Transcript Downloads

งบประมาณแผ่นดิน
ยุทธนา พรหมณี
ความหมายของงบประมาณ
• พจนานุกรม ‘ 2525
หมายถึง บัญชีหรือจานวนเงินที่กาหนดไว้
เป็ นรายรับและรายจ่ าย
• ในแง่ ของแผน หมายถึง แผนการใช้ จ่ายทรัพยากรของรัฐ
ในการทีจ่ ะดาเนินการใด ๆ เพือ่ ให้ บรรลุวตั ถุประสงค์
ทีก่ าหนดไว้ ในช่ วงระยะเวลาหนึ่ง
สรุป
งบประมาณไม่ ใช่ ตัวเงิน แต่ เป็ นแผนการใช้ จ่ายเงิน
หรือประมาณการรับ-จ่ ายเงินดังกล่าวล่ วงหน้ า หรือเป็ นตัวเลข
ในบัญชีทแี่ สดงจานวนเงินรับ-จ่ ายเท่ านั้น
บทบาทของงบประมาณ
โลหิตทีท่ าหน้ าทีห่ ล่อเลีย้ งอวัยวะส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกายมนุษย์ ให้
สามารถดารงชีวติ อยู่และทางานตามทีส่ มองสั่ งการได้ ฉันใด
งบประมาณก็ทาหน้ าที่เป็ นทรัพยากรการบริหาร เพือ่ สนับสนุนให้
รัฐบาลสามารถบริหารประเทศได้ บรรลุเป้าหมายตามนโยบายทีแ่ ถลงไว้ ต่อ
รัฐสภาและที่หาเสี ยงไว้ กบั ประชาชนฉันนั้น
บทบาทด้ านเศรษฐกิจ
งบประมาณเป็ นเครื่องมือในการควบคุมภาวะเศรษฐกิจ
ของประเทศในรู ปแบบของนโยบายการคลัง
- รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการคลังของประเทศ
- มุ่งส่ งเสริมความเจริญเติบโตและความก้าวหน้ าทางเศรษฐกิจ
- ส่ งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
- กระตุ้นธุรกิจเอกชน
บทบาทด้ านการบริหาร
- เป็ นเครื่องมือสาหรับใช้ ในการวางแผนดาเนินงานของรั ฐ
- เป็ นเครื่องมือในการควบคุมการรายงานความก้ าวหน้ าใน
การดาเนินการและประเมินผลการดาเนินงาน
- เป็ นเครื่องมือในการประสานการดาเนินงานต่ าง ๆ
บทบาทด้ านการเมือง
- เป็ นเครื่องมือของฝ่ ายนิติบัญญัติในการควบคุม
การบริหารงานของรัฐบาล
- เป็ นเครื่องมือในการประชาสั มพันธ์ ของรัฐบาล
ด้ วยการใช้ ประโยชน์ จากการใช้ จ่ายเงินภาษีอากร
- แสดงถึงกลุ่มหรือหน่ วยงานทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการเมืองในขณะนั้น
ประเภทของงบประมาณ
 งบประมาณเกินดุล (Surplus Budget)
ได้ แก่ งบประมาณทีม่ ีรายได้ สูงกว่ ารายจ่ าย
- แก้ปัญหาเงินเฟ้อ
- เก็บภาษีอากรเข้ าตรึงให้ ใช้ มากกว่ างบประมาณทีร่ ัฐจ่ ายออกไป
ประเภทของงบประมาณ
 งบประมาณขาดดุล (Deficit Budget)
- รายจ่ ายสู งกว่ ารายได้
- แก้ ปัญหาเศรษฐกิจตกตา่
ประเภทของงบประมาณ
 งบประมาณสมดุล (Balanced Budget)
- รายได้ กบั รายจ่ ายเท่ ากัน
- นโยบายประหยัด
- รักษาเสถียรภาพของรัฐบาล
รูปแบบของงบประมาณ
1. งบประมาณแบบแสดงรายการ
(Line Item Budget)
2. งบประมาณแบบแผนงานหรือแบบแสดงผลงาน
(Performance Budget)
3. งบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
(Planning Programming Budgeting System : PPBS)
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgetng: SPBB
รูปแบบของงบประมาณ
1. งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Item Budget)
 บทบาทของงบประมาณแบบแสดงรายการ
- เป็ นเครื่ องมือของฝ่ ายนิติบญั ญัติในการควบคุมฝ่ ายบริ หาร
- เป็ นเครื่ องมือของฝ่ ายบริ หารที่จะควบคุมการดาเนินงานของ
หน่วยงานต่าง ๆ
1. งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Item Budget)
 ลักษณะสาคัญของงบประมาณแบบแสดงรายการ
- การจาแนกหมวดหมู่ของค่ าใช้ จ่ายอย่ างละเอียด
- การโอนค่ าใช้ จ่ายระหว่ างหมวดหมู่ทาได้ ยาก
1. งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Item Budget)
 ข้ อดีและข้ อจากัดของงบประมาณแบบแสดงรายการ
ข้ อดี
- แสดงถึงรายละเอียดการใช้ จ่ายอย่ างชัดเจน เป็ นระเบียบ
และสะดวกในการติดตาม ควบคุม
- ง่ ายต่ อการจัดทา และเข้ าใจง่ าย
ข้ อจากัด
- ขาดความยืดหยุ่นและไม่ คล่องตัว
- ยากต่ อการประเมินผลงาน
รูปแบบของงบประมาณ
2. งบประมาณแบบแผนงานหรือแบบแสดงผลงาน (Performance Budget)
 บทบาทของงบประมาณแบบแผนงาน/แบบแสดงผลงาน
- เป็ นเครื่องมือในการจัดการ
- เป็ นเครื่องมือแสดงการบรรลุผลงานของงานหรือเป้าหมาย
ทีก่ าหนดไว้ ของรัฐ
- เป็ นเครื่องมือวิเคราะห์ และดาเนินนโยบายเศรษฐกิจ
2. งบประมาณแบบแผนงานหรือแบบแสดงผลงาน
(Performance Budget)
 ลักษณะสาคัญของงบประมาณแบบแสดงผลงาน
- เน้ นการจัดการงานและเป้าหมายของงาน
“ใช้ แล้ วได้ ผลตามประสงค์ หรือไม่ ”
- ระบุค่าใช้ จ่ายต่ อหน่ วยเพือ่ การวัดผลงาน
2. งบประมาณแบบแผนงานหรือแบบแสดงผลงาน
(Performance Budget)
 ข้ อดีและข้ อจากัดของงบประมาณแบบแสดงผลงาน
ข้ อดี
- สามารถแสดงความเกีย่ วข้ องสั มพันธ์ ระหว่ างผลงานที่ได้ รับ
และค่ าใช้ จ่ายที่จ่ายไปสาหรับโครงการ แผนงาน หรือกิจกรรมได้
- สามารถประเมินผลการดาเนินงานได้ ทุกระยะและในทุกระดับงานของรัฐ
- ฝ่ ายนิติบัญญัติพจิ ารณางบประมาณได้ ง่ายขึน้
- ช่ วยให้ หน่ วยงานต่ าง ๆ จัดทางบประมาณได้ ง่ายขึน้
- มีความคล่ องตัวในการใช้ จ่ายมากกว่ างบประมาณแบบแสดงรายการ
2. งบประมาณแบบแผนงานหรือแบบแสดงผลงาน
(Performance Budget)
ข้ อจากัด
- กิจกรรมหรื องานของรัฐบางอย่างไม่สามารถวัดผลงานต่อหน่วย
ได้ชดั เจนในเชิงปริ มาณ การกาหนดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยจึงเป็ นไปได้ยาก
- การกาหนดมาตรฐานสาหรับวิธีการกาหนดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยเป็ นสิ่ งที่
จะต้องนามาพิจารณาประกอบด้วยในการจัดทางบประมาณแบบแสดงผลงาน
- ระบบบัญชีรัฐบาลจะต้องสอดคล้องกับการนางบประมาณแบบแสดง
รายการมาใช้ดว้ ย
รูปแบบของงบประมาณ
3. งบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
(Planning Programming Budgeting System : PPBS)
 บทบาทของงบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
- แสดงถึงการผสมผสานกันอย่างมีระบบระหว่างการวางแผน
และการจัดทางบประมาณ
- แสดงถึงความมีเหตุผลของการเลือกทางเลือก เป้ าหมาย วัตถุประสงค์
และวิธีการเพื่อบรรลุเป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์น้ นั
- การมองไปข้างหน้าสู่ อนาคต
3. งบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
(Planning Programming Budgeting System : PPBS)
บทบาทของงบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
- แสดงให้ เห็ นถึงการวางแผนอย่ างมีระบบ ด้ วยการกาหนดโครงสร้ าง
แผนงานขึน้ ซึ่งประกอบไปด้ วยแผนงานหลัก (Program Categories) แผนงาน
รอง (Program Subcategories) และหน่ วยกิจกรรม (Program Element) มีการ
จัดลาดับวัตถุประสงค์ ของงานหรือโครงการตามโครงสร้ างแผนงานสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน และประสานสอดคล้ องอย่ างเป็ นระบบหรื อที่มีผู้เรี ยกว่ า มีความสาคัญ
สั มพัทธ์ (Relative Importance)
- เป็ นเครื่องมือช่ วยให้ ฝ่ายบริหารตัดสิ นใจได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพมากขึน้
3. งบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
(Planning Programming Budgeting System : PPBS)
 ลักษณะสาคัญของงบประมาณแบบ PPBS
- เน้ นการวางแผนล่ วงหน้ าระยะยาว
- เน้ นการระบุรายละเอียดของกิจกรรม
- เน้ นการวิเคราะห์ ผลได้ หรือผลเสี ย และการเปรียบเทียบ
ทางเลือกของงานหรือโครงการ
3. งบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
(Planning Programming Budgeting System : PPBS)
 ข้ อดีและข้ อจากัดของงบประมาณแบบแบบ PPBS
ข้ อดี
- มีความต่ อเนื่องในการดาเนินงาน
- ขจัดความซ้าซ้ อนของการดาเนินกิจกรรม
- ทาให้ การพิจารณางบประมาณเป็ นไปอย่ างรอบคอบมากขึน้
3. งบประมาณแบบเน้ นการวางแผน
(Planning Programming Budgeting System : PPBS)
ข้ อจากัด
- เป็ นการรวมอานาจการตัดสิ นใจไว้ ทสี่ ่ วนกลาง
- ประสบปัญหาการกาหนดมาตรฐานในการรวบรวมข้ อมูล
- ข้ อมูลเกีย่ วกับผลงานหรือโครงการขาดความน่ าเชื่อถือ
- สิ้นเปลืองเวลาในการจัดทา
รูปแบบของงบประมาณ
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
 ส่ วนประกอบสาคัญของ ZBB
- เป้ าหมายของงาน/โครงการ
- รายละเอียดการดาเนินงาน/โครงการ
- ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับและค่ าใช้ จ่ายของ/โครงการ
- ภาระงานและการวัดผลงาน
- การเลือกเพือ่ บรรลุเป้ าหมายงาน/โครงการ
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
 บทบาทของงบประมาณฐานศูนย์
- เป็ นเครื่ องมือให้การพิจารณางบประมาณเป็ นไปอย่าง
สมเหตุสมผลมากขึ้น
- เป็ นเครื่ องมือช่วยให้รัฐสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายหรื อใช้
ทรัพยากรที่มีอยูจ่ ากัดได้คุม้ ค่า
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
 ลักษณะสาคัญของงบประมาณฐานศูนย์
- มีการระบุเป้ าหมายที่ชดั เจน
- มีการกาหนดหน่วยตัดสิ นใจและจัดทาชุดการตัดสิ นใจ ซึ่ งชุด
การตัดสิ นใจ (Decision Package) หมายถึง เอกสารชุดที่มีรายละเอียดและ
ข้อมูลแสดงความเหมาะสมในการดาเนินงานหรื อโครงการ ข้อมูลที่ปรากฏ
ในชุดการตัดสิ นใจจะประกอบไปด้วยสิ่ งเหล่านี้ คือ
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
o เป้ าหมายของงานหรือโครงการ
o รายละเอียดการดาเนินงานของงานหรือโครงการ
o ภาระงานและการวัดผลงาน
o ทางเลือกเพือ่ บรรลุเป้าหมายของงานหรือโครงการ
- มีการจัดลาดับความสาคัญของชุดการตัดสิ นใจ
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
 ข้ อดีและข้ อจากัดของงบประมาณฐานศูนย์
ข้ อดี
- สามารถจัดสรรงบประมาณในขณะมีปัญหาข้ อจากัดทางทรัพยากรได้
เหมาะสมกว่ า
- สามารถรวบรวมการวางแผนกับการงบประมาณเข้ าเป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกันภายใต้ เงือ่ นไขข้ อจากัดทางทรัพยากร
- ช่ วยให้ จัดสรรงบประมาณในรอบปี ใหม่ ได้ ดกี ว่ า
- มีลักษณะเป็ นประชาธิปไตยมากขึน้
4. งบประมาณฐานศูนย์ /เน้ นการแก้ปัญหาข้ อกาจัดทรัพยากร
(Zero Base Budgeting : ZBB)
 ข้ อดีและข้ อจากัดของงบประมาณฐานศูนย์
ข้ อจากัด
- ประสบปัญหาในการระบุเป้ าหมาย
- ประสบปัญหาในการจัดลาดับชุ ดการตัดสิ นใจ
- ประสบปัญหาการกาหนดค่ าใช้ จ่ายตา่ สุ ด
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
หลักการ
- เน้ นการใช้ ยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายรัฐบาลเป็ นหลัก
ในการจัดการทรัพยากรให้ เกิดประสิ ทธิผลคุ้มค่าและ สอดคล้องกับ
ความต้ องการของประชาชน
- เพิม่ บทบาทและความรับผิดชอบและความรับผิดชอบ
ของกระทรวง กรม ในการบริหารจัดการงบประมาณ และคานึง
ถึงความโปร่ งสั ยและตรวจสอบได้
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
แนวคิดและวิธีการ
จัดสรรงบประมาณโดยใช้ ยุทธศาสตร์ เป็ นตัวนา
ปรับกระบวนการงบประมาณโดยเพิม่ ระยะเวลาในการวางแผน
การเตรียมการ และลดระยะเวลาในการจัดทางบประมาณ
จัดงบประมาณให้ สามารถรองรับสถานการณ์ ที่เปลีย่ นแปลง
(Adaptive Management Budget)
ผ่ อนคลายการควบคุม ปรับปรุงกฎ ระเบียบ ให้ หน่ วยงาน
และพืน้ ทีม่ ีบทบาทมากขึน้
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
กระจาย/มอบอานาจ จากส่ วนกลางไปสู่ ส่วนภูมิภาค
ติดตามประเมินผลอย่ างเป็ นระบบและอย่ างต่ อเนื่อง
เพือ่ ให้ ทราบผลสาเร็จของงาน
พัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศด้ านการงบประมาณ
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
แนวทางในการจัดทางบประมาณ
- กาหนดยุทธศาสตร์ ระดับชาติตามนโยบายของรัฐบาล
- กาหนดยุทธศาสตร์ กระทรวง และเป้ าหมายการให้ บริการทีเ่ ชื่อมโยง
ยุทธศาสตร์ ระดับชาติ
- กาหนดผลผลิตของส่ วนราชการระดับกรมและตัวชี้วดั ผลสาเร็จ
- การมอบอานาจการบริหารงบประมาณแก่ส่วนราชการ
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
แนวทางในการจัดทางบประมาณ
- เน้ นความรับผิดชอบของผู้เกีย่ วข้ อง 3 ระดับ
 รัฐบาล รับผิดชอบความสาเร็จของเป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์
(Strategic Delivery Target)
 กระทรวง รับผิดชอบความสาเร็จของเป้ าหมายการให้ บริการ
(Service Delivery Target)
 กรม รับผิดชอบความสาเร็จของการดาเนินงานตามผลผลิต
(Outputs)
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
หลักการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ
1. ระดับกระทรวง มุ่งเน้ นยุทธศาสตร์ และเป้าหมายการ
ให้ บริการของกระทรวง
อยู่ในขอบเขตการดาเนินงานตามพันธกิจกระทรวง
สอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณ
ของรัฐบาล
มีหน่ วยงานที่รับผิดชอบต่ อเป้าหมายการให้ บริการของ
กระทรวง
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
2. ระดับหน่ วยงาน มุ่งเน้ นผลผลิตของหน่ วยงาน
อยูใ่ นขอบเขตการดาเนินงานตามพันธกิจหน่วยงาน
สอดคล้องเชื่อมโยงและสนับสนุนเป้ าหมายการให้บริ การ
ของกระทรวงอย่างมีนยั สาคัญ
กิจกรรมหลัก มีความชัดเจน มีประสิ ทธิภาพ
คุม้ ค่าและเป็ นไปได้
วัดผลสาเร็ จได้ท้ งั ในเชิงปริ มาณ คุณภาพ
และต้นทุน/ค่าใช้จ่าย
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
3. ระดับค่ าใช้ จ่าย มุ่งเน้ นผลทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้ จ่าย
สนับสนุนผลผลิตและกิจกรรมหลักทีเ่ ลือกสรรแล้ว
คานึงถึงประสิ ทธิภาพ และความประหยัด
จัดค่ าใช้ จ่ายตามสิ ทธิและภาระผูกพันไว้ ครบถ้ วน
พิจารณาครอบคลุมทุกแหล่งเงิน และภาระทีเ่ กิดขึน้ ใน
ปี งบประมาณต่ อ ๆ ไป
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
ข้ อดีของการจัดทางบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
1. รัฐสภา
สามารถอนุมัติงบประมาณตามนโยบายทีแ่ ถลงต่ อรัฐสภา
ได้ ชัดเจนยิ่งขึน้
สามารถตรวจสอบรัฐบาลได้ ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
สามารถตรวจสอบหน่ วยปฏิบัติได้ ตามเป้าหมายการให้ บริการ
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
2. รัฐบาล
บริหารนโยบายได้ ตามเป้าหมายที่สัญญากับประชาชนและ
ที่แถลงต่ อรัฐสภา
มีความโปร่ งใสและตรวจสอบได้
ใช้ ทรัพยากรของประเทศอย่ างคุ้มค่ าและเกิดประโยชน์ สูงสุ ด
5. งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting : SPBB)
3. ส่ วนราชการ
สามารถบริ หารงานได้อย่างคล่องตัว และมีประสิ ทธิภาพ
ตลอดจนบรรลุผลสาเร็ จตามเป้ าหมาย
4. ประชาชน
ได้รับบริ การและการแก้ไขปัญหาที่ดีข้ ึน
มีคุณภาพชีวิตที่ดี