ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชันด้ วยคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนร่ วมกัน
ในการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
ENHANCING METACOGINTIVE SKILLS USING
COMPUTER-SUPPORTED COLLABORATIVE LEARNING
IN PROJECT-BASED LEARNING
โดย
นายประพรรธน์ พละชีวะ
นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ผศ.ดร. ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ทักษะเมตาคอกนิชัน
การที่บุคคลรู้ถงึ กระบวนการคิดของ
ตนเองว่ าตนเองมีเป้าหมายอะไร
มีวิธีการอย่ างไรที่จะทาให้ ตนเองบรรลุ
เป้าหมาย และประเมินตนเองได้ ว่า
วิธีการที่ใช้ สามารถทาให้ บรรลุเป้าหมาย
ได้ หรือไม่ (Beyer, 1997 ;
Lories, Dardenne and Tzerbyt, 1998 และพิมพ์ พนั ธ์
เดชะคุปต์ , 2544)
ทักษะเมตาคอกนิชัน
• แบ่ งออกเป็ น 3 องค์ ประกอบ (Flavell, 1979 and
Beyer, 1987) ได้ แก่
1. การวางแผน
2. การตรวจสอบ
3. การประเมิน
การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
Scruggs (1985 cited
in Blakey,1990) และ
พิมพ์ พันธ์ เดชะคุปต์ (2544)
กล่ าวว่ า การฝึ กให้ ผ้ ูเรียนได้
สะท้ อนความคิดออกมาให้ ตนเอง
ได้ รับรู้ว่าตนเองกาลังคิดอะไรอยู่ วิธีการคือการเขียนบันทึก
เหตุการณ์ หรืออนุทนิ ที่ทาให้ ผ้ ูเรียนได้ คดิ ทบทวนไปถึง
กระบวนการเรียนหรือการทางานของตนเองที่ผ่านมา
การเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(Project-Based Learning)
1.เป็ นกิจกรรมการเรี ยนที่เปิ ดโอกาสให้
ผู้เรี ยนนาความรู้ ความสามารถของตนเอง
ไปประยุกต์ ใช้ ในการแก้ ปัญหาใน
ชีวติ ประจาวัน
2.ฐานเป็ นกิจกรรมการเรี ยนที่ต้อง
ทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยน
เรี ยนรู้ และทางานร่ วมกับผู้เรี ยนคนอื่นๆ
3.ผลลัพธ์ ท่ ีได้ จากการเรี ยนแบบโครงงานเป็ นฐานคือการได้ สร้ างผลงานที่
แสดงให้ เห็นถึงความคิดหรื อการแก้ ไขปั ญหา, ชิน้ งาน, นวัตกรรม
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
1) คัดเลือกหัวข้ อที่น่าสนใจ
1.1) ผู้เรี ยนและผู้สอนพูดคุย
เพื่อค้ นหาหัวข้ อและประเด็นปั ญหา
1.2)ใช้ การระดมสมอง เพื่อ
วางแผนในการศึกษาและร่ วมกันตัง้
คาถาม เพื่อค้ นหาคาตอบ
1.3) หาหัวข้ อเรื่ องที่จะทาโครงงานโดยผู้เรี ยนต้ องตัง้ ต้ นด้ วยคาถาม
ที่ว่า “จะศึกษาอะไร” และ “ทาไมต้ องศึกษาเรื่ องดังกล่ าว”
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
2) ศึกษาค้ นคว้ าเอกสาร
2.1) ค้ นคว้ าหาข้ อมูลเกี่ยวกับ
หัวข้ อโครงงาน
2.2) ขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ
2.3) การดาเนินงานตามขัน้ ตอนนี ้
จะทาให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจในรายละเอียดต่ างๆของเนือ้ หา และทาให้
เห็นถึงขอบข่ ายของภาระงานที่จะดาเนินการของโครงงานที่จะทา
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
3) จัดทาข้ อเสนอโครงงาน
3.1) เขียนเค้ าโครงของโครงงาน
เป็ นการสร้ างแผนที่ความคิด
3.2) การดาเนินงานในขัน้ นีอ้ าจ
ใช้ การระดมสมอง
3.3) เมื่อเกิดความชัดเจนแล้ วจึงนาเอามากาหนดเขียนเป็ นเค้ าโครง
ของโครงงาน 3.4) นาเสนอแผนงานให้ แก่ สมาชิกในกลุ่ม
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
4) พัฒนาโครงงาน
4.1) เตรี ยมการและลงมือทา
โครงงาน
4.2) มีการทดสอบสมมติฐานและ
ปรั บปรุ งแก้ ไขผลงาน ผู้เรี ยนมักจะใช้
เวลาทาโครงงานในระยะนีย้ าวนานกว่ าทุกระยะ
4.3) นัดหมายมาพบกันทุก ๆ สัปดาห์ เพื่อนาเสนอสิ่งที่ได้ ทาเรี ยบร้ อย
แล้ ววางแผนงานในการทางานในสัปดาห์ ต่อไป
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
5) จัดทารายงาน
5.1) เป็ นการสรุ ปรายงานผล การ
ดาเนินงานโครงงานเพื่อให้ ผ้ ูอ่ ืนได้
ทราบถึงแนวคิด วิธีดาเนินงาน ผลงาน
5.2) การเขียนรายงาน ควรใช้
ภาษาที่เข้ าใจง่ าย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ของ
โครงงานที่ปฏิบัตไิ ปแล้ ว
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
6) นาเสนอและเผยแพร่ เตรี ยมการ
นาเสนอผลการดาเนินการตาม
โครงงาน ทัง้ ในด้ านเนือ้ หาและ
กระบวนการ เช่ น การมีส่วนร่ วม
กระบวนการวัดและประเมินผล การ
ร่ วมมือทางานภายในกลุ่มของผู้เรี ยน และผู้ดูแลให้ คาปรึกษาโครงงาน
รวมถึงผลผลิตที่ได้ จากการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
(กรมวิชาการ, 2551 ; สุชาติ วงศ์ สุวรรณ, 2542 ; Baert et al,
1999 ; Edwards, Gandini and Forman, 1993 ;
Katz and Chard, 1994 อ้ างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551)
การประเมินผลการเรียน
แบบโครงงานเป็ นฐาน
1) การประเมินกระบวนการ หมายถึง ลาดับขัน้ ตอนของการดาเนินกิจกรรม
ตามโครงงานตัง้ แต่ เริ่มโครงงานจนจบโครงงาน
2) การประเมินผลโครงงาน หมายถึง ผลที่ได้ จากการดาเนินตาม
กระบวนการ เช่ น เค้ าโครงของโครงงาน รายงาน ผลงานที่ได้
คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรี ยนรู้ ร่วมกัน
(Computer-Supported Collaborative Learning)
เครื่ องมือช่ วยสนับสนุนผู้เรียนในการ
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้และสร้ างความรู้ ตามแนว
ทางการจัดการเรียนการสอนแบบคอนสตรัคติวิสต์ โดยมีเครื่ องมือที่ช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถ
ติดต่ อสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้ าง
ความรู้ ร่วมกับผู้เรียนคนอื่นๆ (Strijbos,
Kirschner and Martens, 2004 ; Nilufar, Antonija
and Warwick, 2007 ; Jingyan, Susanne and
Jeffrey, 2010 ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550 ; ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
, 2552)
เครื่องมือในคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการ
เรี ยนรู้ร่วมกัน
สามารถจาแนกออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1) เครื่องมือที่ใช้ แบบประสานเวลา เช่ น โปรแกรม Chat,
การใช้ การส่ งฝากข้ อความ, Real Time Audio ฯลฯ
2) เครื่องมือที่ใช้ แบบไม่ ประสานเวลา เช่ น E-mail,
WebBoard), Wiki, Weblog, เครื่องมือช่ วยระดม
สมองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online Brainstorming),
เครื่องมือช่ วยโต้ แย้ งทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online
Argumentation) ฯลฯ
การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
ด้ วยคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรี ยนรู้ ร่วมกัน
Palonen (2006) และ Pifarre and Cobos (2010)
คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกันจะเป็ นเครื่ องมือหนึ่งที่ช่วยให้ ผ้ ูเรี ยน
สามารถพบปะในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร่วมกัน ภาระงานที่ได้ รับมอบหมายจะ
ทาให้ ผ้ ูเรียนต้ องทาการวางแผนเพื่อทาภารงานให้ สาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ หา
วิธีการดาเนินการให้ สาเร็จลุล่วง และประเมินผลสาเร็จในการทางาน ตลอดจนการได้
ทางานกับเพื่อนร่ วมชัน้ เรี ยนคนอื่นๆทาให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การปรับตัวใน
การทางานร่ วมกับผู้อ่ นื ทาให้ ผ้ ูเรียนต้ องวางแผนการทางานอย่ างรอบคอบมากขึน้
เพราะผู้เรี ยนจะตระหนักถึงความรั บผิดชอบต่ อส่ วนรวม ผลงานที่ทาออกมานัน้ จะต้ อง
เป็ นที่ยอมรับของเพื่อนร่ วมกลุ่ม ทาให้ ผ้ ูเรียนต้ องวางแผนการทางาน ตรวจสอบ และ
ประเมินการทางานของตนเองให้ รัดกุมมาก
บทบาทของคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ ร่ วมกันเพื่อเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
1) การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ เอกสารเป็ นฐาน : ทาให้ ผ้ ูเรียน
สามารถจัดองค์ ประกอบความรู้และได้ เพื่อนช่ วยสะท้ อนความคิด
เพื่อนามาปรับปรุ งงานของตนเอง
2) การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ การวิจารณ์ เป็ นฐาน : เป็ นระบบ
สนับสนุนที่ทาให้ ผ้ ูเรียนสามารถโหวต แสดงความคิดเห็นเพื่อ
พัฒนางานและความคิดแก่ ตนเองและเพื่อนร่ วมชัน้ เรียน
การใช้ คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน
ในการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
การใช้ เทคนิคการระดมสมองผ่ านเครื่ องมือช่ วยระดมสมองอิเล็กทรอนิกส์
เพราะจะช่ วยแสดงให้ เห็นภาพรวม และเสริมความเข้ าใจได้ มากยิ่งขึน้ ใน
ระยะเวลาที่สัน้ กว่ าการระดมสมองบนโต๊ ะทางาน ช่ วยลดข้ อจากัดของ
ผู้เรี ยนทัง้ ในด้ านสถานที่ และเวลา โดยคาถามที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนระดม
สมองจะปรากฏอยู่ในหน้ าจอคอมพิวเตอร์ ของผู้เรี ยนแต่ ละคนและผู้เรี ยน
สามารถส่ งความคิดเห็นของตนเองเข้ าไปแสดงที่หน้ าจอของตนเองและ
เพื่อนสมาชิกทุกคนหลังจากนัน้ ผู้เรี ยนสามารถรวบรวมแนวคิดและนาไป
ปฏิบัตงิ านต่ อได้ (Herrmann and Nolte, 2010)
ตัวอย่ างเครื่ องมือช่ วยระดมสมองอิเล็กทรอนิกส์
www.bubbl.us
การใช้ คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน
ในการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐาน
เทคนิคการโต้ แย้ งได้ ถูกนามาใช้
ร่ วมกับคอมพิวเตอร์ สนับสนุน
การเรี ยนรู้ ร่วมกัน ในรู ปแบบ
เครื่ องมือช่ วยโต้ แย้ ง
อิเล็กทรอนิกส์ (Online
Argumentation) โดยการใช้ เครื่ องมือนีจ้ ะส่ งผลดีคือ จะกระตุ้นให้
ผู้เรี ยนที่เฉื่อยชา ไม่ กล้ าแสดงความคิดเห็นสามารถแสดงความคิดเห็นใน
การโต้ แย้ งได้ ดีขนึ ้ เพราะไม่ ต้องเผชิญหน้ ากับผู้เรี ยนคนอื่น มีเวลาคิด และ
ไตร่ ตรองในการเสนอทรรศนะของตนเองมากขึน้ และยังช่ วยหลีกเลียงการ
เผชิญหน้ าระหว่ างผู้เรี ยนที่มีทัศนคติท่ แี ตกต่ างกัน
น
ตัวอย่ างเครื่ องมือช่ วยโต้ แย้ งอิเล็กทรอนิกส์
www.Covinceme.com
การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
ด้ วยคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกัน
ที่ใช้ เทคนิคการระดมสมองและเทคนิคการโต้ แย้ ง
ในการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐานสาหรับนักเรียนระดับชัน้
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เทคนิคการระดมสมอง
“เทคนิคการระดมสมองจะเป็ น
เทคนิคที่หลีกเลี่ยงการปะทะกันทาง
ความคิด ใช้ การรอมชอมและ
ผสมผสานความเห็นของสมาชิกใน
กลุ่ม แต่ เทคนิคการโต้ แย้ งผู้เรียนนัน้
จะต้ องชีใ้ ห้ เห็นถึงจุดเด่ นของ
ความคิดตนเอง และโจมตีจุดด้ อย
ของสมาชิกคนอื่นซึ่งจะทาให้ เกิด
บรรยากาศการเรียนที่แตกต่ างกันไป
โดยเทคนิคการโต้ แย้ งจะก่ อให้ เกิด
ความรู้ สึกแข่ งขันกันมากกว่ า “
เทคนิคการโต้ แย้ ง
การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
ด้ วยคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกัน
ที่ใช้ เทคนิคการระดมสมองและเทคนิคการโต้ แย้ ง
ในการเรียนแบบโครงงานเป็ นฐานสาหรับนักเรียนระดับชัน้
มัธยมศึกษาตอนปลาย
การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
ด้ วยคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกัน
ที่ใช้ เทคนิคการระดมสมอง
การเสริมสร้ างทักษะเมตาคอกนิชัน
ด้ วยคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรี ยนรู้ ร่วมกัน
ที่ใช้ เทคนิคการโต้ แย้ ง