การกระจายอานาจการคลังองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น: กรณี ศึกษาประเทศไทย (Fiscal Decentralization: in Thailand) รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวฒั นา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Download Report

Transcript การกระจายอานาจการคลังองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น: กรณี ศึกษาประเทศไทย (Fiscal Decentralization: in Thailand) รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวฒั นา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การกระจายอานาจการคลังองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น:
กรณี ศึกษาประเทศไทย
(Fiscal Decentralization: in Thailand)
รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวฒั นา
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หน้ าทีข่ องภาครัฐทีค่ วรจะเป็ น (Musgrave 1959)
เพือ่ การจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocation)
• เพือ่ รักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ (Economic Stabilization)
• เพือ่ การกระจายรายได้ (Income Redistribution)
• เพือ่ การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ (Economic Growth)
•
เพื่อการควบคุมระเบียบ (Regulatory Function)
เหตุผลและหลักการกระจายอานาจฯ
 เพื่อการจัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสม (Resource
Allocation)
 สิ นค้าสาธารณะระดับท้องถิ่น (Local Public Goods)
รู ้ความต้องการของประชาชนที่ดีกว่า
นักการเมืองท้องถิ่นปรับการให้บริ การได้ง่ายกว่ารัฐบาล
ปั ญหาคือทาอย่างไรให้มีการรับรู้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง
 เพื่อการแก้ไขความยากจนของประชาชน
 การกระจายอานาจให้แก่ อปท.
ลดบทบาทส่ วนกลาง
ให้ อปท. บริการ
สาธารณะแทน
ยึดประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง (นโยบาย)
ประโยชน์ สุขของประชาชน/
แก้ ไขปัญหาความเดือดร้ อน
(เป้าหมาย)
ประชาชนมีส่วนร่ วม (ประชาชนทาอย่ างไรจึงจะสาเร็จ)
การกระจายอานาจฯคืออะไร และทาไมต้องกระจายอานาจฯ
 คาถามพื้นฐาน:
 นิ ยามการกระจายอานาจฯ
 ความเกี่ยวพันการกระจายอานาจการคลังกับระบบเศรษฐกิจมหภาค
 ความสามารถในการบริ หารจัดการของท้องถิ่น
 อะไรคือปั จจัยกาหนดความสาเร็ จของการกระจายอานาจคลัง
ความหมายของการกระจายการคลังสู่ ทอ้ งถิ่น
 เป็ นการถ่ายโอนอานาจการตัดสิ นใจทางการคลังแก่ทอ
้ งถิ่นอย่าง
อิสระตามกรอบที่กาหนด
 สร้างความรับผิดชอบทางการคลังของท้องถิ่น
 มอบอานาจการหารายได้แก่ทอ
้ งถิ่น
 ท้องถิ่นสามารถกาหนดการใช้จ่ายทั้งขนาดและประเภทได้ดว้ ยตัวเอง
 ท้องถิ่นกาหนดและจัดทางบประมาณได้ดว้ ยตัวเอง
การกระจายอานาจการคลังฯ
Citizen Demands
Decentralization
1. Revenue assignment
2. Expenditure assignment
Government Resources
and Capabilities
นิยามการกระจายอานาจฯ



De-concentration คือการกระจายการกระจุกตัวของ
ความรับผิดชอบของรัฐบาลให้แก่ภูมิภาค หรื อหน่วยงานอื่นในระดับ
พื้นที่
Delegation เป็ นสถานภาพที่หน่วยปกครองท้องถิ่นทาหน้าที่
เหมือนหน่วยงานของรัฐบาล ในการทาหน้าที่บางอย่างแทนรัฐบาล
เช่นรัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่นอาจทาได้แต่ความรับผิดรับชอบเป็ นของ
รัฐบาล ตัวอย่างการสาธารณสุ ข
Devolution เป็ นสถานภาพที่อานาจการตัดสิ นใจอยูภ่ ายใต้
อานาจของท้องถิ่น และรับผิดรับชอบกับประชาชนโดยตรง
การประเมินความสาเร็ จในการกระจายอานาจการคลังฯ
 Bottom-up ให้คุณค่ากับ

คุณค่าทางการเมือง (Political Value) คือมีการเพิม่ บทบาทการ
บริ หาร (Governance) ที่ทาให้เกิดความรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและ
การมีส่วนร่ วมของประชาชน คานึงความมีประสิ ทธิภาพ
(efficiency) ที่จะเพิม่ สวัสดิการของประชาชนมากขึ้น เกิด
เสถียรภาพทางการเมือง (political Stability)
 Top-Down อาจไม่ได้คานึงความมีประสิ ทธิ ภาพแต่เป็ นความ
ต้องการลดภาระงบประมาณของรัฐบาลและ/หรื อเพือ่ เพิม่
ประสิ ทธิภาพการจัดสรรทรัพยากรของรัฐบาลที่ให้กบั ประชาชน
การกระจายอานาจการคลังฯ กับมุมมองด้านเศรษฐกิจมหภาค
 ความเสี่ ยง:
การกระจายรายรับที่ไม่มีข้นั ตอนที่ดีพอในการเสริ มสร้างรายรับ
ของท้องถิ่นเองที่เพียงพอกับการทาหน้าที่ ทาให้อาจส่ งผลต่อ
เสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค
 การกระจายการคลังจากด้านรายจ่าย อาจทาให้คุณภาพบริ การ
สาธารณะตกต่าลงหรื อท้องถิ่นเรี ยกร้องเงินอุดหนุนเพือ่ หรื อ
เรี ยกร้องการกูย้ มื จากแหล่งทุนมากขึ้น
 การไม่มีความสามารถเพียงพอในการบริ หารของท้องถิ่นในการทา
หน้าที่ในระดับที่น่าพอใจ

ความสามารถของท้องถิ่นกับการจัดเก็บรายได้ (ภาษี)

คุณภาพชีวติ ของประชาชนกับบริ การสาธารณะ
 ระบบเงินอุดหนุ นเพื่อจูงใจการลงทุน
 มาตรฐานงานขั้นต่าเพื่อคุณภาพงานและการพัฒนา
คุณภาพชีวติ ประชาชน
 Co-participation in-cash and in-kind
ปัจจัยกาหนดความสาเร็ จการลงทุนและใช้จ่าย
 Demand driven (high degree of involvement of people);
 Transparency and accountable;
 Carefully targeted to low income people;
 Relatively autonomous in operation.
ที่สาคัญคือผูเ้ กี่ยวข้องได้ประโยชน์โดยตรงโดยตรงต้องร่ วมในการบริ หาร
และสนับสนุนการหารายรับเพื่อใช้จ่ายในโครงการ (Cost sharing)
เงื่อนไขความสาเร็ จของการกระจายอานาจการคลังฯ



ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย (Democratic) ต้นทุนและ
ประโยชน์จากการตัดสิ นใจโปร่ งใส และทุกๆคนมีโอกาสแสดง
ความเห็นของตนเอง แต่ในประเทศที่ประชาธิปไตยไม่สมบูรณ์อาจ
เป็ นแบบ Top down
ผูท้ ี่ตดั สิ นใจเป็ นผูท้ ี่รับภาระการตัดสิ นใจหรื ออีกนัยคือไม่มีการผลัก
ผลักออกจากพื้นที่ (No tax-exporting)
การมี (Hard budget constraint) เพราะทาให้เกิดความรับผิดรับชอบ
(Accountability)
ประเภทของ Accountability
 Political Accountability การรับผิดชอบต่อระชาชนในเขต
เลือกตั้งของนักการเมือง
 Administrative Accountability การรับผิดชอบต่อ กฎ ระเบียบ
ที่ใช้บงั คับ
 Economic Accountability การรับผิดชอบต่อการร่ วมจ่ายและ
รับผลประโยชน์จากบริ การสาธารณะ
ประเด็นการศึกษาของการกระจายอานาจการคลังฯ
 ใครทาอะไร? (การกาหนดรายจ่าย expenditure assignment)
 ใครเก็บภาษีหรื อรายรับอะไร (การกาหนดรายรับ Revenue
Assignment)
 การแก้ไขความไม่เท่าเทียบระหว่างรายรับและรายจ่าย (Vertical
Imbalance)
 จะปรับตัวด้านการคลังอย่างไรเพื่อชดเชยความต้องการและ
ความสามารถที่แตกต่างกันระหว่างท้องถิ่น (Horizontal imbalance)
ประสิ ทธิผลของการมีระบบการบริ หารการเงินการคลังที่ดีของ
อปท. คืออะไร
องค์ประกอบของระบบบริ หารการเงินที่มีประสิ ทธิผล Components of an
Effective Financial Management System
การมีส่วนร่ วมชุมชน และเป็ นเจ้าของในการวัดผลงาน Community Driven
Performance Measurements
Community Ownership
Budget Policies
Formulation and Execution
Community (Participation) Driven
Effective Treasury and Cash
Management Systems
มาตรฐานบัญชีทดี่ ี Standardized
Accountable Chart of Accounts
ความโปร่ งใส Transparent/
(External / Internal
Audits) Accounting
Systems
การกาหนดรายจ่าย (ภารกิจหน้ าที่)

ทาเพื่อเป็ นการระบุ “ใครได้ทาหน้ าที่อะไร” ที่เป็ นคาถามพืน้ ฐานของ
การกระจายอานาจฯ






สินค้าสาธารณะระดับชาติ (การป้ องกันประเทศ ยุติธรรม ฯลฯ)
สินค้าสาธารณะระดับท้องถิ่น (การดูแลความสะอาด ฯลฯ)
สินค้าที่ต้องร่วมกันให้บริการ (การประหยัดจากขนาด Externalities
ฯลฯ)
การกาหนดรายจ่ายต้องมาก่อนรายรับ
การกาหนดรายจ่าย/ภารกิจนาไปสู่การกาหนดรายรับ โดยเฉพาะ
ประเภทภาษี ที่ต้องจัดเก็บ
เพื่อให้เกิด Cost effective ในการทาหน้ าที่ของท้องถิ่น
การกาหนดรายจ่าย

เพื่อรู้ถึงองค์ประกอบเรื่อง กฎ กติกา ในการตัดสินใจเชิง
นโยบายในเรื่องต่อไปนี้




ผูท้ ี่ทาหน้ าที่ตดั สินใจระดับใดจะเป็ นผู้กาหนดนโยบาย
ขนาดของเงินที่ต้องการใช้จ่าย
ใครจะเป็ นผูจ้ ดั หาเงินใช้จ่ายเพื่อหน้ าที่ภารกิจต่างๆ
ใครจะเป็ นผูบ้ ริหารภารกิจดังกล่าว
การเรี ยนรู้ความต้องการของประชาชน
 การสารวจความต้องการ (Survey)
 การออกเสี ยงเรี ยนร้อง (Voice)
 การอพยพย้ายหนี (Exit)
1. เพื่อปรับปรุ งในการให้บริ การสาธารณะขั้นพื้นฐาน เช่น การศึกษา
สาธารณสุ ข ทรัพยากรน้ า และการกาจัดสิ่ งปฏิกลู การกระจายอานาจ จึงเป็ น
เครื่ องที่ใช้เพื่อขจัดปัญหาความล้มเหลวในการให้บริ การสาธารณะทั้งในแง่
ของประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
2. การกระจายอานาจเป็ นกลไกที่ช่วยให้การส่ งมอบบริ การสาธารณะแก่
ประชาชนโดยใช้เวลาที่ลดลง ซึ่งปัญหาของความล่าช้าในการให้บริ การนั้น
มักเกิดจากระบบการบริ หารราชการที่มีการรวมศูนย์อานาจ (Centralization)
ไว้ที่ส่วนกลาง และขาดผูร้ ับผิดชอบที่แท้จริ งในการให้บริ การระดับท้องถิ่น
ผู้ผลิตนโยบายการ
ให้ บริการสาธารณะ
(รัฐบาล)
ประชาชนในพืน้ ที่
นั้นๆ
ผู้ให้ บริการสาธารณะ
ในพืน้ ที
(อปท.)
สาเหตุทตี่ ้ องมีการกาหนดภารกิจหน้ าที่



หลักประสิ ทธิภาพ (Efficiency) สะท้อนความต้องการ รสนิยมของ
พื้นที่ที่มีความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ ตัวอย่าง การดูแลความสะอาด
สุ ขอนามัย ควรเป็ นของ อปท. แต่การจัดการการเดินทางอากาศเป็ น
ของรัฐบาล
รับผิดรับชอบ (Accountability) มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประชาชน
ทาให้สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผูร้ ับและผูใ้ ห้บริ การ
สาธารณะได้ดีกว่ารัฐบาล
ความสามารถในการจัดการ (Manageability) ส่ งเสริ มการพัฒนา และ
นวัตกรรมใหม่ในการให้บริ การสาธารณะ
ปญั หาทีม่ กั เกิดขึน้ ในการกาหนดรายจ่าย

ไม่มีการกาหนดรายจ่ายอย่างแท้จริง (Lack of Formal
Assignment)


ไม่สามารถนาไปสู่การมีเงินโอนระหว่างรัฐบาลกับ อปท. ที่มีความชัดเจน
ทาให้ไม่ร้ปู ระเภทรายจ่ายแน่ นอนในการจัดเตรียม วางแผน งบประมาณ ระหว่างแต่ละ
ประเภทของ อปท.

การกาหนดที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Inefficiency Assignment)

ความไม่ชดั เจนในการกาหนดหน้ าที่บางอย่าง (Ambiguity
Assignment)
รายจ่ายลงทุน Capital Expenditure Assignment ไม่ควรเป็ นของใครฝ่ าย
เดียว
 ขาดกลไกในการสร้างความร่วมมือและประสานการทางานร่วมกันระหว่าง อปท.


การกาหนดความรับผิดชอบภารกิจให้มากกว่าหนึ่ ง อปท.
Co-Sharing of Responsibility ตัวอย่าง การศึกษา
การกาหนดรายได้
แบ่ งออกเป็ นสองแนวคิดคือ
 การกาหนดจากการแบ่ งรายรั บ (Revenue Sharing
Approach)
 การกาหนดจากรายรั บ (Revenue Assignment
Approach)
รายได้ จากการแบ่ งรายรับของรัฐบาล (Revenue Sharing)
เป็ นการแบ่ งรายรับจากการจัดเก็บรายได้ บนฐานรายได้ ของรัฐบาล
อาจเป็ นการแบ่ งให้ บางส่ วนหรือยกให้ ท้งั หมดก็ได้
(เป็ นเรื่องทีม่ ีความยุ่งยากมากทีส่ ุ ดในการแบ่ งรายได้ ให้ มีความ
เหมาะสมทั้งทางการเมืองและทางเศรษฐศาสตร์ )
การแบ่งรายรับให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
(Revenue Assignment)
 เป็ นวิธีการที่กาหนดให้ มก
ี ารจาแนกประเภทของรายได้ ว่า
รายได้ ใดสมควรเป็ นของรัฐบาลหรือขององค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่น
 การแบ่ งประเภทรายได้ จะต้ องคานึงถึง
ความมีประสิ ทธิภาพในการจัดเก็บรายได้
 ต้ นทุนในการจัดเก็บ
 อานาจการบังคับใช้ (ความครอบคลุมของรายได้ เช่ น ภาษีเงินได้ )

ทางเลือกของรายรับเพื่อใช้จ่ายของ อปท.
รายรับของ อปท.
จัดเก็บเองโดย อปท.
- ภาษีทรัพย์สิน หรื อรายได้จากฐานที่ดิน
- ภาษี/รายได้จากธุรกิจ (ค่าใบอนุญาต/ค่าธรรมเนียม)
- ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ (User Charges and Fees/Licenses)
- ภาษียานยนต์ลอ้ เลื่อน (Vehicle and Transportation-Related Taxes)
- ภาษีสรรพสามิต (Selective Excise Taxes)
สร้างความรับผิด (Accountability)
ระหว่าง อปท. กับ ประชาชนในพื้นที่
ทางเลือกของรายรับเพื่อใช้จ่ายของ อปท.
รายรับจากการเก็บเพิม่ Local Surcharges/Piggyback
Taxes (โดยมีการตัดสิ นใจเกี่ยวกับอัตราโดย อปท.)
รายรับจากการโอน (Revenue Transfers)
รับโดย อปท.
- เงินอุดหนุนให้ อปท. (Grant Transfers)
- ภาษีแบ่ง (Shared Taxes) เช่น ภาษี VAT สรรพสามิต ล้อเลื่อน ฯลฯ
รายได้จากค่าธรรมเนียม (User Charges)


ยุตธิ รรม และอยู่บนฐานของผลประโยชน์ (Fair and base on
benefit principle)
มีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Efficient)
แนวโน้ม
-ไม่ค่อยถูกนามาใช้
- การนามาใช้มกั ไม่ก่อประสิ ทธิภาพ
-ต้นทุนในการจัดการสูง
การออกแบบการใช้ค่าธรรมเนียม
-เรี ยบง่าย
- อย่าเก็บเล็กเก็บน้อย
- สร้างการยอมรับของประชาชน
- คิดการ Outsourcing ในการเก็บ
ทาไมต้องให้ อปท. จัดเก็บรายรับเอง





เพือ่ ให้ได้รับประโยชน์ ประสิ ทธิภาพ จากการกระจายอานาจฯ อย่างแท้จริ ง
(การมีอิสระในการคิดเอง ทาเอง แก้ไขปั ญหาได้รวดเร็ ว ฯลฯ)
ช่วยส่ งเสริ มการมีความรับผิดและความเป็ นเจ้าของของประชาชน
(Accountability and Ownership)
มัน่ ใจในความเป็ นอิสระของ อปท. (Ensures Local
Autonomy)
ส่ งเสริ มการบริ หารกระแสการเงินของ อปท. (Facilitates Cash
Flow management)
ช่วยลดแรงจูงใจใช้เงินนอกงบประมาณ (เช่น เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ)
ทาไมต้องให้ อปท. จัดเก็บรายรับเอง (2)
รายรับของ อปท. ที่เก็บเองต้องการการตัดสิ นใจ (Discretion)
จาก อปท. เองในด้านอัตราภาษี และการบริ หาร ทั้งนี้การมีส่วนร่ วมใน
การตัดสิ นใจอาจไม่จาเป็ นต้องมีอย่างเต็มที่ เพียงมีอานาจบางส่ วน (at
the margin) ก็เพียงพอแล้ว เพือ่ ให้สามารถปรับการใช้ภาษีเพือ่
เกิดความร่ วมรับผิดชอบในการจ่าย/รับภาระต้นทุนของประชาชน
รายรับของ อปท.ที่จดั เก็บเอง เป็ นความจาเป็ นที่ตอ้ งมี (Necessary) แต่ไม่
ต้องเงื่อนไขเหตุผลทั้งหมด (Sufficient) ของการมีประสิ ทธิผลของการ
กระจายอานาจการคลังให้แก่ อปท. และเพื่อการพัฒนาการให้บริ การ
สาธารณะของ อปท.
เปรียบเทียบรายได้ ของ อปท. ปี งบประมาณ 2544-2547
( หลัง พ.ร.บ.กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจฯ )
ประเภทรายได้
1. รายได้ ท้องถิ่นจัดเก็บ
เอง
2. รายได้ ที่รัฐบาลเก็บให้
3. รายได้ ที่รัฐบาลแบ่ งให้
4. เงินอุดหนุน
รวมรายได้ ท้องถิ่นทั้งสิ้น
รายได้ รัฐบาล
สั ดส่ วนต่ อรายได้ รัฐบาล
ปี งบประมาณ
2544
ร้ อยละ
2545
ร้ อย
ละ
2546
ร้ อยละ
2547
ร้ อยละ
17,701.88 11.08 21,084.47 11.99 22,258.28 12.09 24,786.27 10.24
55,651.90 34.84 58,143.52 33.06 60,217.71 32.72 82,623.37 34.15
12,669.00
7.93 19,349.00 11.00 35,504.44 19.29 43,100.00 17.81
73,729.80 46.15 77,273.30 43.94 66,085.60 35.90
91438.00 37.79
154,633.10
241,947.64 100.00
100.00 176,154.91 100.00 184,066.03
100.00
772,574.00
803,651.00
829,495.56
1,063,600.00
20.68
21.88
22.19
22.75
รายได้ของ อปท. ปีงบประมาณ 2549-2550
( หลัง พ.ร.บ.กาหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจฯ )
ประเภทรายได้
ปี งบประมาณ
2548
ปี งบประมาณ
ร้ อยละ
2549
ร้ อยละ
1. รายได้ ท้องถิ่นจัดเก็บเอง
27,018.96
9.58
29,110.41
8.90
2. รายได้ ทรี่ ัฐบาลเก็บให้
95,370.34
33.82
110,189.59
33.69
3. รายได้ ทรี่ ัฐบาลแบ่ งให้
49,000.00
17.38
61,800.00
18.89
4. เงินอุดหนุน
110,610.70
39.22
126,013.00
38.52
รวมรายได้ ท้องถิ่นทั้งสิ้น
282,000.00
100.00
327,113.00
100.00
รายได้ รัฐบาล
สั ดส่ วนต่ อรายได้ รัฐบาล
1,200,000
1,360,000
23.50
24.05
ประเภทรายได้
ปี งบประมาณ
ปี งบประมาณ
2550
ร้ อยละ
ร้ อยละ
2551
1. รายได้ ท้องถิ่นจัดเก็บเอง
32021.45
8.96
35223.6
9.35
2. รายได้ ที่รัฐบาลเก็บให้
186028.7
52.05
193676.4
51.41
4. เงินอุดหนุน
139374.0
38.99
147840
39.24
357424.15
100.00
รวมรายได้ ท้องถิ่นทั้งสิ้น
รายได้ รัฐบาล
สั ดส่ วนต่ อรายได้ รัฐบาล
100.00
1420000
1495000
25.17
25.2
ปัญหาระบบรายไดของท
องถิ
น
่ ไทย
้
้
• แหลงรายได
ไม
่
้ ได
่ รั
้ บการพัฒนาให้ท
• ขาดเครือ
่ งมือในการจัดเก็บรายได
• ขาดการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
• ไมมี
่ ระบบลงโทษและให้คุณแกทุ
่ กฝ
ปัญหาระบบรายจายของท
องถิ
น
่ ไท
่
้
• ไมสามารถก
าหนดประเภทรายจายได
อ้
่
่
(มีการกาหนดรายการใช้จ่ายล่วงหน้าไว้มาก)
ช
่ ด
ั เจน
• ขาดทิศทางการใช้จายที
่
• คาดการณไม
่ ้
์ ได
• มีขอผู
(รายจ่ายผูกพันมีมาก
้ กพันรายจายมาก
่
ปัญหาจากการจัดสรรรายรับให้ แก่ อปท.
ไม่ มคี วามแน่ นอนของสู ตรการจัดสรร
@ อปท. ไม่ สามารถวางแผนทางการเงิน การคลังได้
ทาให้ มกี ารเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณบ่ อย
@ อปท.ไม่ มแ
ี รงจูงใจพึง่ ตนเองทางการเงินการคลัง
@ มีความพยายามเพิม
่ การอุดหนุนเฉพาะกิจเพือ่
ลดบทบาท อปท.
@ การจัดสรรเป็ นการการั นตีรายได้ แก่ อปท.
@
ภารกิจการกระจายอานาจฯ ที่ตอ้ งดาเนินการ
การเสริ มสร้างความเข้มแข็งทางการเงิน การคลังของ อปท.
 การพัฒนาองค์กรของ อปท. ให้มีประสิ ทธิ ภาพ และมาตรฐานการบริ หารมากขึ้น
(Command of Resources) เพื่อรองรับงบประมาณที่เพิม่ ขึ้น
 ระเบียบการบริ หารที่เปิ ดโอกาสการคิดเอง ทาเองมากขึ้น
 การคานึ งผลงานความสาเร็ จที่ตอบสนองความต้องการประชาชนมากขึ้น
 พัฒนาการมีส่วนร่ วมของประชาสังคมมากขึ้นในเชิงคุณภาพ
 พัฒนาการร่ วมมือในการทางานระหว่าง อปท. กับรัฐ และระหว่าง อปท.ด้วย
กันเองมากขึ้น
 ปรับปรุ งการกระจายอานาจที่ให้ความเป็ นอิสระและเบ็ดเสร็ จในการทางานของ
อปท.
 พัฒนามาตรฐานงานเพื่อเป็ นเครื่ องมือพิสูจน์คุณภาพของการทางานของ อปท.

ผลที่เกิดจากการกระจายอานาจฯ ที่ผา่ นมา
 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างรายได้ของ อปท.
 การปรับเปลี่ยนบทบาทของ อปท. จากเดิมเป็ นเพียงผูป
้ ฏิบตั ิตาม
คาสัง่ หรื อชี้นาจากรัฐบาลไปสู่การคิดเอง ทาเองมากขึ้น
 รับผิดชอบต่อประชาชนที่ทาหน้าที่ให้บริ การสาธารณะมากขึ้น
 เกิดการมีส่วนร่ วมจากภาคประชาชนเพิ่มมากขึ้น
การกาหนดรายจ่าย (ภารกิจหน้ าที่)

ทาเพื่อเป็ นการระบุ “ใครได้ทาหน้ าที่อะไร” ที่เป็ นคาถามพืน้ ฐานของ
การกระจายอานาจฯ






สินค้าสาธารณะระดับชาติ (การป้ องกันประเทศ ยุติธรรม ฯลฯ)
สินค้าสาธารณะระดับท้องถิ่น (การดูแลความสะอาด ฯลฯ)
สินค้าที่ต้องร่วมกันให้บริการ (การประหยัดจากขนาด Externalities
ฯลฯ)
การกาหนดรายจ่ายต้องมาก่อนรายรับ
การกาหนดรายจ่าย/ภารกิจนาไปสู่การกาหนดรายรับ โดยเฉพาะ
ประเภทภาษี ที่ต้องจัดเก็บ
เพื่อให้เกิด Cost effective ในการทาหน้ าที่ของท้องถิ่น
เหตุผลของการมีเงินโอน/อุดหนุน





ปั ญหาความไม่เท่าเทียมแนวตั้ง (Vertical Imbalances)
ความไม่เท่าเทียมแนวนอน (Horizontal Imbalance)
แก้ไขปั ญหาผลภายนอกระหว่างท้องถิ่น (Externalities)
ส่ งเสริ มกิจกรรมของรัฐบาลที่ดาเนินการในท้องถิ่น
เป็ นค่าใช้จ่ายของโครงการรัฐบาลที่ทาในท้องถิ่น
หลักเกณฑการให
่
้เงินอุดหนุ นแบบมีเงือ
์
• ลดช่องวางทางการคลั
ง (Fiscal Gap)
่
• สรางความเท
าเที
้
่ ยมทางการคลัง (Fiscal Inequity)
• เสริมสรางความมี
ประสิ ทธิภาพทางการคลัง (Fisca
้
• แกไขปั
ญหาส่วนเกินระหวางท
องถิ
น
่ (Inter Locality
้
่
้
• สรางความสมานฉั
นททางการคลั
ง (Fiscal Harmoniza
้
์
การพัฒนาองค์กรต่างๆทีเ่ กีย่ วข้อง
ต้องมีการพัฒนาองค์กรที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้องกับการ
กระจายอานาจฯให้เข้าใจเป้ าหมายและความคิดร่วมกัน
ในการปฎิบตั ิ จริง โดยมีหน้ าที่ที่เกี่ยวข้อง
• การกาหนดนโยบายและทิศทางการพัฒนา
• การจัดสรรภารกิจและหน้ าที่
• การกากับดูแลและติดตามตรวจสอบ
• การพัฒนาระบบคลังข้อมูล
บทบัญญัติรัฐธรรมนูญปี 2550 ที่สาคัญกับการกระจายอานาจฯ
 หมวด 14 มาตรการ 281-290
ยังคงส่ งเสริ มการกระจายอานาจฯ (ม.281-283)
 เพิ่มความสาคัญการกากับดูแลเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มการกระจายอานาจฯ
และคุม้ ครองสิ ทธิ ของประชาชน และการกาหนดมาตรฐานกลางในการ
กากับการทาหน้าที่ของท้องถิ่น
 การเพิ่มสิ ทธิ ของประชาชนในการตรวจสอบผูบ
้ ริ หาร
 การให้สิทธิ ประชาชนในการเข้าชื่อเพื่อให้มีการทาข้อบัญญัติทอ
้ งถิ่น
 คานึ งความสอดคล้องการพัฒนาของระดับจังหวัดและประเทศ
 การายงานผลงานของฝ่ ายบริ หารในการจัดทางบประมาณ การใช้จ่ายกับ
ประชาชน
 การเน้นบทบาทหน้าที่ดา้ นสังคมและสิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่น
