาให ้คนจานวน
้
นออก และตะวันตกเกิดความ
มากทังในตะวั
่
่ ยวข
่
สนใจในเรืองพุ
ทธศาสนาด ้านทีเกี
้องกับ
้
้ นผู ้
เศรษฐกิจขึนมา
จึงนับว่าท่านชูมาเกอร ์นี เป็
่ าให ้เกิดความ
มีอป
ุ การคุณอย่างหนึ่ ง ในการทีท
้ พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ ์
่ : เศรษฐศาสตร
สนใจพุ
ทธศาสนาในแง่
ทีมา
์แนวพุทธ เ(ศรษฐศาสตร
Buddhist Economics์ขึ)น”
ปยุตโต)
http://www.dharma-gateway.com/monk/preach/lp-prayuth/lp-prayuth-10-01.htm
ชิมฆจฉา ปรมา โรคา
่ ด
ความหิวเป็ นโรคทีร่ ้ายแรงทีสุ
่ ด
่ กหน่ วงทีสุ
้
นทุกข ์ทีหนั
สังขารทังหลายเป็
http://www.dharma-gateway.com/monk/preach/lp-prayuth/lp-prayuth-10-01.htm
ต ้องเป็ นไปโดยสัมพันธ ์ด ้วยดี กับองค ์ประกอบทุกอย่างใน
้
ระบบการดารงอยูข
่ องมนุ ษย ์ องค ์ประกอบทังสาม*
ใน
้ ลกัน
การดารงอยู่ ของมนุ ษย ์นั้นจะต ้องประสานเกือกู
้
หมายความว่า องค ์ประกอบเหล่านี ประสานกั
นด ้วย และ
้ ลต่อกันด ้วย ในการดารงอยูร่ ว่ มกันและก็เดินไป
เกือกู
ด ้วยกัน ฉะนั้น พฤติกรรมในทางเศรษฐกิจของมนุ ษย ์
่ เบียดเบียนตน คือ ไม่ทาให ้เสีย
จะต ้องเป็ นไปในทางทีไม่
่ ฒนา
คุณภาพชีวต
ิ ของตนเอง แต่ให ้เป็ นไปในทางทีพั
คุณภาพชีวต
ิ เสริมคุณภาพชีวต
ิ นั้น นี่ เป็ นการไม่
เบียดเบียนตน และ ไม่เบียดเบียนผูอ้ น
ื่ คือไม่กอ
่ ความ
เดือดร ้อนแก่สงั คม และไม่ทาให ้เสียคุณภาพของ EcoSystems หรือระบบธรรมชาติแวดล ้อม”
พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตฺโต)
* องค ์ประกอบสามอย่างนี ้ คือ มนุ ษย ์ ธรรมชาติ และสังคม
ธรรมชาติ
่
มาตรการทางการเงินทีธปท.ใช
้ในการ
แก ้ปัญหาสถาบันการเงินไทย
่ นตามเกณฑ ์ BIS 8.5%
• เพิมทุ
• ควบกิจการ
• เสริมสร ้างความมั่นคงให ้สถาบันการเงินด ้วย
การหาผูร้ ว่ มทุน
• แก ้ไขปัญหาบริษท
ั เงินทุนและบริษท
ั หลักทร ัพย ์
58แห่ง
• ประกาศพ.ร.บ.ล ้มละลาย
• ทาการประนอมหนี ้
้
้ นฟูกจิ การทีมี
่
• ทาการปร ับโครงสร ้างหนี และฟื
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินในการ
แก ้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
• ในเชิงทฤษฎีน้ันนโยบายการเงินมีประสิทธิภาพ
่
่
ระดับหนึ่ งทีสามารถเปลี
ยนแปลงปริ
มาณเงิน
่ ้องการได ้ แต่ในทาง
และปริมาณเครดิตตามทีต
ปฏิบต
ั แิ ล ้วนโยบายการเงินยังมีข ้อจากัด คือ
• นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย(Easy Money
Policy)ใช ้ไม่คอ
่ ยได ้ผลในสภาวะเศรษฐกิจตกต่า
แต่จะใช ้ได ้ดีในสภาวะเศรษฐกิจฟื ้ นตัวเพราะ
ธปท.ไม่สามารถบังคับให ้ธนาคารพาณิ ชย ์
่ อเพิ
่ มปริ
่
ปล่อยสินเชือเพื
มาณเงินและปริมาณ
เครดิตได ้
• นโยบายการเงินแบบเข ้มงวด(Tight Money Policy)
ปัจจุบน
ั ธนาคารแห่งประเทศไทยมีเป้ าหมาย
สาคัญในการดาเนิ นนโยบายการเงิน 3
ประการ
่
1. เพือร ักษาเสถียรภาพทางการเงิน (แก ้ปัญหาเงิน
เฟ้ อและเงินฝื ด ดูแลดุลการชาระเงิน อัตรา
่
แลกเปลียนและทุ
นสารองระหว่างประเทศให ้
เหมาะสม)
่
2. เพือเสริ
มสร ้างความมั่นคงของสถาบันการเงิน
่
่
(มาตรการกาหนดเงินกองทุนต่อสินทร ัพย ์เสียงที
้
สถาบันการเงินต ้องดารง จัดตังสถาบั
นประกันเงิน
่ ้มครองผูฝ
ฝากเพือคุ
้ ากเงินรายย่อย)
่ ฒนาเศรษฐกิจและสังคม(มาตรการทางการ
3. เพือพั
้
๋ ญญาใช ้เงินของภาค
เงินเช่น การร ับช่วงซือลดตั
วสั
เศรษฐกิจทีร่ ัฐบาลสนับสนุ นคือ เกษตร อุสาหกรรม
10.
ปร ัชญาชีวต
ิ ของนักกาหนดนโยบาย
การคลังและงบประมาณคนหนึ่ ง
http://dcopywriter.wordpress.com/
“ วิทยาการ และระบบการต่างๆของตะวันตก
่
ได ้มาถึงจุดหนึ่ งทีเขาเกิ
ดความรู ้สึกกันว่ามี
ความติดตัน หรือความอับจนเกิดขึน้ หรือ
สาหร ับบางคนอาจจะไม่ยอมร ับภาวะนี ้ ก็
้ วต่อจุดหนึ่ ง
อาจจะเรียกว่ามาถึงจุดหัวเลียวหั
่
่
ทีอาจจะต
้องมีการเปลียนแปลงแนวความคิ
ด
และวิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นวิทยาการสาขาต่างๆ คือมี
่ ้พัฒนา
ความรู ้สึกกันว่า วิชาการต่างๆ ทีได
กันมาจนถึงปัจจุบน
ั นี ้ ไม่สามารถแก ้ปัญหา
ของโลกและชีวต
ิ ให ้สาเร็จได ้ จะต ้องมีการ
ขยายแนวความคิดกันใหม่หรือหาช่องทาง
กันใหม่์แนวพุ
…ท….”
่ : เศรษฐศาสตร
ทีมา
ธ (Buddhist Economics) พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ ์
ปยุตโต)
การผลิตขึน้ แต่จะทาให ้เกิดความฟุ้ งเฟ้ อ
้ มสิน ทุจริต เพือการบริ
่
การกู ้หนี ยื
โภคได ้
่ ดพลาดอย่างยิง่
มาก เป็ นการพัฒนาทีผิ
เป็ นไปได ้ไหมว่า คนไทย (สมัยหนึ่ ง)
อาจจะสันโดษจริง และคนไทย (อีกสมัย
หนึ่ ง) ก็มค
ี า่ นิ ยมบริโภคมากจริง โดยที่
่
่
คนไทยเปลียนนิ
สยั เคลือนจากความ
สันโดษมาสูก
่ ารมีคา่ นิ ยมบริโภค ถา้ เป็ น
้ หมายความว่า การนาเอาระบบ
อย่างนี ก็
เศรษฐกิจแบบตะวันตกเข ้ามาใช ้ใน
ประเทศไทย หรือการนาเศรษฐศาสตร ์
้
แบบตะวั
น
ตกเข
้ามาใช
้ในประเทศไทยนั
น ทธ ์
่
ทีมา : เศรษฐศาสตร ์แนวพุทธ (Buddhist Economics) พระธรรมปิ ฎก (ประยุ
ข ้อจากัดของเศรษฐศาสตร ์แห่งยุคอุตสา
่ เป็ นความเชียวชาญเฉ
่
1. การแยกต ัวโดดเดียว
2. ไม่เป็ นอิสระจากจริยธรรม แต่ไม่ใส่ใจจริยธร
3. ไม่อาจจะเป็ น แต่อยากจะเป็ นวิทยาศาสตร ์
่
4. ขาดความช ัดเจนเกียวกับความเข้
าใจในธรร
แนะนาให้อา
่ น
1.ทฤษฎีการเงินนิ ยม Milton Friedman ใน
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%95
%E0%B8%B1%E0%B8%99_%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8
%94%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%99
2.Milton Friedman
ใน
http://library.cmu.ac.th/faculty/econ/index.php?option=com_co
ntent&task=view&id=257&Itemid=510
3."มิลตัน
ฟรีดแมน" กับมรดก "ทฤษฎีการเงิน" โลกยุค
ใหม่ อุไรวรรณ ภูว่ จิ ต
ิ รสุทน
ิ และ วัชรา จรูญสันติ
กุล กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร ์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november27
p10.htm
4.
โจเซฟ สติกลิทซ ์ ใน
http://www.prachatai.com/journal/2008/09/18254
โจเซฟ สติกลิตซ ์ : ทาอย่างไรจึงจะป้ องกน
ั วิกฤติวอลล ์สต
ในhttp://www.siamintelligence.com/how-to-prevent-the-next-wall-street-crisis/
6. เศรษฐศาสตร ์แนวพุทธ (Buddhist Economics) พระธรรมปิ ฎก
(ประยุทธ ์ ปยุตโต)
่
่
7. อืนๆที
จะแนะน
าเป็ นลาดับไป
5.
(ปร ับปรุงล่าสุด
3/3/2551)
พระราชบัญญัตธิ รุ กิจสถาบันการเงิน พุทธศักราช 2551
3. 50 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย 2485-2535 , ธนาคารแห่งประเทศ
ไทย
10 ธันวาคม 2535
4. ธนาคารแห่งประเทศไทย พิมพ ์เป็ นอนุ สรณ์ในงานพระราชทาน
เพลิงศพ สมหมาย
ฮุนตระกูล, 25 ธันวาคม 2536
5. 80 ปี อาจารย ์ป๋ วย ชีวต
ิ และผลงาน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์,
2.
2539
การเงินและการธนาคารในประเทศไทย พร ้อมด ้วยภาคทฤษฎี, เริง
ชัย มะระกานนท ์ มูลนิ ธโิ ครงการตาราสังคมศาสตร ์และ
มนุ ษยศาสตร ์, 2521
7. ธนาคารแห่งประเทศไทย, หนังสืออนุ สรณ์งานพระราชทานเพลิง
ศพ นายกาธร สถิรกุล , 20สิงหาคม 2554 วัดชลประทาน
ร ังสฤษฎ ์
6.