Transcript Slide 1

การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง
สมัยโบราณ ปกครองแบบเทวราชา
กรีก มีการปกครองแบบสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยทางตรง
โรมัน ปกครองแบบสาธารณรัฐ และจักรวรรดิ มี
กฎหมายสิบสองโต๊ะ
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
เราอาจแบ่งได้เป็ น 3 ยุค คือ
1. ยุคคลาสสิค
2. ยุคกลาง
3. ยุคสมัยใหม่
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยยุคคลาสสิค
เกิดราว 2,500 ปี กอ่ น มีอยู่ในกรีก และโรม เป็ น ประชาธิปไตยขนาดเล็ก
ของนคร(เอเธนส์) ประชาชนผูม้ ีสทิ ธิทางการเมืองเรียกว่า “พลเมือง”
ประชาธิปไตย จึงหมายถึง การที่พลเมืองปกครองตนเอง เพื่อประโยชน์และ
ความผาสุกของพวกเขาทัง้ หลายร่วมกัน กรีกโบราณ ไม่มีผูแ้ ทนราษฎร ไม่
มีขา้ ราชการ หากมีพลเมืองผลัดเปลี่ยนไปทาหน้าที่แทนกัน เป็ นการอาสา
หมุนเวียนโดยการจับฉลาก
ประชาธิปไตยสมัยคลาสสิ ค
กรีกโบราณไม่ได้สนใจว่า ปชต.ต้องได้รฐั บาลที่เก่ง สร้างผลงานอะไรไว้
มากมาย พวกเขาคิดว่า หัวใจสาคัญของปชต. คือ การที่ให้ประชาชนทา
อะไรด้วยตนเองให้มากที่สดุ ต่างหาก
นักปราชญ์ทางการเมืองคนสาคัญคือ อริสโตเติล (ศิษย์ของเพลโต) เห็นว่า
ปชต.สมัยกรีกมีจุดอ่อนตรงที่เป็ นการปกครอง
โดยเสียงข้างมากที่เอาแต่อารมณ์ตนเอง ไม่คานึ งถึง
ความยุติธรรม เขามีความเห็นว่าการปกครองที่ดีตอ้ ง
ปกครองโดยกฎหมายอย่างเป็ นธรรม
(Rule of Law)โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ
ประชาธิปไตยสมัยกลาง
ต้นยุคกลางศาสนจักรมีอานาจมาก ต่อมาเริ่มลดบทบาทลง(ในช่วง
ปลายยุคกลาง) ขณะที่ฝ่ายกษัตริยก์ า้ วเข้ามาแทนที่ในช่วงก้าวเข้าสู่
ยุคใหม่
อย่างไรก็ตาม ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ มองว่ารัฐสมัยนี้ ไม่ได้ย้ อื แย่ง
เอาอานาจสาธารณะจากประชาสังคมมาไว้ในมือของตนเองแทบทัง้ หมด
รัฐไม่ได้ผูกขาดอานาจในการจัดการปัญหาสาธารณะแต่ผูเ้ ดียว(รัฐไทยโบราณก็เป็ นเช่นกัน)
ในยุโรปมีกลุม่ มีสถาบัน มีโบสถ์ วัด มหาวิทยาลัย สมาคมอาชีพ การปกครองท้องถิ่นทัง้ ในเมืองชนบท ซึ่งองค์คณะเหล่านี้ ไม่ใช่สว่ นหนึ่ งของรัฐ เป็ นกลไก/สถาบันทางสังคมที่มีอยู่แล้ว และมี
บทบาทสาคัญด้วย เช่น ด้านการศึกษา รัฐไม่ตอ้ งมายุ่ง ไม่ว่าจะเป็ นอ๊อกฟอร์ด เคมบริดจ์ หรือ
ปารีสก็ไม่ใช่ของรัฐ
ประชาธิปไตยสมัยยุโรปยุคกลาง : บทบาทของศาสนจักร
VS
อาณาจักร
ประมาณศตวรรษที่ 15
การค้าการขายขยายตัวขึ้น ระบบฟิ วดัล(ระบบศักดินา)เริ่มเสือ่ มลง คริสตจักรลด
บทบาททางการเมืองลง และทางฝ่ ายอาณาจักรมีอานาจและความสาคัญเหนื อศา
สนจักรมากขึ้น เราเรียกยุคนี้ ว่า ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ(ยุคเรอเนซอง)
ประชาธิปไตยสมัยใหม่
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์นามาซึ่ง
การขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรม เกิดเมืองท่า เมืองอุตสาหกรรม
และมีการล่าอาณานิ คมในดินแดนต่าง ๆ
พัฒนาการของระบบเศรษฐกิจทุนนิ ยม(เสรีนิยม) ทาให้เกิดชนชัน้ ใหม่ข้ ึนมาที่
ไม่ใช่ กษัตริย ์ เจ้าที่ดิน ขุนนาง พระ ไพร่ ทาส เช่นอดีต ชนชัน้ ใหม่กค็ อื พ่อค้า
ช่างฝี มือ ถือเป็ นกลุม่ คน “ชนชัน้ กลาง” ซึ่งก็คอื นายทุนในเวลาต่อมา และคน
เหล่านี้ ต้องการมีสว่ นร่วมทางการเมือง การตัดสินใจ ต้องการควบคุมการเก็บภาษี
และการใช้จา่ ยภาษีของผูป้ กครอง และเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค
พัฒนาการประชาธิปไตยในอังกฤษ : กษัตริย์ VS ขุนนาง
ศตวรรษที่ 13 เหล่าขุนนางผูใ้ หญ่ในอังกฤษ
เสนอข้อเรียกร้องที่เรียกว่า “แมกนา คาร์ตา”
(The Great Charter, Magna Carta) หรือ
“กฎบัตรใหญ่(มหากฎบัตร)” ต่อพระเจ้า
จอห์นที่ 5 เพื่อปฏิรูปการปกครองอันมี
ลักษณะลดทอนอานาจกษัตริยล์ งและเพิ่ม
อานาจขุนนาง ประกันสิทธิเสรีภาพและความ
Magna Carta , 1215 C.E.
เสมอภาคบางประการของประชาชน ให้ยึด
หลักไม่ให้กษัตริยป์ กครองตามอาเภอใจ
ถือเป็ นจุดเริ่มต้นในการลดอานาจเด็ดขาดของกษัตริยล์ งมานี้ เองนาไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ
ต่าง ๆ ในการพัฒนาการเมืองการปกครองอังกฤษไปสูค่ วามเป็ นประชาธิปไตยที่เจริญก้าวหน้า
เรื่อยมาจนปัจจุบนั
พัฒนาการประชาธิปไตยในอังกฤษ : กษัตริย์ VS ขุนนาง
ปี ค.ศ.1215 ขุนนางบังคับให้กษัตริย ์ คือพระเจ้า
จอห์นที่ 5 ทรงยอมรับกฏบัตรแมกนา คาร์ตา ถือ
เป็ นการสละสิทธิ์ของพระมหากษัตริยท์ ่อี ยู่
เหนื อกฎหมาย นาไปสูก่ ารตัง้ รัฐสภา คือสภาขุน
นาง และสภาสามัญ
กฎบัตร Magna Carta ถือเป็ นรัฐธรรมนู ญฉบับ
แรกของโลก เพราะระบุถงึ สิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน(กาจัดอานาจกษัตริย)์
อังกฤษ เป็ นแม่แบบการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริยอ์ ยูภ่ ายใต้
กฏหมายรัฐธรรมนู ญแบบที่ไม่เป็ นลายลักษณ์
อักษร
Magna Carta , 1215 C.E.
พัฒนาการประชาธิปไตยในอังกฤษ : กษัตริย์ VS ขุนนาง
พระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 1 กับการลุกฮือของมวลชนในอังกฤษ
The English Civil War (1642–1651)
ศตวรรษที่ 14-16 อังกฤษมี 2 สภา คือ”สภาขุนนาง”(House of Lord)มาจากขุนนาง
ขัน้ สูงที่กษัตริยแ์ ต่งตัง้ กับ”สภาสามัญชน”(House of Common) มาจากตัวแทน
ราษฎรทัง้ ประเทศ อันเป็ นผลมาจากการเรียกร้องตามหลักที่ว่า”จะไม่มีการเสียภาษี
ถ้าไม่ยอมให้มีตวั แทนของประชาชน”(No taxation without representation)
ศตวรรษที่ 17 พระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 1 ไม่ทาตาม “ข้อตกลงเกี่ยวกับสิทธิ” มีการละเมิด
สิทธิเสรีภาพสามัญชน จัดเก็บภาษีโดยไม่ผ่านสภายินยอม มวลชนจึงลุกฮือขึ้นมา
สาเร็จโทษ เมื่อค.ศ.1649 โดยการนาของขุนนาง ชื่อโอลิเวอร์ ครอมเวลล์(Oliver
Cromwell)
พัฒนาการประชาธิปไตยในอังกฤษ : กษัตริย์ VS ขุนนาง
สงครามกลางเมืองอังกฤษ (1642–1651) The English Civil War (1642–1651)
สงครามกลางเมืองอังกฤษเป็ นสงครามต่อเนื่ องกันหลาย
ครัง้ ระหว่างฝ่ ายรัฐสภาและฝ่ ายกษัตริยน์ ิ ยม
เป็ นการต่อสูร้ ะหว่างผูส้ นับสนุ นพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 2 และ
ผูส้ นับสนุ นรัฐสภาอีกฝ่ ายหนึ่ ง สงครามกลางเมืองจบลง
ด้วยชัยชนะของฝ่ ายรัฐสภาที่ยทุ ธการวูสเตอร์(Battle of
Worcester)เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651
ผลของสงครามกลางเมืองครัง้ ที่สองนาไปสูก่ ารปลงพระ
ชนม์ของพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 1 และ การลี้ภยั ของพระราช
โอรสพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 2 และการเปลีย่ นระบบการ
ปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริยไ์ ปเป็ น
สาธารณรัฐ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653
พัฒนาการประชาธิปไตยในอังกฤษ : กษัตริย์ VS ขุนนาง
อังกฤษ : สมัยสาธารณรัฐ
โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ (Oliver Cromwell) สมาชิกรัฐสภา ซึ่งได้
กลายเป็ นแม่ทพั เมื่อสงครามกลางเมือง ระหว่างกองกาลังของรัฐสภา
กับพระเจ้าชาร์ลที่ 1 ระเบิดขึ้น เขาได้จดั ตัง้ และฝึ กทหารเป็ นกอง
แรก และในเวลาต่อมาก็เป็ นกองทัพไปปราบปรามทหารของกษัตริย ์
และฝ่ ายกษัตริยน์ ิ ยม(Cavalier)ได้ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ
เมื่อกษัตริยถ์ ูกจับและถูกสาเร็จโทษ ในปี ค.ศ. 1649 และในปี
ค.ศ.1653 ประเทศอังกฤษได้ประกาศเป็ น สาธารณรัฐ คอมมอน
เวลล์ ในปี ค.ศ.1653 และครอมเวลล์ได้เป็ น “ผูส้ าเร็จราชการ
แผ่นดินหรือ“เจ้าผูพ้ ทิ กั ษ์” (Lord Protector)” แห่งอังกฤษ รอม
เวลล์กม็ ีอทิ ธิพลต่อเครือจักรภพแห่งอังกฤษ อยู่เพียงชัว่ ระยะเวลา
สัน้ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1653 จนกระทัง่ ถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1658
โอลิเวอร์ ครอมเวลล์
Oliver Cromwell
1599 - 1658 C.E.
พัฒนาการประชาธิปไตยในอังกฤษ : กษัตริย์ VS ขุนนาง
อังกฤษ : สมัยสาธารณรัฐ
ครอมเวลล์ เป็ นผูเ้ คร่งศาสนาเป็ นอย่างมาก เขาเป็ นผูป้ กครองที่
เข้มงวดและฉลาด และยังได้เพิม่ อานาจของ อังกฤษในดินแดนโพ้น
ทะเล และรักษาสันติภาพภายในประเทศไว้ได้ สมัยของครอมเวลล์
เป็ นสมัยที่เคร่งครัดในนิ กายโปรแตสแตนท์พวกพิวริแทน(Puritan)
และต้องการให้ประเทศมีการปกครองแบบสาธารณรัฐมากกว่าระบอบ
ครอมเวลล์กถ็ งึ แก่อสัญกรรมเมื่อปี 1658 ส่งต่ออานาจและ
ตาแหน่ งเจ้าผูพ้ ทิ กั ษ์ให้บตุ รชายของครอมเวลล์ สืบตาแหน่ งต่อจากเขา
ที่ช่ือ ริชาร์ด ครอมเวลล์ แต่เพราะริชาร์ดเป็ นคนไร้ความสามารถ แต่
ก็ปกครองได้เพียงปี เดียว เพียงเวลาไม่นานระบบกษัตริยก์ ไ็ ด้รบั การ
ฟื้ นฟู รัฐสภาได้ฟ้ ื นฟูระบบกษัตริยข์ ้ นึ มาอีกครัง้ หนึ่ งโดยเชิญกษัตริย ์
ในราชวงศ์สจ๊วตมาปกครอง ภายใต้การปกครองของพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 2
อังกฤษก็ได้กลับเป็ นราชาธิปไตย(มีกษัตริย)์ อีกครัง้ หนึ่ ง
โอลิเวอร์ ครอมเวลล์
Oliver Cromwell
1599 - 1658 C.E.
การปฏิวตั อิ นั ยิง่ ใหญ่ (การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ ) ค.ศ.1688
การปฏิวตั ิอนั รุ่งโรจน์ (The Glorious Revolution)
ในช่วงที่ จอห์น ล็อค เผยแพร่แนวคิด การเมืองใน
อังกฤษเกิดความขัดแย้งระหว่างพระเจ้าเจมส์ท่ี 2 กับ
รัฐสภา เพราะกษัตริยต์ อ้ งการรวบอานาจและไม่ยอมรับ
อานาจของรัฐสภา
ความขัดแย้งถึงจุดแตกหักเมื่อรัฐสภาร่วมกับ
ประชาชนทาการยึดอานาจจากกษัตริยเ์ จมส์ท่ี 2 ได้สาเร็จ
โดยไม่เสียเลือดเนื้ อ เรียกว่า การปฏิวตั ทิ ่ยี ่งิ ใหญ่ หรือ
การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ (The Glorious Revolution)
การปฏิวตั อิ นั ยิง่ ใหญ่ (การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ ) ค.ศ.1688
การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์
The Glorious Revolution
ในเหตุการณ์การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ (The
Glorious Revolution) ในครัง้ นั้นทาให้
กษัตริยเ์ จมส์ท่ี 2 ต้องสละราชสมบัตแิ ละมี
การสถาปนาพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 1 แห่ง
ฮอลแลนด์(ออเรนจ์-นัสเซา (William III
of Orange-Nassau) (ต่อมาเปลี่ยนชื่อ
เป็ นพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 3) ร่วมกับพระนาง
แมรีท่ี 2
การปฏิวตั อิ นั ยิง่ ใหญ่ (การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ ) ค.ศ.1688
ในปี ค.ศ. 1689 มีการออกพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยสิทธิ Bill of Rights ซึ่งเน้นสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน และอานาจของรัฐสภาเหนื อกษัตริยจ์ ากนั้นเป็ นต้นมา “รัฐสภา เป็ นสถาบันการเมืองที่มี
อานาจสูงสุด
พระเจ้าเจมส์ท่ี 2 แห่งอังกฤษ
James II of England
ราชวงศ์สจ๊วต
การปฏิวตั อิ นั ยิง่ ใหญ่ (การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ ) ค.ศ.1688
“ คาประกาศว่าด้วยสิทธิ ” (Bill of Rights ,1689)
หลังจาเหตุการณ์การปฏิวตั อิ นั รุง่ โรจน์ แล้วนั้นส่งผลให้
กษัตริยว์ ลิ เลี่ยมที่ 3 ต้องลงนามรับรอง “ คาประกาศว่าด้วยสิทธิ ”
(พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิ ค.ศ. 1689 (Bill of Rights ,1689)
ผูป้ กครองต้องเคารพกฎหมายและสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน การออก
กฎหมาย การยกเลิกกฎหมาย และการกาหนดการเก็บภาษี ตอ้ งได้รบั ความ
เห็นชอบจากรัฐสภาจึงจะทาได้
การปฏิวตั อิ นั ยิง่ ใหญ่ (การปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ ) ค.ศ.1688
จะเห็นว่า ประชาธิปไตย ของอังกฤษพัฒนามาโดยลาดับ ทุกสถาบันต่างมีความสาคัญ
สังคมการเมืองอังกฤษเรียนรูท้ ่จี ะอยู่ร่วมกันตามหลักการประชาธิปไตย
นักปรัชญเมธีทางการเมือง
ประชาธิปไตยสมัยยุโรปยุคกลาง : บทบาทของศาสนจักร
ศตวรรษที่ 5 -15 ศาสนาคริสต์มีบทบาทอย่าง
มากที่เรียกว่า “ยุคมืด”
มีนกั คิดที่สาคัญซึ่งมีอทิ ธิพลต่อแนวคิดทาง
การเมือง 2 คน คือ
นักบุญออกัสติน(Augustine of Hippo) และ
นักบุญอะไควนัส(Thomas Aquinas) ทัง้ สอง
สนับสนุ นให้รฐั และเหล่าผูน้ าทางการปกครองต้อง
อยู่ภายใต้อานาจของคริสต์ศาสนจักร
นักบุญออกัสติน
และสอนให้ประชาชนเชื่อฟังผูป้ กครอง
(St. Augustine of Hippo)
ซึ่งเท่ากับเชื่อฟังต่อพระเจ้าด้วย
354-430 C.E.
VS
อาณาจักร
นักบุญอะไควนัส
(St. Thomas Aquinas)
1225-1274 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
มาเคียเวลลี (Niccolo Machiavelli)
มีแนวคิดที่สนับสนุ นการใช้อานาจของผูป้ กครอง โดยแยก
รัฐออกจากศาสนาและพระเจ้า โดยผูป้ กครองต้องรูจ้ กั ใช้
อานาจ ใช้เล่หเ์ หลี่ยมเพือ่ รักษาอานาจ มีคณ
ุ สมบัตเิ ยี่ยง
ราชสีหก์ บั สุนขั จิ้งจอก ผูป้ กครองไม่จาเป็ นต้องเป็ นคนดี มี
ศีลธรรม แนวคิดของเขาคานึ งถึงเป้ าหมาย(end) มากกว่า
วิธีการ(mean)
แนวคิดเขามีสว่ นสาคัญในการผลักดันให้เกิดรัฐชาติ
(Nation State)ในเวลาต่อมา
มาเคียเวลลี
Niccolo Machiavelli
1469-1527 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
มาเคียเวลลี (Niccolo Machiavelli)
แนวคิดทางการเมือง : รัฐเป็ นสิง่ ที่มีความสาคัญในตัวเอง
การเมืองอนุ ญาตให้ผูป้ กครองทาได้ทกุ อย่างเพื่อผลประโยชน์
ของรัฐ นัน่ หมายความว่า รัฐสามารถใช้ความรุนแรงในการ
ปกครอง เช่นกาจัดฝ่ ายตรงข้ามให้หมดไป เพื่อเสถียรภาพของ
รัฐ และบางครัง้ ต้องใช้การโกหกหลอกลวง หรือผูป้ กครองให้
สัญญาแต่ไม่รกั ษาสัญญา นัน่ หมายความว่า จริยธรรมที่คน
ทัว่ ไปยอมรับกัน เช่นการไม่พูดปดและการรักษาคาพูด เป็ นสิง่ ที่
ไม่สามารถนามาใช้กบั การบริหารรัฐ เพราะจุดมุ่งหมายของรัฐมี
อย่างเดียวคือความอยู่รอดและสันติสขุ จากทัศนะดังกล่าว ทาให้
ท่านถูกมองว่า เป็ นผูเ้ สนอทฤษฎีการเมืองแบบใช้อานาจ และ
เป็ นผูเ้ พิกเฉยจริยธรรมทัง้ หมดนัน่ เอง
มาเคียเวลลี
Niccolo Machiavelli
1469-1527 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
มาเคียเวลลี (Niccolo Machiavelli)
เป็ นนักปรัชญา นักเขียน และนักรัฐศาสตร์ชาวอิตาลี นับเป็ น
หนึ่ งในบิดาแห่งรัฐศาสตร์ยุคใหม่ มีชีวิตอยู่ในยุคเรอเนซองส์
ซึ่งเขาเป็ นนักวิชาการ นักปรัชญาการเมือง นักดนตรี กวี
นักเขียนบทละคร
มาเกียเวลลีถอื ได้ว่าเป็ นบุคคลตัวอย่างของยุคเรอเนซองส์เขา
มีช่ือเสียงจากงานเขียนเรื่องสัน้ การเมืองเรื่อง เจ้าผูป้ กครอง
(The Prince) ซึ่งเล่าถึงทฤษฎีทางการเมืองแบบที่เป็ นจริง
แต่งานเขียนของมาเกียเวลลีไม่ได้รบั การตีพมิ พ์จนกระทัง่
หลังจากเขาเสียชีวิตแล้ว
เจ้าผูป้ กครอง
The Prince
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther)
ผูส้ นับสนุ นกษัตริยม์ ีอานาจแทนสันตะปาปา
มาร์ตนิ ลูเธอร์ เห็นว่าอานาจทางการเมืองควรแยก
ออกจากศาสนา ประชาชนต้องเชื่อฟังกษัตริยโ์ ดยไม่
ต้องผ่านสันตะปาปา กษัตริยไ์ ม่ตอ้ งอยู่ใต้คาสัง่
สันตะปาปาเช่นอดีตอีกต่อไป และในเวลาเดียวกัน
ประชาชนสามารถต่อต้านกษัตริยผ์ ูไ้ ม่เป็ นธรรม
เพราะประชาชนมีสทิ ธิอนั ชอบธรรมในการต่อต้านผู ้
ละเมิดกฎธรรมชาติ
บาทหลวงมาร์ตนิ ลูเธอร์
Martin Luther
1483-1546 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
ฌ็อง โบแดง (Jean Bodin)
ผูส้ นับสนุ นกษัตริยม์ ีอานาจแทนสันตะปาปา
ฌ็อง โบแดง เป็ นนักคิดคนแรกที่พูดถึงอานาจ
อธิปไตยอย่างจริงจัง อานาจอธิปไตยมาจากประชาชน
โดยมีตวั แทนคือ กษัตริยห์ รือรัฐบาลเป็ นผูใ้ ช้อานาจนี้
แต่ตอ้ งไม่ใช้อานาจตามอาเภอใจ กษัตริยต์ อ้ งอยู่
ภายใต้กฎหมายธรรมชาติ คือ ถูกปกครองโดย
ศีลธรรมและเหตุผล
ฌ็อง โบแดง
Jean Bodin
1530 - 1596 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
ฌ็อง โบแดง (Jean Bodin)
ผูส้ นับสนุ นกษัตริยม์ ีอานาจแทนสันตะปาปา
ฌ็อง โบแดง (Jean Bodin) เป็ นนักปรัชญาการเมืองชาวฝรัง่ เศส
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ท่านเป็ นคนแรกที่รเิ ริ่มใช้คาว่าอานาจ
อธิปไตย ในความหมายที่เข้าใจกันอยู่ในปัจจุบนั กล่าวคือใน
ความหมายที่เป็ นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่ง
ขณะนั้นเป็ นช่วงเวลาที่รฐั ทัง้ หลายในโลกปกครองโดยระบอบที่มี
กษัตริยม์ ีอานาจเด็ดขาดหรือสมบรูณาญาสิทธิราชย์ ภายใต้คติ
ความเชื่อทางการปกครองอันไม่แตกต่างกันมากนักว่ากษัตริยเ์ ป็ น
ผูไ้ ด้รบั อาณัตอิ านาจจากสวรรค์ หรือจุติจากสวรรค์ลงมาปกครอง
โลก (Divine Rights of King)
ฌ็อง โบแดง
Jean Bodin
1530 - 1596 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
ฌ็อง โบแดง (Jean Bodin)
โบแดง ได้เสนอปรัชญาเกี่ยวกับทฤษฎีอานาจอธิปไตยไว้ว่า
อานาจอธิปไตยเป็ นเครื่องหมายที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างรัฐกับ
สังคมอืน่ ๆ ที่ครอบครัวหลายครอบครัวอยู่ร่วมกันโบแดงได้เริ่มต้น
อธิบายเรื่องนี้ ไว้ในบทที่ 8 และบทที่ 10 ของหนังสือเรือ่ ง "Six Books"
พรรณนาว่าครอบครัวเป็ นพลเมืองของรัฐ ซึ่งต้องยอมอยู่ภายใต้อานาจ
ขององค์อธิปตั ย์ หรือผูป้ กครองที่มีอานาจสูงสุด ซึ่งโดยหลักการนี้ รัฐจึง
ประกอบด้วยผูป้ กครองและผูใ้ ต้อานาจปกครอง และการยอมรับใน
อานาจปกครองของพลเมืองผูอ้ ยู่ใต้การปกครองนี่ เอง จะทาให้มนุ ษย์
เป็ นพลเมืองได้เป็ นประการสาคัญ นอกจากรัฐจะมีอธิปตั ย์หรือมีอานาจ
อธิปไตยแล้ว รัฐจะมีพลเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองของผูป้ กครองอัน
เดียวกัน แม้พลเมืองจะมีขนธรรมเนี ยมภาษากฎหมายที่ยอมรับบังคับใช้
หรือศาสนาที่ต่างจากผูป้ กครองก็ตาม
ฌ็อง โบแดง
Jean Bodin
1530 - 1596 C.E.
ประชาธิปไตยสมัย Renaissance
ฌ็อง โบแดง (Jean Bodin)
โบแดง กล่าวเกี่ยวกับรัฐไว้ว่า รูปแบบของรัฐบาลจะเป็ นรูปใดนั้น จะขึ้นอยู่กบั ว่าอานาจอธิปไตยเป็ น
ของใคร หากเป็ นของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อานาจของรัฐก็จะเป็ นของกษัตริย ์ ซึ่งจะเป็ นองค์อธิปตั ย์
หนึ่ งเดียว หากเป็ นคณะบุคคลปกครองก็จะเป็ นคณาอธิปไตย ขณะที่ถา้ เป็ นสภาผูแ้ ทนราษฎรมีอานาจปก
กกครอง ก็จะเป็ นประชาธิปไตย ในแง่รฐั บาล โบแดงมีความเห็นว่ารัฐเป็ นผูท้ รงไว้ซ่ึงอานาจอธิปไตย
ขณะที่รฐั บาลเป็ นเครื่องมือที่รฐั จะใช้อานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไตยในทัศนะของโบแดง นั้นหมายความถึง อานาจที่มีถาวรไม่จากัด และไม่มีเงือ่ นไข
ผูกมัดที่จะออกกฎหมาย ตีความและรักษากฎหมาย อานาจนี้ เป็ นสิง่ จาเป็ นต่อรัฐที่มีระเบียบที่ดี อานาจนี้
เองทาให้รฐั แตกต่างไปจากการรวมกลุม่ ของบุคคลในสมัยโบราณ อย่างไรก็ตามโบแดง เห็นว่า อานาจ
อธิปไตยนี้ อาจถูกจากัดโดยกฎหมายธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ อันเป็ นบรรดากฎหมายต่าง ๆ ที่กาหนด
ความถูกต้องหรือความผิดในลักษณะที่ม่งุ ให้คน รักษาสัญญาและเคารพทรัพย์สนิ ของคนอืน่ ส่วนอีก
ประการหนึ่ งที่เป็ นสิง่ จากัดอานาจอธิปไตยคือ กฎหมายรัฐธรรมนู ญ ซึ่งหมายถึงกฎหมายหลักของประเทศ
(โดยเฉพาะหมายถึงรัฐธรรมนู ญของฝรัง่ เศส)
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
โธมัส ฮอบส์
Thomas Hobbes
1588 – 1679 C.E.
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ผูค้ นส่วนใหญ่ในโลกตะวันตกเชื่อ
ว่า อานาจของผูป้ กครองเป็ นโองการจากสวรรค์ชน้ั ฟ้ า โธมัส
ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ
กล้ายืนยันในทางตรงข้ามว่า อานาจนั้นมาจากการตกลงมอบ
ให้โดยประชาชนผูถ้ ูกปกครอง แต่ ฮอบส์กเ็ ป็ นคนแรกที่
สาธิตอย่างเป็ นระบบว่า รัฐเป็ นเพียงองค์กรเทียม ที่มนุ ษย์
รวมตัวกันสถาปนาขึ้น เพือ่ ให้ทาหน้าที่ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท
ในหมู่ตน เป้ าหมายของการปกครอง จึงเป็ นอืน่ ไปมิได้
นอกจากเพือ่ จรรโลงสวัสดิภาพของปวงชน นี่ คอื จุดเริ่มต้น
ของกระแสความคิดทางการเมืองสมัยใหม่ ที่สบื ทอดไปสูน่ กั
คิดหัวก้าวหน้ารุ่นหลัง
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ฮอบส์เป็ นผูท้ ่มี ีแนวความคิดค่อนข้างทางลบหรือมองโลกในแง่รา้ ย
ฮอบส์มีชีวิตอยู่ในระยะที่สงั คมอังกฤษกาลังมีปญั หาเกี่ยวกับกฎระเบียบ
ในสังคมมีคาถามที่ถกเถียงเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของสถาบัน
พระมหากษัตริยอ์ งั กฤษ และเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิทธิหน้าที่ของ
บุคคลในสังคม
โธมัส ฮอบส์
Thomas Hobbes
1588 – 1679 C.E.
ฮอบส์ทาหน้าที่เป็ นพระอาจารย์ของราชวงศ์องั กฤษมีโอกาสแลกเปลี่ยน
ความคิดกับบบรรดาราชวงศ์องั กฤษด้วย เมื่อมีการสาเร็จโทษพระเจ้า
ชาร์ลส์ท่ี 1 ฮอบส์จงึ ต้องออกจากอังกฤษไปอาศัยอยู่ท่ปี ารีสตัง้ แต่ปี ค.ศ.
1640ถึงปี ค.ศ. 1651 จึงได้รบั อนุ ญาตให้กลับมาอยู่องั กฤษ
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ธรรมชาติของมนุ ษย์และโลกก่อนมีสญั ญาประชาคม
ในแนวคิดของฮอปมนุ ษย์น้นั เลวร้าย เห็นแก่ตวั และอ่อนแอ มนุ ษย์ทกุ คนทีความเท่าเทียมกัน มีสทิ ธิ์ในการทาทุก
อย่างแม้แต่ฆ่าผูอ้ น่ื ใครจะฆ่าใครก็ได้ ดังนั้นโลกก่อนมีสญั ญาประชมคมจึงมีแต่ความหวาดระแวง เป็ นสภาพที่ทกุ
คนอยู่ในสงครามระหว่างกันและกัน ไม่มีความปลอดภัย
ทาไมต้องทาสัญญาประชาคม
เพราะมนุ ษย์น้นั กลัวตาย มนุ ษย์จงึ ต้องมาตกลงกันว่าจะอยู่ดว้ ยกัน และสร้างความไม่เท่าเทียมขึ้น มนุ ษย์ยก
อานาจที่มีให้แก่คนคนหนึ่ ง ซึ่งเป็ นองค์รฐั าธิปตั ย์ (ผูม้ ีอานาจสูงสุดของรัฐ) และยอมอยู่ใต้การปกครองของเขา
ใครคือผูม้ ีอานาจอธิปไตย
องค์รฐั าธิปตั ย์แต่เพียงผูเ้ ดียว จะมีใครมีอานาจเทียบเท่าไม่ได้
สภาพสังคมหลังทาสัญญาประชาคม
มนุ ษย์พน้ จากสภาพสงครามระหว่างกันและกันเพราะอยู่ใต้กฎหมายขององค์รฐั าธิปตั ย์
การเรียกอานาจคืนจากผูม้ ีอานาจอธิปไตย
มนุ ษย์ไม่มีสทิ ธิเรียกอานาจคืน จะทาอะไรองค์รฐั าธิปตั ย์ไม่ได้เพราะไม่อย่างนั้นจะกลับไปเป็ นสภาพสงคราม
มนุ ษย์ยงั เหลือสิทธิ์เดียวคือสิทธิ์ในชีวติ เท่านั้น องค์รฐั าธิปตั ย์จะเอาชีวติ ไปไม่ได้เพราะผิดข้อตกลง
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
ผลงานที่สาคัญคือหนังสือชื่อ Leviathan “ลีไวอะธัน
(สัตว์รา้ ยในตานาน)” ที่เขียนขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1651
งานเขียนของฮ็อบส์ ได้แสดงออก เพื่อปกป้ อง
อานาจอันสมบูรณ์ของกษัตริย ์ ชื่อของหนังสือเล่มนี้ อา้ ง
ถึง”ลีไวอะธัน” สัตว์ประหลาดรูปร่างคล้ายปลาวาฬใน
ตานานที่สามารถกินเรือได้ทง้ั ลา โดยฮ็อบส์เปรียบตัว”ลี
ไวอะธัน”ว่าเป็ นเสมือนรัฐบาลที่ใช้อานาจรัฐในการ
บังคับบัญชา
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ฮ็อบส์เริ่มต้นงานเขียน “ลีไวอะธัน” โดยอธิบายถึงสภาพของรัฐในสังคมธรรมชาติท่ซี ่งึ
ปัจเจกชนแต่ละคนเท่าเทียมกันโดยธรรมชาติ ทุกคนมีอสิ ระที่จะทาในสิง่ ที่ตนต้องการเพื่อเอาชีวิต
รอดอันเป็ นผลให้ทกุ คนตกอยู่ในภาวะ “ความกลัวอย่างต่อเนื่ องในอันตรายจากการตายโหง” ชีวิต
ของคนในช่วงเวลานั้นโดดเดี่ยว ยากจน เสีย่ งอันตราย มีชีวิตแสนสัน้ เยี่ยงสัตว์เดรัจฉาน รัฐใน
สังคมธรรมชาติไม่มีกฎหมายหรือผูจ้ ะบังคับใช้กฎหมาย ทางออกเดียวของสถานการณ์น้ ี ฮ็อบส์
กล่าวว่าปัจเจกชนเหล่านั้น ต้องสร้างอานาจสูงสุดขึ้นเพื่อที่จะนามาซึ่งความสงบสุข
แนวคิดนี้ ฮอ็ บส์ได้มาจากทฤษฎีการแสดงเจตนาโดยปริยายในกฎหมายลักษณะสัญญา
ของประเทศอังกฤษ ฮ็อบส์ยืนยันว่าประชาชนตกลงกันในหมู่ของพวกเขาเองที่จะละวางสิทธิตาม
ธรรมชาติท่เี ท่าเทียมและอิสระ และมอบสิทธิอนั เด็ดขาดให้แก่รฏั ฐาธิปตั ย์ ซึ่งอาจเป็ นบุคคลคน
เดียวหรือคณะบุคคลก็ได้ รัฏฐาธิปตั ย์จะได้บญั ญัตแิ ละบังคับกฎหมายเพื่อรักษาความสงบในสังคม
,ให้ซ่งึ ชีวิต,เสรีภาพ,และความสามารถในการถือครองทรัพย์สนิ ซึ่งฮ็อบส์เรียกข้อตกลงอันนี้ ว่า
“สัญญาประชาคม”
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ฮ็อบส์ยงั มีความเชื่อว่ารูปแบบของรัฐบาลที่นาโดยกษัตริยเ์ ป็ นรูปแบบที่ดีท่สี ดุ ของ
รัฏฐาธิปตั ย์ ด้วยการมอบอานาจทัง้ หลายทัง้ ปวงไว้ในพระหัตถ์ของกษัตริยย์ ่อมนามาซึ่งการบริหาร
อานาจรัฐได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ฮ็อบส์ยงั คงเชื่ออีกว่าสัญญาประชาคมเป็ นสัญญาที่เกิดขึ้น
ระหว่างปัจเจกชนด้วยกันเองเท่านั้น หาใช่ระหว่างพวกเขากับรัฏฐาธิปตั ย์ไม่ ในทันใดที่ประชาชน
มอบอานาจอันสัมบูรณ์แก่กษัตริยแ์ ล้ว พวกเขาก็หามีสทิ ธิท่จี ะต่อต้านพระองค์ได้อกี
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
โธมัส ฮอบส์
Thomas Hobbes
1588 – 1679 C.E.
1. เสนอว่าอานาจการปกครองต้องรวมอยู่ท่บี คุ คลคน
เดียวเพือ่ มิให้มนุ ษย์กลับไปสูส่ ภาพธรรมชาติของตนที่
เลวร้าย กษัตริยม์ ีอานาจการปกครองสูงสุด มนุ ษย์ตอ้ ง
เชื่อฟังกฎหมายที่กษัตริยบ์ ญั ญัตขิ ้ ึน
2. เน้นว่าอานาจของกษัตริยม์ าจากความยินยอมของประ
ขาชนมิได้มาจาสกลัทธิเทวสิทธิ์
3. เสนอว่ามนุ ษย์ควรเชื่อด้วยเหตุผลและวิธที าง
วิทยาศาสตร์ เขายอมรับพระเจ้าแต่ปฏิเสธพิธีกรรมและ
ผูน้ าทางศาสนา
ผลงาน Leviathan
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
- จอห์น ล็อค ค.ศ. 1632 - 1704
- จอห์น ล็อค ถือกาเนิ ดมาก่อนการเกิดขึ้นของสงครามการเมืองใน
ประเทศอังกฤษไม่นานนัก
- ล็อคเรียนวิทยาศาสตร์และการแพทย์ท่มี หาวิทยาลัยออกฟอร์ดและเป็ น
ศาสตราจารย์สอนอยูท่ ่นี นั ่ ล็อคอยูเ่ คียงกับข้างกับฝ่ ายรัฐสภาโปรแตส
แตนท์ในการต่อสูก้ บั กษัตริยโ์ รมันคาทอลิก พระเจ้าเจมส์ท่ี 2 ในการ
ปฏิวตั อิ นั รุ่งโรจน์ในปี 1685 เหตุการณ์น้ ี บนั ่ ทอนอานาจของกษัตริยแ์ ละ
ทาให้รฐั สภาเป็ นองค์กรหลักในการปกครองประเทศอังกฤษโดยถาวร
ตลอดมาจนกระทัง่ ปัจจุบนั
-ในปี 1690 ล็อคตีพมิ พ์หนังสือ “Two Treatises of Government”
จอห์น ล็อค (John Locke) 1632 – 1704 C.E.
-The Treaties of Governments
-A Letter Concerning Toleration
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
ล็อคเห็นด้วยกับ โธมัส ฮ็อบส์ในเรื่องความโหดร้ายของสังคมรัฐ
ธรรมชาติท่ซี ่งึ ต้องการสัญญาประชาคมเพื่อยังไว้ซ่งึ สันติสุข แต่เขาไม่
เห็นด้วยกับโธมัส ฮ็อบส์ในประเด็นหลักสองข้อ กล่าวคือ
ข้อแรก ล็อคยืนยันว่าสิทธิตามธรรมชาติอย่างเช่น สิทธิในชีวิต
เสรีภาพ และทรัพย์สนิ นั้นเป็ นสิง่ ที่มีอยู่แล้วแม้ในสังคมรัฐธรรมชาติ
และเป็ นสิง่ ซึ่งไม่อาจพรากไปจากปัจเจกหรือเป็ นสิง่ ที่ซ่ึงปัจเจกชนจะ
มอบให้แก่ผูใ้ ดได้ สิทธิทง้ั หลายเหล่านี้ มิอาจโอนแก่กนั ได้
(inalienable) (เป็ นไปไม่ได้ท่จี ะสละแก่ผูใ้ ด)
ข้อที่สอง ล็อคไม่เห็นด้วยกับ โธมัส ฮ็อบส์ในเรื่องสัญญา
ประชาคม สาหรับเขาแล้วสัญญาประชาคมนั้นหาใช่เป็ นเพียงข้อตกลง
ระหว่างประชาชนด้วยกันไม่ แต่เป็ นข้อตกลงระหว่างพวกเขากับรัฏฐาธิ
ปัตย์ดว้ ย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “กษัตริย”์
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
ความคิดของจอห์น ล็อค ที่ว่าสิทธิตามธรรมชาติของปัจเจกชนจึง
เป็ นสิง่ จากัดอานาจขององค์กษัตริย ์ พระองค์หาได้ทรงอานาจอัน
สัมบูรณ์ดงั เช่นที่ โธมัส ฮ็อบส์กล่าวไม่ แต่พระองค์ทรงใช้อานาจเพียง
เพื่อบังคับให้เป็ นไปและพิทกั ษ์ไว้ซ่งึ สิทธิตามธรรมชาติของประชาชน
และหากว่ารัฏฐาธิปตั ย์ละเมิดต่อสิทธิเหล่านี้ สัญญาประชาคมย่อม
ยกเลิกไปและประชาชนก็ทรงไว้ซ่งึ สิทธิท่จี ะปฏิวตั แิ ละจัดตัง้ รัฐบาลขึ้น
ใหม่ได้
โธมัส เจฟเฟอร์สนั (ประธานาธิบดีคนที่ 3 ของสหรัฐอเมริกา)ได้
นาทฤษฎีของล็อคไปใช้ในการเขียน “คาประกาศอิสรภาพ”
(Declaration of Independence)ในการประกาศเอกราชของ
สหรัฐอเมริกาจากประเทศอังกฤษด้วย
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
จอห์น ล็อคยืนยันชัดแจ้งถึงเสรีภาพในการคิด การพูด และการนับถือศาสนา
แต่เขาเชื่อว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สนิ เป็ นสิทธิตามธรรมชาติท่สี าคัญที่สดุ เขาประกาศว่า
”เจ้าของย่อมกระทาสิง่ ใดก็ได้ท่เี ขาต้องการต่อทรัพย์สนิ ของตนตราบที่ไม่เป็ นการ
รบกวนสิทธิ์ของผูอ้ น่ื ”
จอห์น ล็อคชื่นชมการปกครองโดยผูแ้ ทนราษฎรอย่างเช่นรัฐสภาของอังกฤษซึ่ง
ประกอบไปด้วย สภาขุนนางที่สบื ทอดทางสายโลหิตและสภาสามัญที่ได้มาโดยการ
เลือกตัง้ แต่เขาต้องการให้ผูแ้ ทนราษฎรประกอบไปด้วยกลุม่ เจ้าของทรัพย์สนิ หรือผู ้
ประกอบธุรกิจเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ี เองเฉพาะแต่ผูช้ ายที่เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สนิ เท่านั้นจึงมีสทิ ธิลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ ได้ จอห์น ล็อคต่อต้านการยินยอมให้
กลุม่ ผูย้ ากไร้เข้ามามีสว่ นร่วมในรัฐบาลเพราะเขาเชื่อว่าคนเหล่านั้นไม่คู่ควร
ในส่วนอานาจสูงสุดในการปกครองรัฐนั้น จอห์น ล็อคกล่าวว่าต้องอยู่กบั ฝ่ าย
นิ ติบญั ญัติผูท้ าหน้าที่ออกกฎหมาย เฉกเช่น รัฐสภาของประเทศอังกฤษ ฝ่ ายบริหาร
(นายกรัฐมนตรี)และศาลเป็ นได้เพียงแค่สถาบันซึ่งถูกสร้างโดยและอยู่ใต้อานาจของ
ฝ่ ายนิ ตบิ ญั ญัตเิ ท่านั้น
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
- เสนอทัศนะเกี่ยวทฤษฎีความรู ้ และสิทธิธรรมชาติของ
มนุ ษย์(ชีวติ ทรัพย์สนิ เสรีภาพ)
- เป็ นผูร้ เิ ริ่มแนวคิดแบ่งแยกอานาจ
- ถ้ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม ประชาชนมีสทิ ธิลม้ ล้าง
รัฐบาลได้
- แนวคิดของเขาเป็ นทัง้ ทฤษฎีประชาธิปไตย ทฤษฎีการ
ปฏิบตั แิ ละมีอทิ ธิพลอย่างมากต่อการปฏิวตั อิ เมริกนั และ
ฝรัง่ เศส
จอห์น ล็อค (John Locke)
-The Treaties of Governments
-A Letter Concerning Toleration
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
จอห์น ล็อค
John Locke
1632 – 1704 C.E.
- สภาพธรรมชาติของมนุ ษย์มีสทิ ธิเสรีภาพและความเท่า
เทียมกันอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติ
- สิทธิตามธรรมชาติมีตดิ ตัวมาแต่เกิด ไม่มีใครละเมิดหรือ
ถอดถอนได้ มนุ ษย์มีอสิ ระที่จะกระทาการใด ๆตามหลัก
เสรีภาพและสะสมทรัพย์สนิ ไว้ได้โดยไม่ถกู ละเมิด
- ผูป้ กครองย่อมอยู่ภายใต้กฎหมาย จะใช้อานาจตาม
อาเภอใจไม่ได้ รัฐบาลควรมีอานาจอย่างจากัด อานาจ
อธิปไตยต้องมีการแบ่งสันอานาจการใช้ เป็ น อานาจบริหาร
นิ ตบิ ญั ญัติ และตุลาการ
- เมื่อใดรัฐบาลใช้อานาจไม่ชอบธรรมตามที่ตกลงไว้กบั
ประชาชาชน ประชาชนมีสทิ ธิพทิ กั ษ์สทิ ธิเสรีภาพไม่ให้ถกู
ล่วงละเมิดโดยรัฐบาลได้ ด้วยการล้มล้างรัฐบาล
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
จอห์น ล็อค
John Locke
1632 – 1704 C.E.
1. ประชาชนทุกคนมีสทิ ธิตามธรรมชาติ คือ สิทธิในชีวติ เสรีภาพ และทรัพย์สนิ
2. ไม่เห็นด้วยกับโทมัส ฮอบส์ท่วี ่าให้รวมอานาจปกครองไว้ท่บี คุ คลเพียงคนเดียว
เท่านั้น
3. มนุ ษย์เป็ นผูจ้ ดั ตัง้ รัฐบาลถ้ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม ประชาชนมีสทิ ธิ์ลม้
รัฐบาลได้
4. เป็ นผูร้ เิ ริ่มแนวคิดแบ่งแยกอานาจ
5. เห็นว่ารัฐเป็ นเพียงกลไกที่มนุ ษย์พร้อมใจกันสร้างขึ้นเพือ่ พิทกั ษ์ผลประโยชน์
ของตนอานาจอธิปไตยยังเป็ นของประชาชนส่วนใหญ่อานาจทางการเมืองที่แท้จริง
มาจากประชาชน ทุกคนมีความเสมอภาคทางงกฎหมายรัฐมีหน้าที่หลักคือรักษาสิทธิ
ขัน้ มูลฐานของมนุ ษย์
6. แนวคิดของเขาเป็ นทัง้ ทฤษฎีประชาธิปไตยและทฤษฎีการปฏิวตั แิ ละมีอทิ ธิพล
อย่างมากต่อนักปฏิวตั ิชาวอเมริกนั และชาวฝรัง่ เศส
ผลงาน Two Treaties of Government, A Letter Concerning Toreration
นักปรัชญาการเมืองของอังกฤษ
ธรรมชาติของมนุ ษย์และโลกก่อนมีสญั ญาประชาคม
มนุ ษย์เป็ นคนดี มีเหตุผล มีเสรีภาพเต็มที่ และมีสทิ ธิ์ในทรัพย์สนิ ของตน เมื่อทรัพย์สนิ นั้นเกิดจากแรงงานของเขา
ทาไมต้องทาสัญญาประชาคม
เพราะเมื่อเกิดข้อพิพาทจะไม่มีใครตัดสินถูกผิดได้ เพราะทุกคนมีเหตุผลของตน เมื่อแย่งทรัพย์สนิ จะไม่มีใครบอก
ได้ว่าใครถูกใครผิด มนุ ษย์จงึ ไม่อาจรักษาทรัพย์สนิ ของตัวเองไว้ได้ จึงต้องทาสัญญากัน ตัง้ กฎหมาย ตัง้ ผูต้ ดั สิน
เพือ่ รักษาทรัพย์สนิ ของตัวเอง
ใครคือผูม้ ีอานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไตยเกิดจากเสียงส่วนใหญ่ การออกกฎหมายเปิ ดจากการเห็นพ้องต้องกัน ดังนั้นทุกคนจึงยอมรับ
กฎหมาย รัฐเป็ หน่ วยเดียวที่เคลื่อนไหวตามความคิดของเสียงส่วนใหญ่ เสียงส่วนใหญ่อาจจะยกให้ใครเป็ น
ผูป้ กครองได้ แต่กเ็ รียกอานาจคืนได้เช่นกัน
สภาพสังคมหลังทาสัญญาประชาคม
เกิดสังคมที่เป็ นหน่ วยเดียวกัน ในข้อตกลงเดียวกัน ภายใต้การตัดสินโดยเสียงส่วนใหญ่ เพือ่ รักษาสิทธิและ
เสรีภาพ เพือ่ ความสะดวก ปลอดภัยของทุกคน
การเรียกอานาจคืนจากผูม้ ีอานาจอธิปไตย
ทาได้เมื่อเสียงส่วนใหญ่ตอ้ งการ
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชอง ฌาคส์ รุสโซ
Jean Jacques Rousseau
เกิดในเมืองเจนี วา สวิตเซอร์แลนด์ สถานที่ซ่ึงพลเมือง
ชายที่เป็ นผูใ้ หญ่แล้วสามารถลงคะแนนเสียงเลือก
ผูแ้ ทนมาบริหารบ้านเมืองได้
รุสโซออกเดินทางไปทัว่ ทัง้ ในฝรัง่ เศสและอิตาลีเพือ่
การศึกษาหาความรู ้
ผลงานสาคัญคือ “ สัญญาประชาคม ” (Social Contract)
ตีพมิ พ์ ค.ศ.1762
ชอง ฌาคส์ รุสโซ
Jean Jacques Rousseau
1712 - 1778 C.E.
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชอง ฌาคส์ รุสโซ
Jean Jacques Rousseau
ผลงานสาคัญคือ “ สัญญาประชาคม ” (Social Contract)
สาระสาคัญ คือ สังคมมนุ ษย์เกิดจากการตกลงของมนุ ษย์ท่จี ะอยู่
ร่วมกันภายใต้เจตจานงร่วมกันที่จะทาให้ทกุ คนมีเสรีภาพและความ
เสมอภาคกันในการช่วยกันธารงไว้ซ่งึ ผลประโยชน์สว่ นรวมร่วมกัน
รัฐที่ดีท่สี ดุ คือรัฐที่รกั ษาไว้ซ่งึ ความรุ่งโรจน์และความสุขของ ประชาชน
โดยจะต้องสร้างดุลยภาพระหว่างความสุขสาธารณะและเสรีภาพของแต่
ละบุคคลให้ได้
วาทกรรมเด่น เช่น “ มนุ ษย์เกิดมาเสรีภาพ แต่เขาได้ถูก
พันธนาการไว้ดว้ ยโซ่ตรวนแห่งอานาจของผูป้ กครอง ” และ “ คนที่
เข้มแข็งที่สดุ ไม่อาจเข้มแข็งพอที่จะเป็ นนายได้ตลอดไป ถ้าเขาไม่
เปลีย่ นแปลงอานาจของเขาให้เป็ นสิทธิ และการเชื่อฟังให้เป็ นหน้าที่..”
ชอง ฌาคส์ รุสโซ
Jean Jacques Rousseau
1712 - 1778 C.E.
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชอง ฌาคส์ รุสโซ Jean Jacques Rousseau
- รุสโซเห็นด้วยกับล็อคในข้อที่ว่ามนุ ษย์ไม่สามารถมอบซึ่งสิทธิ์ตามธรรมชาติของเขาให้แก่กษัตริยไ์ ด้
- ได้แก่การค้นหาหนทางที่จะพิทกั ษ์รกั ษาซึ่งชีวติ เสรีภาพและทรัพย์สนิ ของทุกคนไว้ในขณะที่ทกุ คน
ยังคงมีเสรี วิธีแก้ปญั หาของรุสโซก็คอื ประชาชนเข้าร่วมเป็ นสัญญาประชาคม พวกเขาจะสละซึ่งสิทธิแต่
มิใช่เพือ่ มอบให้แก่บคุ คลใดคนหนึ่ ง (เช่นกษัตริย)์ แต่เป็ นการสละให้แก่สงั คมโดยส่วนรวม รุสโซจึง
ขนานนามประชาชนว่า “รัฏฐาธิปตั ย์” (ซึ่งคาเดียวกันนี้ ฮ็อบส์ใช้เรียกกษัตริย)์ จากนั้นประชาชนก็บริหาร
เจตจานงค์ร่วมของพวกเขาโดยการสถาปนากฎหมายขึ้นเพือ่ อานวยซึ่งสาธารณะประโยชน์ทง้ั หลาย รุส
โซยืนยันว่าเจตน์จานงร่วมของประชาชนนั้นไม่สามารถกาหนดได้โดยตัวแทนที่มาจากการเลือกตัง้ เขามี
ความเชื่อมัน่ ในระบอบประชาธิปไตยโดยตรง ที่ซ่งึ ทุกคนลงคะแนนเสียงเพือ่ แสดงออกซึ่งเจตน์จานง
ร่วมและเพือ่ การบัญญัตกิ ฎหมาย รุสโซมีความคิดในระบอบประชาธิปไตยที่เหมาะสมสาหรับสังคมเล็กๆ
ของนครรัฐ (city-state) เช่น เมืองเจนี วา บ้านเกิดของเขา
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชอง ฌาคส์ รุสโซ Jean Jacques Rousseau
- อานาจรัฐทัง้ หลายนั้นจะต้องมีอยู่ในประชาชนและจะถูกใช้เพือ่ ขับเคลือ่ นเจตน์จานงร่วมของประชาชน
- ตามทฤษฎีของรุสโซไม่สามารถมีการแบ่งแยกซึ่งอานาจทัง้ หลายเหล่านั้นได้ดงั เช่นที่มองเตสกิเออร์
กล่าว และเมื่อประชาชนทัง้ หลายมาชุมนุ มกันเจตน์จานงของแต่ละคนเกีย่ วแก่กฎหมายนั้นจะได้รบั การ
ถกเถียงจนนาไปสูก่ ารลงคะแนนเสียงข้างมากซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงเจตน์จานงค์ร่วมในที่สดุ
- ทฤษฎีเจตน์จานงร่วมของรุสโซนี้ เองต่อมาภายหลังถูกทาให้ปรากฏเป็ นรูปธรรมในข้อความ “เรา
ประชาชน …” ในตอนต้นของรัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกา
- ความคิดของรุสโซก็ยงั คงคลุมเครืออยู่ในประเด็นที่ว่า ระบอบประชาธิปไตยโดยตรงของเขาจะมีกลไก
เช่นใดในการที่จะปฏิบตั ไิ ด้จริง การมีรฐั บาลชนิ ดที่รบั คาสังจากเจตน์
่
จานงค์รว่ มซึ่งก็จะต้องประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ท่ตี อ้ งรับคาสังจากประชาชนทั
่
ง้ หมดโดยตรง
- รุสโซยังเชื่อว่าศาสนานั้นเป็ นตัวการแบ่งแยกและทาให้รฐั อ่อนแอลง เขากล่าวว่าเป็ นไปไม่ได้หรอกที่จะ
อยู่อย่างสันติกบั ประชาชนที่คณ
ุ คิดว่าเขาเป็ นคนเลว รุสโซชื่นชมใน “ศาสนาประชาชน” ซึ่งยอมรับการมี
อยู่ของพระเจ้าแต่ให้ความสาคัญในการเคารพต่อสัญญาประชาคมเป็ นหลัก
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
- คาสอนของเขาสอนให้คนหันกลับไปหา
ธรรมชาติ เป็ นการยกย่องคุณค่าของคนว่า
"ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สงั คมทาให้คน
ไม่เสมอภาคกัน“
- เน้นเรื่องเจตจานงร่วมของประชาชน
- ถ้ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม ประชาชน
มีสทิ ธิลม้ รัฐบาล
ชอง ฌาคส์ รุสโซ นักปรัชญาการเมืองชาวฝรัง่ เศส
Jean Jacques Rousseau
1712 - 1778 C.E.
งานเขียน : Social Contract
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชอง ฌาคส์ รุสโซ Jean Jacques Rousseau
ธรรมชาติของมนุ ษย์และโลกก่อนมีสญั ญาประชาคม
มนุ ษย์มีเหตุผล มีสทิ ธิ์ในทรัพย์สนิ ทว่าสิทธิ์น้นั ถูกจากัดโดยความแข็งแรง คนที่แข็งแรงอาจจะแย่งทรัพย์สนิ จาก
คนอ่อนแอ
ทาไมต้องทาสัญญาประชาคม
มนุ ษย์สละเสรีภาพตามธรรมชาติมาตกลงกันให้เกิดเสรีภาพของพลเมือง ซึ่งเสรีภาพของพลเมืองขึ้นอยู่กบั
เจตจานงสากล มนุ ษย์สละเสรีภาพตามธรรมชาติให้กบั คนอืน่ ในสังคมพร้อมๆ กัน ไม่ใช่ให้ใครคนใดคนหนึ่ งจึงไม่
เสียเปรียบ
ใครคือผูม้ ีอานาจอธิปไตย
เจตจานงสากล ซึ่งหมายถึงสิง่ ที่ทกุ คนเห็นตรงกัน ไม่ใช่เสียงส่วนใหญ่ แต่เป็ นสิง่ ที่เสียงทัง้ หมดเห็นด้วย
สภาพสังคมหลังทาสัญญาประชาคม
มนุ ษย์อยู่รว่ มกันโดยเป็ นไปตามเจตจานงสากล
การเรียกอานาจคืนจากผูม้ ีอานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไตยไม่ได้ยกให้ใคร เพราะมันโอนให้กนั ไม่ได้ มันเป็ นของทุกคนอยู่แล้ว
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
1. เจ้าทฤษฎี ”อานาจอธิปไตยของประชาชน”
2. เน้นเรื่อง ”เจตจานงร่วมของประชาชน” (General Will) คือ
อานาจสูงสุดในการปกครอง
3. การทา” สัญญาประชาคม ”
4. เสนอว่ามนุ ษย์มาอยู่รวมกันเป็ น”องค์อธิปตั ย์”คือองกรที่มี
อานาจสูงสุดดังนั้นรัฐบาลต้องยอมรับเจตจานงทัว่ ไปของประขา
ขนรัฐบาลต้องสร้างความเสมอภาคให้การศึกษาจัดระบบกิจการ
คลังที่ดี มีระบบการเก็บภาษี มรดกและสิง่ ฟุ่ มเฟื อย
5. มนุ ษย์เป็ นผูจ้ ดั ตัง้ รัฐบาสลถ้ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม
ประชาชนมีสทิ ธิ์ลม้ รัฐบาลได้
6. มีผลต่อการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส”เสรีภาพ เสมอภาพ ภารดรภาพ”
7.“มนุ ษย์เกิดมาอิสระแต่ทกุ หนทุกแห่งเขาตกอยู่ในพันธนาการ”
ผลงาน Social Contract (สัญญาประชาคม)
ชอง ฌาคส์ รุสโซ
Jean Jacques Rousseau
1712 - 1778 C.E.
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชารล์ เดอ มองเตสกิเออร์(Charles de Montesqieu)
มองเตสกิเออร์
Montesquieu
1689 – 1755 C.E
The Spirit of Law
เกิด : ใกล้ เมืองบอกด์โดซ์ ในปี ค.ศ. 1689
เสียชีวติ : ปารีส ในปี ค.ศ. 1755
เป็ นที่รูจ้ กั ในหมู่นกั ปรัชญาการเมืองของฝรัง่ เศส
ประพันธ์หนังสือ ชื่อ “ The Spirit of the Law หรือ เจตนารมณ์ของ
กฎหมาย" หรือ “วิญญาณแห่งกฎหมาย” ตีพมิ พ์ออกมาในปี ค.ศ. 1748
ขณะที่ชาลส์ มองเตสกิเออร์ เกิดนั้น ประเทศฝรัง่ เศสถูกปกครองโดย
กษัตริยส์ มบูรณาญาสิทธิราช (พระเจ้าหลุยส์ท่ี 14) โดยมองเตสกิเออร์ ถือ
กาเนิ ดมาในครอบครัวขุนนางและได้รบั การศึกษาทางด้านกฎหมาย เขา
เดินทางไปทัว่ ทวีปยุโรปรวมถึงเกาะอังกฤษ ซึ่งที่น้นั เขาได้ศึกษาถึงระบบ
รัฐสภา
ในปี 1722 มองเตสกิเออร์ได้แต่งหนังสือถากถางการปกครองของพระ
เจ้าหลุยส์ท่ี 14 และทฤษฎีของศาสนจักรโรมันคาทอลิก มองเตสกิเออร์ตพี มิ พ์
ผลงานชิ้นสาคัญที่ช่ือ The Spirit of Law) ในปี 1748
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
งานเขียนที่เป็ นที่โด่งดัง ชื่อ
"The Spirit of the Law หรือ
เจตนารมณ์ของกฎหมาย"
ตีพมิ พ์ออกมาในปี ค.ศ. 1748
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ชารล์ เดอ มองเตสกิเออร์(Charles de Montesqieu)
มองเตสกิเออร์ เชื่อว่าในสังคมรัฐธรรมชาติน้นั ปัจเจกชนต่างเต็มไปด้วย
ความกลัว พวกเขาต้องการที่จะหลีกหนี ความรุนแรงและสงคราม ความ
ต้องการอาหารต่างหากเล่าคือสิง่ ซึ่งดลให้มนุ ษย์ท่ขี ลาดเขลาเข้ามา
สมาคมกับผูอ้ น่ื และแสวงหาทางรอดอยู่ในสังคม และในทันทีทนั ใดที่
มนุ ษย์เข้าสูส่ งั คมรัฐแล้วเขาก็สูญเสียซึ่งสานึ กแห่งความกลัว ความเท่า
เทียมกันสิ้นสุดลง และเกิดการเริ่มต้นซึ่งรัฐแห่งสงคราม
มองเตสกิเออร์
Montesquieu
1689 – 1755 C.E
The Spirit of Law
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
มองเตสกิเออร์
Montesquieu
1689 – 1755 C.E
The Spirit of Law
- เป็ นผูว้ างหลักการแบ่งแยกอานาจการปกครอง
- ผูใ้ ห้กาเนิ ดแนวคิดในการแบ่งแยกอานาจการปกครองสูงสุดหรืออานาจอธิปไตย
ออกเป็ น 3 ฝ่ าย คืออานาจนิ ติบญั ญัติ บริหาร ตุลาการ ตามแนวคิดของ
อริสโตเติล(Aristotle) นักปราชญ์การเมืองชาวกรีก
- การใช้อานาจรัฐต้องมีการแยกการใช้อานาจนิ ติบญั ญัติ อานาจบริหาร และ
อานาจตุลาการ ออกจากกัน ไม่ให้คน ๆ เดียวหรือองค์กรเดียวใช้เพราะจะนาไปสู่
การกดขี่ ประชาชนและเสรีภาพของ ประชาชน ก็ไม่อาจมีอยู่ได้
- แนวคิดเรือ่ งการแบ่งแยกอานาจ เป็ นการเริ่มต้นของแนวคิดการเมืองเสรีนิยม
และให้ความสาคัญกับหลักการของการตรวจสอบและถ่วงดุลคานอานาจซึ่งกัน
(Check and Balance)ในรัฐธรรมนู ญของสหรัฐอเมริกา
- แนวคิดของเขามุ่งเน้นความสาคัญของสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนตามหลักนิ ติ
ธรรมของการแบ่งแยกการใช้อานาจและการตรวจสอบการใช้อานาจให้เกิดดุลย
ภาพ
- เจตนารมณ์แห่งกฎหมายของรัฐซึ่งเกิดขึ้นและมีอยู่เพือ่ สงวนรักษาไว้ซ่ึงเสรีภาพ
ของ ประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเสรีภาพทางการเมือง
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
มองเตสกิเออร์
Montesquieu
1689 – 1755 C.E
The Spirit of Law
“ เมื่อใดอานาจนิ ตบิ ญั ญัตแิ ละอานาจบริหารรวมอยู่ท่คี นคนเดียวหรือองค์กร
เจ้าหน้าที่เดียวกัน อิสรภาพย่อมไม่อาจมีได้ เพราะจะเกิดความหวาดกลัว
เนื่ องจากกษัตริย ์ หรือสภาเดียวกันอาจบัญญัตกิ ฎหมายแบบทรราชย์.....
เช่นเดียวกันอิสรภาพจะไม่มอี ยู่ ถ้าอานาจตุลาการไม่แยกออกจากอานาจนิ ติ
บัญญัตแิ ละการบริหาร หากรวมอยู่กบั นิ ตบิ ญั ญัติ ชีวติ และอิสรภาพของคนใน
บังคับจะอยู่ภายใต้การควบคุมแบบพลการ เพราะตุลาการอาจประพฤติดว้ ยวิธี
รุนแรงและกดขี่.. ทุกสิง่ ทุกอย่างจะถึงซึ่งอวสาน...”
มองเตสกิเออ ไม่ตอ้ งการให้อานาจอยู่ท่บี คุ คลเพียงคนเดียว เพราะ
ตามธรรมดา บุคคลใดก็ตามซึ่งมีอานาจอยู่ในมือ มักจะใช้อานาจเกินเลยเสมอ
ดังนั้นเพือ่ จะมิให้มีการใช้อานาจเกินขอบเขต จึงจาต้องจัดให้มีอานาจหนึ่ ง
หยุดยัง้ อีกอานาจหนึ่ ง หรือที่เรามักได้ยนิ คากล่าวที่ว่า อานาจย่อมหยุดยัง้ ได้
ซึ่งอานาจ หรือที่เรียกว่า Power Stop Power
และการแบ่งแยกอานาจนั้นจะมีได้แต่เฉพาะในประเทศที่ปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย เท่านั้น ส่วนในประเทศที่ปกครองในระบอบเผด็จการ
หรือสังคมนิ ยม หรือคอมมิวนิ สต์ อานาจทัง้ สามจะถูกรวบให้เป็ นอานาจเดียว
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
1. ทฤษฎีแบ่งอานาจแยกอานาจการเมือง 3 ฝ่ ายคือ
นิ ตบิ ญั ญัติ บริหาร ตุลาการ
2. ระบบการปกครองต้องสอดคล้องกับลักษณะภูมิ
ประเทศและประวัตศิ าสตร์ของแต่ละสังคม
3. การปกครองที่ดีท่สี ดุ คือให้กษัตริยย์ ู่ใต้รฐั ธรรมนู ญ
ผลงาน The Spirit of Laws
มองเตสกิเออร์
Montesquieu
1689 – 1755 C.E
The Spirit of Law
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
วอลแตร์ (Voltaire)
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
- เดิมชื่อ “ฟรองซัวส์ มารี อรูเอต์” François-Marie Arouet
- เป็ นนักคิดนักเขียนชาวฝรัง่ เศส
-เกิดในปารีส วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2237 (ค.ศ. 1694)
ในตระกูลคนชัน้ กลางเป็ นคนมีการศึกษาดี ฉลาด มีไหวพริบ
และมีความสามารถพิเศษทางวรรณศิลป์
-เมื่ออายุ 20 “วอลแตร์” หันมาเขียนหนังสือเสียดสีสงั คม
-เขาเขียนกลอนล้อเลียนผูส้ าเร็จราชการแผ่นดิน ของพระเจ้า
หลุยส์ท่ี 15 จึงถูกจาคุกบาสตีย ์
- ปี 1726 วอลแตร์ถกู ขังคุกอีก เนื่ องจากมีเรื่องพิพาทกับ ขุน
นางชัน้ ผูใ้ หญ่ และถูกเนรเทศไปอังกฤษ ทาให้เขาได้มีศึกษา
ปรัชญาของ จอห์น ล็อก (John Locke) และผลงานของ วิ
ลเลียม เชกสเปี ยร์
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
- นักวิจารณ์ การเมือง เน้นเสรีภาพ
ทางความคิดเห็นและนับถือศาสนา
- ผลงานตลอดชีวติ ของวอลแตร์ได้
ก่อให้เกิดสิง่ ที่เรียกว่า “ความคิด
วิพากวิจารณ์” L‘esprit critique
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
ผลงานของวอลแตร์มีจานวนมากมาย หลากหลาย
ประเภททัง้ บทละคร นิ ยาย นิ ทานเชิงปรัชญา
ประวัตศิ าสตร์ และบทกวี ผลงานของเขาส่วนใหญ่
เป็ นการเผยแพร่ความคิด ทางปรัชญาไปสู่
สาธารณชน ปลุกความคิดการวิพากษ์วจิ ารณ์ให้แก่
ชาวฝรัง่ เศส เพือ่ ต่อต้านระบบสถาบันแบบเก่า การ
ต่อสูเ้ พือ่ ขจัดความอยุตธิ รรมในสังคม ความเชื่อที่งม
งายในทางศาสนา นอกจากนี้ เขายังสนับสนุ นการ
เรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ และการแสดงความคิดเห็น
ของประชาชน
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
ผลงานของวอลแตร์ได้ก่อให้เกิดสิง่ ที่เรียกว่า
“ความคิดพากษ์วจิ ารณ์” (L‘esprit critique)แก่
ชาวฝรัง่ เศส คิดวิพากษ์วจิ ารณ์ต่อทุกเหตุการณ์ท่ี
เกิดขึ้นในสังคม โดยวอลแตร์ได้โจมตีระบอบการ
ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สถาบันกษัตริย ์
การใช้อานาจตามอาเภอใจของกษัตริย ์ สถาบัน
ศาสนา โจมตีคาสอนความเชื่อที่งมงาย วอลแตร์ได้
สอดแทรกการโจมตีการเอารัดเอาเปรียบประชาชน
ในระบอบศักดินาเอาไว้ไม่นอ้ ย
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ตัวอย่างวาทะศิลป์ คารมของวอลแตร์ในงานเขียน
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
"สามัญชนอันเป็ นคนจานวนมากที่สุด มีคุณธรรมที่สดุ และ
ควรแก่การเคารพยกย่องที่สดุ อันประกอบไปด้วยผูศ้ ึกษา
กฎหมาย และวิทยาศาสตร์ พ่อค้า ช่างฝี มือ และชาวนา ผู ้
ประกอบอาชีพอันสูงส่งแต่ไร้เกียรติ สามัญชนเหล่านี้ เคย
ได้รบั การเหยียดหยามจากเจ้า และพระราวกับว่าเป็ นสัตว์
ต้องใช้เวลานับเป็ นศตวรรษทีเดียว ที่จะสร้างความยุติธรรม
ให้แก่มนุ ษยชาติ ในอันที่จะทาให้ประจักษ์ว่า เป็ นความ
สยดสยองยิ่ง ที่คนส่วนใหญ่เป็ นผูห้ ว่านไถ แต่คนส่วนน้อย
เป็ นผูช้ บุ มือเปิ บเอาพืชผลนั้นไป"
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ความคิดดังกล่าวของวอลแตร์ สะท้อนออกใน
หนังสือเรื่องจดหมายปรัชญา (The Philo –
sophical Letters) หรือที่รูจ้ กั ในอีกชื่อว่า จดหมาย
เรื่องเมืองอังกฤษ (Letter on the English)
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
เนื้ อหาของหนังสือโจมตีสถาบันและกฎระเบียบต่างๆ
ที่ลา้ หลังของฝรัง่ เศส นอกจากนี้ วอลแตร์ยงั เรียกร้อง
ให้มีการปฏิรูปประเทศฝรัง่ เศสให้ทนั สมัยเหมือน
อังกฤษ
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
วอลแตร์ได้นาหลักการใช้ เหตุผล (L’esprit scientifique) มา
แพร่หลายให้แก่ประชาชน เพือ่ มาใช้ในการดาเนิ นชีวติ โดยการใช้
เหตุผลแก้ปญั หา และรูจ้ กั คิดพิจารณาก่อนจะเชื่ออะไรง่าย ๆ วอล
แตร์ใช้ผลงานของเขามาเป็ นเครื่องมือในการเผยแพร่
แนวความคิดทางปรัชญาสาธารณชน เพือ่ ทาให้ประชาชนได้เข้าใจ
และตระหนักในปัญหา แนวคิดและความรูเ้ หล่านี้ จึงเปรียบเสมือน
กับแสงสว่างทางปัญญาให้แก่ประชาชน เขาเป็ นผูท้ ่มี ีส่วนทาให้
ประชาชนมีเสรีภาพทาง ความคิดทัง้ การพูด การพิมพ์และการนับ
ถือศาสนา ให้ดูแบบอย่างการเมืองการปกครองแบบอังกฤษ วอล
แตร์ จึงเป็ นผูม้ ีอทิ ธิพลเป็ นอย่างมากในช่วงคริสตวรรษที่ 18 นั้น
จนเป็ นผลนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงครัง้ ยิ่งใหญ่ทง้ั ทางด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและศาสนา ซึ่งเป็ นที่รูจ้ กั กันในนาม “การปฏิวตั ิ
ฝรัง่ เศส ” (French Revolution 1789)
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
วอลแตร์
Voltaire
1694 – 1778 C.E
The Spirit of Law
1. เน้นเสรีภาพการแสดงความคิดเห็น
และนับถือศาสนาแนวคิดของเขามี
อิทธิพลต่อความคิดของพระเจ้าเฟรเดอริ
กมหาราชในการพัฒนาและปฏิรูป
ปรัสเซีย ให้เข้าสูย่ คุ ภูมิธรรม
2.”แม้ขา้ พเจ้าจะไม่เห็นด้วยกับที่ท่านพูด
มาแม้แต่นอ้ ย แต้ขา้ พเจ้าจะปกป้ องสิทธิ์
ในการพูดของท่านอย่างสุดชีวติ ”
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
คาร์ล มาร์กซ์(Karl Marx)
คาร์ล มาร์กซ์
Karl Marx
1818 – 1883 C.E
The Communist Manifesto
- นักคิดชาวเยอรมันที่อทิ ธิพลสูงต่อโลกและมี
อิทธิพลอย่างยิ่งจนถึงปัจจุบนั
- นักเสนอแนวคิดการปกครองแบบสังคม
นิ ยม
- จัดตัง้ สมัชชากรรมกรสากล
- หนังสือบทวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ท่มี อง
ผ่านการปะทะกันระหว่างชนชัน้
- งานเขียนของเขา กลายเป็ นแกนหลักของ
การเคลื่อนไหวในแนวทาง
ลัทธิคอมมูนิสต์ สังคมนิ ยม ลัทธิเลนิ น
ลัทธิมาร์กซ์
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
งานเขียนของฟรีดริช เฮเกิล ที่มีช่ือว่า "The Condition
of the Working Class in England in 1844" (สภาพ
ของชนชัน้ กรรมาชีพในอังกฤษในปี 1844) หนังสือเล่มนี้
ทาให้คาร์ล มาร์กซ์ มองวิภาษวิธีเชิงประวัตศิ าสตร์ออกมา
ในรูปของความขัดแย้งระหว่างชนชัน้ และมองเป็ นว่าชน
ชัน้ กรรมาชีพสมัยใหม่จะเป็ นแรงผลักดันที่กา้ วหน้าที่สดุ
สาหรับการปฏิวตั ิ
คาร์ล มาร์กซ์
Karl Marx
1818 – 1883 C.E
The Communist Manifesto
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
ฟรีดริช เฮเกิล(เฟรเดอริค เองเกล)
Friedrich Engels
ฟรีดริช เฮเกิล
Friedrich Engels
- นักคิดชาวเยอรมันที่อทิ ธิพลสูง ต่อ คาร์ล มาร์กซ์
- นักเสนอแนวคิดการปกครองแบบสังคมนิ ยม
- เป็ นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนักทฤษฎีสงั คมนิ ยม
วิทยาศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ เป็ นเพื่อนร่วมงานและคู่คดิ ที่
ใกล้ชิดของ คาร์ล มาร์กซ์ โดยร่วมกันวางรากฐานของ
อุดมการณ์คอมมิวนิ สต์และลัทธิมาร์กซ์
- มีบทบาทสาคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมาร์กซ์ว่า
ด้วยวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ และวัตถุนิยมวิภาษวิธี ให้
ก้าวหน้าจนเป็ นที่ยอมรับทัว่ ไปในขบวนการสังคมนิ ยม
1820 – 1895 C.E
The Condition of the Working Class in England in 1844
สภาพของชนชัน้ กรรมาชีพในอังกฤษในปี 1844
พัฒนาการประชาธิปไตย : นักปรัชญาการเมือง
พิจารณาแบบวิภาษวิธี (dialectic) โดยมองว่าเป็ นการปะทะกัน
ของแรงคู่ตรงข้าม หลายครัง้ แนวคิดนี้ ถกู เขียนย่อว่าเป็ น
thesis + antithesis → synthesis (ข้อวินิจฉัย + ข้อโต้แย้ง
→ การประสม, การสังเคราะห์)
เฮเกลเชื่อว่าทิศทางของประวัตศิ าสตร์น้นั สามารถพิจารณาได้
เป็ นช่วง ๆ ที่มีเป้ าหมายไปสูค่ วามสมบูรณ์และจริงแท้ เขากล่าวว่า
หลายครัง้ พัฒนาการจะเกิดขึ้นแบบค่อยเป็ นค่อยไป แต่กอ็ าจมีบางช่วง
ที่ตอ้ งมีการต่อสูแ้ ละเปลีย่ นแปลงผูท้ ่อี ยู่ในอานาจเดิม มาร์กซยอมรับ
ภาพรวมของประวัตศิ าสตร์ตามที่เฮเกลเสนอ อย่างไรก็ตามเฮเกลนั้น
เป็ นนักปรัชญาแนวจิตนิ ยม ส่วนมาร์กซนั้นต้องการจะอธิบายสิง่ ที่
เกิดขึ้นในรูปของวัตถุ เขาได้เขียนว่านักปรัชญาสายเฮเกลนั้นวางความ
เป็ นจริงไว้บนหัว ดังนั้นจึงจาเป็ นที่จะต้องจับมันให้วางเสียใหม่บนเท้า
ของตนเอง
ฟรีดริช เฮเกิล
Friedrich Engels
1820 – 1895 C.E
The Condition of the Working Class in England in 1844
สภาพของชนชัน้ กรรมาชีพในอังกฤษในปี 1844
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution
การปฏิวตั ิอเมริกา ค.ศ.1776
สงครามประกาศอิสรภาพ
http://www.kmcenter.ago.go.th/kms/node/2078
http://freedom-thing.blogspot.com/2011/05/blog-post_3946.html
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution : การปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ.1776
เกิดจากชาวอาณานิ คมของอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนื อทาสงครามกับอังกฤษและ
ประกาศเอกราช เมื่อ 4 กรกฎาคม ค.ศ.1776
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution : การปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ.1776
รัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกาเป็ นรัฐธรรมนู ญลายลักษณ์อกั ษรที่เก่าแก่ท่สี ดุ ในโลก
และเป็ นต้นแบบของรัฐธรรมนู ญในประเทศต่างๆ จานวนมาก การที่รฐั ธรรมนู ญมี
อายุยนื ยาวกว่า 200 ปี
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกามีจุดเริ่มต้นจากคาประกาศอิสรภาพของ
โธมัส เจฟเฟอร์สนั (Thomas Jefferson)
ได้รบั อิทธิพลมาจากนักปรัชญาการเมือง คนสาคัญ คือ
จอห์น ล็อค (John Lock) และ มองเตสกิเออ
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution : การปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ.1776
ความขัดแย้งระหว่างสหราชอาณาจักรซึ่งเป็ นเมืองแม่กบั ดินแดน
อาณานิ คมทัง้ 13 แห่งในอเมริกา
โดยเฉพาะเรื่องเนื่ องมาจากนโยบายของสหราชอาณาจักรต่ออาณา
นิ คมในอเมริกาในเรื่องการค้า และการจัดเก็บภาษี
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution : การปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ.1776
บทความเรื่อง “สามัญสานึ ก” (Common Sense)
ของ โธมัส เพน (Thomas Paine)
ได้พมิ พ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ.1776
ที่เมืองฟิ ลาเดลเฟี ย (Philadelphia)
ซึ่งกล่าวถึงการประกาศอิสรภาพของชาวอาณานิ คม และมีการเผยแพร่กระจาย
ออกไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว จนกระทัง่ นาไปสูก่ ารรวมตัวเพือ่ ประกาศ
อิสรภาพจากสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1776
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
Declaration of independence written by Thomas Jefferson
“คาประกาศอิสรภาพ” ร่างโดยโธมัส เจฟเฟอร์สนั เนื้ อหาบางส่วนว่า
คาประกาศอิสรภาพยังมีรากฐานมาจากอิทธิพลดัง้ เดิมของสหราชอาณาจักร คือ
การที่ว่าสหรัฐอเมริกาเป็ นเมืองขึ้น ทาให้เกิดความรูส้ กึ ถึงการกีดกันสิทธิและ
การไม่ได้เป็ นพลเมืองของสหราชอาณาจักร
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution : การปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ.1776
Declaration of independence written by Thomas Jefferson
“คาประกาศอิสรภาพ” ร่างโดยโธมัส เจฟเฟอร์สนั เนื้ อหาบางส่วนว่า
“ มนุ ษย์เราทุกคนถูกสร้าง
มาให้เท่าเทียมกัน พวกเรา
ได้รบั การประทานพรจาก
พระเจ้าผูส้ ร้างให้มีสทิ ธิท่ไี ม่
มีใครจะพรากไปได้ สิทธิ
ดังกล่าวได้แก่ สิทธิในชีวิต
ในเสรีภาพ และในการ
แสวงหาความสุข ”
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
American Revolution : การปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ.1776
ผูน้ าจาก 13 มลรัฐได้ประชุมร่วมกัน เรียกว่า “Continental Congress” และที่
ประชุมได้แต่งตัง้ คณะกรรมาธิการพิเศษขึ้นในเดือนมิถนุ ายน
เพือ่ ร่างคาประกาศอิสรภาพ ผูท้ ่ถี กู คัดเลือกให้เป็ นผูเ้ ขียนคาประกาศดังกล่าว คือ
โธมัส เจฟเฟอร์สนั (Thomas Jefferson) จากมลรัฐเวอร์จเิ นี ย (Virginia)
ต่อมาได้มีการแก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ ในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 โดยมีผูแ้ ทน
ลงนามให้สตั ยาบันทัง้ สิ้น 56 คน
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
หลังจากคาประกาศอิสรภาพได้ไม่นานจึงมีการร่างบทบัญญัตแิ ห่งสมาพันธรัฐขึ้น (Article of
Confederation) ซึ่งนับได้ว่าเป็ นร่างรัฐธรรมนู ญฉบับแรกของสหรัฐอเมริกา บทบัญญัตนิ ้ ี มิได้
รับการยอมรับจากมลรัฐสมาชิก จนกระทัง่ ในปี ค.ศ.1781 การให้สตั ยาบันจึงครบสมบูรณ์
สาเหตุท่ตี อ้ งใช้ระยะเวลานานเนื่ องจากมลรัฐอิสระต่างๆ มีความต้องการที่จะรักษาอธิปไตย และ
อานาจของมลรัฐของตนไว้
บทบัญญัตขิ องสมาพันธรัฐเกิดขึ้นหลังจากการประกาศอิสรภาพเป็ นลักษณะการรวมตัวกันอย่าง
หลวมๆ ของมลรัฐต่างๆ การตัดสินใจในหัวข้อต่างๆ จะกระทากันในสภานิ ติบญั ญัติของมลรัฐ
ซึ่งอานาจส่วนใหญ่จะไปตกอยู่ท่สี ภานิ ตบิ ญั ญัติของมลรัฐ
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
ปี ค.ศ. 1784 เกิดสภาวะเศรษฐกิจตกตา่ อย่างรุนแรงขึ้นในสหรัฐอเมริกาทาให้แต่ละมลรัฐ
พยายามกระทาทุกอย่างเพื่อความอยู่รอดของตน โดยไม่คานึ งถึงอานาจของสมาพันธรัฐ(รัฐบาล
กลาง)
ในปี ค.ศ. 1786 มลรัฐเวอร์จเิ นี ย (Virginia) ในฐานะสมาชิกของสมาพันธรัฐได้ออกคาเชิญ
ให้มลรัฐอืน่ ๆ เข้าร่วมประชุมเพื่อแก้ไขปัญหาในตอนท้ายของการประชุมได้มีมติให้ทกุ มลรัฐ
แต่งตัง้ ผูแ้ ทนของตนเข้าร่วมประชุมที่เมืองฟิ ลาเดลเฟี ย (Philadelphia) ในปี ค.ศ. 1787 ซึ่งใน
การประชุมที่ฟิลาเดเฟี ย ได้รบั ความร่วมมือจากผูแ้ ทนจากมลรัฐต่างๆ เข้าร่วมประชุม 55 คน
จากทัง้ หมด 74 คน ผลของการประชุมดังกล่าวนาไปสูก่ ารร่างรัฐธรรมนู ญฉบับใหม่ของ
สหรัฐอเมริกาเพื่อแทนที่บทบัญญัติแห่งสมาพันธรัฐเดิม
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
ในปี ค.ศ.1787 ตัวแทนจากมลรัฐต่างๆ ได้เข้าร่วมประชุมที่เมืองฟิ ลาเดลเฟี ยเพือ่ ร่าง
รัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกา จานวนผูเ้ ข้าร่วมประชุมในครัง้ นี้ มีทง้ั หมด 55 คน จากตัวแทน
74 คน (12 มลรัฐ) ยกเว้น โรดไอแลนด์ (Rhode Island) เท่านั้นที่ไม่มาเข้าร่วมประชุม
เนื่ องจากรัฐบาลของโรดไอแลนด์ขาดความเข็มแข็งและไร้เสถียรภาพ
ในการร่างรัฐธรรมนู ญคณะผูเ้ ข้าร่วมประชุมได้มีความเห็นแตกแยกกันเป็ น 2 ฝ่ าย คือฝ่ ายหนึ่ ง
ต้องการรัฐบาลกลางที่เข็มแข็งซึ่งเรียกตัวเองว่า ฝ่ ายเฟดเดอรัลลิสต์ (Federalist) และอีกฝ่ าย
หนึ่ งต้องการรักษาไว้ซ่งึ อานาจและสิทธิเสรีภาพของประชาชนและมลรัฐ(รัฐบาลมลรัฐ) โดยไม่
เห็นด้วยกับการรวมอานาจของรัฐบาลกลาง เรียกตัวเองว่า ฝ่ ายแอนติเฟดเดอรัลลิสต์ (AntiFederalist) ซึ่งทัง้ สองฝ่ ายมีแนวความคิดแตกต่างกันอย่างชัดเจน
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
แผนการเวอร์จเิ นี ย(Virginia Plan) VS แผนการนิ วเจอร์ซี(New Jersey Plan)
แผนการเวอร์จเิ นี ย(Virginia Plan) ซึ่งเอ็ดมันด์ แรนดอล์ฟ (Edmund Randolph) เป็ นผูเ้ สนอ
แผนการนิ วเจอร์ซี(New Jersey Plan) ซึ่งวิลเลี่ยม ปี เตอร์สนั (William Peterson) เป็ นผูเ้ สนอ
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
เมื่อการประชุมร่างรัฐธรรมนู ญเริ่มขึ้น ผูแ้ ทนที่เข้าร่วมประชุมรัฐธรรมนู ญได้ยอมรับแผนการ
เวอร์จเิ นี ย (Virginai Plan) ซึ่ง เอ็ดมันด์ แรนดอล์ฟ (Edmund Randolph) เป็ นผูเ้ สนอโดย
แผนการเวอร์จเิ นี ย มีวตั ถุประสงค์สาคัญคือการเรียกร้องให้เพิ่มอานาจรัฐบาลกลางโดยระบุให้
รัฐบาลปกป้ องเสรีภาพ และความเป็ นอยู่ของประชาชน และยังกล่าวถึงอานาจหน้าที่ของผูน้ า
ฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายตุลาการ ซึ่งในบทบัญญัตแิ ห่งสมาพันธรัฐมิได้บญั ญัติไว้ ดังนั้น จึงพบว่า
แผนการเวอร์จเิ นี ย มีวตั ถุประสงค์ท่จี ะร่างรัฐธรรมนู ญขึ้นมาใหม่มากกว่าเป็ นเพียงแค่การแก้ไข
รัฐธรรมนู ญเดิมที่เรียกว่า อาร์ตเิ คิลออฟคอนเฟดเดอเรชัน่ (Articles of Confederation) ที่
ประกาศใช้มาก่อนหน้านี้
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
จากเนื้ อหาสาระของแผนการเจอร์จเิ นี ย ( Virginia Plan) และแผนการนิ วเจอร์ซี
(New Jersey Plan) ก่อให้เกิดความคิดเห็นที่แตกต่างกันออกไป ในที่สุดได้มีการ
ตกลงประนี ประนอมในเรื่องสาคัญกัน (Great Compromise) ที่เมืองคอนเนคติกตั
(Connecticut) ซึ่งเรียกว่า “Connecticut Compromise”ข้อตกลงดังกล่าวได้
กลายเป็ นรากฐานสาคัญของรัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกาในเวลาต่อมา
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
- ประเด็นสาคัญในการตกลงครัง้ นี้ คอื
ประการแรก เรื่องจานวนผูแ้ ทนเนื่ องจากมลรัฐเล็กเกรงว่ามลรัฐใหญ่จะใช้อทิ ธิพลในการมี
ผูแ้ ทนที่มีจานวนมากกว่าเข้าครอบงาการกระทาต่างๆ ของมลรัฐเล็ก ดังนั้น เพือ่ เป็ นการปัองกัน
ความหวัน่ วิตกของมลรัฐเล็ก รัฐธรรมนู ญจึงกาหนดระบบสองสภาขึ้นมาโดยให้สภาผูแ้ ทนราษฎร
(House of Representatives) มีจานวนผูแ้ ทนตามอัตราส่วนของจานวนประชากรของแต่ละมลรัฐ
และนับรวมทาสจานวน 5 คน มีสทิ ธิเท่ากับ 3 คน ในการเลือกตัง้ ผูแ้ ทน ส่วนสภาสูง (Senate) นั้น
ให้แต่ละมลรัฐมีผูแ้ ทนได้เท่ากันคือ 2 คน
ประการที่สอง คือ การเลือกตัง้ ผูน้ าฝ่ ายบริหาร มีการประนี ประนอมกันระหว่างฝ่ ายที่ตอ้ งการ
ให้ผูน้ าฝ่ ายบริหารได้รบั การเลือกตัง้ จากสภาผูแ้ ทนราษฎร กับอีกฝ่ ายหนึ่ งซึ่งต้องการให้ผูน้ าฝ่ าย
บริหารได้รบั การเลือกตัง้ โดยตรงจากประชาชนข้อประนี ประนอมตกลงให้สร้างคณะผูเ้ ลือกตัง้
ประธานาธิบดี (Electoral College) ซึ่งประกอบด้วยผูแ้ ทนจากมลรัฐต่างๆ มาทาการเลือกตัง้
ประธานาธิบดี
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
การให้สตั ยาบันรัฐธรรมนู ญ ( Ratificaltion of Constitution )
การขอสัตยาบันจากที่ประชุมร่างรัฐธรรมนู ญนั้นค่อนข้างมีปญั หาเพราะการเขียนร่างรัฐธรรมนู ญขึ้น
ใหม่เป็ นการกระทาที่เกินอานาจของผูแ้ ทนที่เข้าร่วมประชุม เหตุผลคือวัตถุประสงค์ของการประชุม
ในตอนแรกเป็ นเพียงความต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องของบทบัญญัตสิ มาพันธรัฐให้ดี
ขึ้นแต่ผลการประชุมกลายเป็ นการร่างรัฐธรรมนู ญฉบับใหม่ ซึ่งจะต้องได้รบั ความเห็นชอบ และการ
ให้สตั ยาบันจากสภานิ ตบิ ญั ญัตขิ องแต่ละมลรัฐ
อย่างไรก็ตาม ข้อบังคับของรัฐธรรมนู ญได้รบั ความเห็นชอบในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.1787 และ
มีการลงมติในวันที่ 17 กันยายน ซึ่งในที่ประชุมประกอบด้วยตัวแทนจาก 12 มลรัฐ (ยกเว้น Rhode
Island )โดยมีผูล้ งชื่อเห็นชอบด้วย 39 คน จากผูแ้ ทนทัง้ หมด 42 คน จากนั้นจึงเสนอร่างต่อสภาค
องเกรสของสมาพันธรัฐ (Confederation Congress) สภาคองเกรสได้มอบอานาจให้สภานิ ติ
บัญญัตขิ องแต่ละมลรัฐเพือ่ ตัดสินใจให้สตั ยาบันต่อรัฐธรรมนู ญฉบับใหม่ รัฐธรรมนู ญจะมีผลบังคับ
ใช้ได้ต่อเมื่อได้รบั การให้สตั ยาบันจาก 9 มลรัฐใน 13 มลรัฐ
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
รัฐบาลมีมลรัฐต่างๆ เริ่มให้สตั ยาบันในปี ค.ศ.1787 ภายในระยะเวลา 3 เดือนหลังจากเสนอร่าง
รัฐธรรมนู ญ โดย 5 มลรัฐแรกให้สตั ยาบันรับรองรัฐธรรมนู ญฉบับใหม่ ในจานวนนี้ มีถงึ 4 มลรัฐที่เป็ นมลรัฐ
ขนาดเล็ก คือ เดลลาแวร์ (Delaware) นิ วเจอร์ซี (New Jersey) จอร์เจีย (Georgia) และ คอนเนคติคตั
(Connecticut) แสดงให้เห็นว่าในที่ประชุมฟิ ลาเดลเฟี ยยอมรับในความเท่าเทียมกันของผูแ้ ทนในแต่ละมลรัฐ
ถึงแม้ว่า 9 มลรัฐจะให้สตั ยาบันแล้วในเดือนมิถนุ ายน ค.ศ.1788 แต่รฐั บาลกลางยังให้ความสาคัญกับ
มลรัฐเวอร์จเิ นี ย และนิ วยอร์ค เพราะมลรัฐเวอร์จเิ นี ยเป็ นมลรัฐที่มีประชากรมากที่สดุ ส่วนนิ วยอร์คเป็ นมลรัฐที่
มีขนาดใหญ่ท่สี ดุ มลรัฐหนึ่ ง ถ้าหากทัง้ 2 มลรัฐให้การรับรัฐธรรมนู ญ การทางานของรัฐบาลจะมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
ในการประชุมให้สตั ยาบันที่นิวยอร์ค (New York) ฝ่ ายผูส้ นับสนุ นรัฐธรรมนู ญ (Federallist) นาโดย
อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน (Alexander Hamilton) เจมส์ เมดิสนั (James Madison) จอห์น เจย์ (John
Jay) ได้เขียนบทความขึ้น 85 บทความลงตีพมิ พ์ในหนังสือพิมพ์ นิ วยอร์คนิ วส์ (New York Newspaper)
โดยใช้นามปากกาว่า “พับลิอสุ ” (Publius) ซึ่งต่อมาได้ตพี มิ พ์ในบทความร่วมกันชื่อว่า เดอะเฟดเดอรัลลิสเพ
เพอร์ (The Federalist Papers) โดยเป็ นบทความที่สนับสนุ นการใช้สตั ยาบันรัฐธรรมนู ญ
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
การให้สตั ยาบันของทุกๆ มลรัฐ
หลังจากการให้สตั ยาบันของทุกๆ มลรัฐ จึง
ถือได้ว่ารัฐธรรมนู ญฉบับปี ค.ศ.1787
มีผลบังคับใช้โดยสมบูรณ์
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญสหรัฐอเมริกามีลกั ษณะชัดเจนไม่สลับซับซ้อนสามารถปรับใช้ได้ทกุ ยุค
ทุกสมัยโดยกาหนดให้มีการแก้ไขได้ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ทนั ต่อเหตุการณ์ ซึ่งแสดงให้เห็น
ถึงความยืดหยุ่นในการนาไปใช้ในโลกของความเป็ นจริง เพือ่ ให้การบริหารประเทศ
สหรัฐอเมริกาเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญของอเมริกาเริ่มแรกมีเพียง 7 มาตรา (ปัจจุบนั มี 34 มาตรา)
เป็ นการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดีท่แี ตกต่างจากระบบ
รัฐสภาอังกฤษ ซึ่งมีการแยกการใช้อานาจออกชัดเจนกว่าอังกฤษ โดยกาหนดให้
ฝ่ ายบริหารมาจากการเลือกตัง้ จากประชาชนโดยตรง
รัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกาเป็ นรัฐธรรมนู ญลายลักษณ์อกั ษรที่เก่าแก่ท่สี ดุ ในโลก
และเป็ นต้นแบบของรัฐธรรมนู ญในประเทศต่างๆ จานวนมาก การที่รฐั ธรรมนู ญมี
อายุยนื ยาวกว่า 200 ปี
พัฒนาการประชาธิปไตย : สหรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1787 ในที่
ประชุม ณ ฟิ ลาเดลเฟี ย รัฐเพนซิลเวเนี ย และรับรองโดยการประชุมในรัฐต่าง ๆ
ในนามของประชาชน โดยจนถึงปัจจุบนั รัฐธรรมนู ญแห่งสหรัฐอเมริกาได้ถูก
เปลี่ยนแปลงแก้ไข มาแล้ว 27 ครัง้ โดยสิบครัง้ แรกเป็ นที่รูจ้ กั ในนามของ รัฐ
บัญญัตสิ ทิ ธิ (Bill of Rights)
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
การปฏิวตั ฝิ รัง่ เศสเริ่มต้นใน ค.ศ. 1789 – 1792
การปฏิวตั ฝิ รัง่ เศสเป็ นการปฏิวตั ใิ หญ่ท่เี กิดขึ้นในศตวรรษที่ 18
โดยส่งผลผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองทัว่ ยุโรป
โดยการมีสาเหตุทางด้านการคลังเป็ นพื้นฐาน
เป็ นการปฏิวตั โิ ดยกลุม่ ชนชัน้ กลางที่ตอ้ งการเข้ามามีสว่ นร่วมในการ
ปกครองโดยการล้มล้างการปกครองในระบอบเก่า (Ancient Regime)
หรือระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolutism) มาสูก่ ารปกครองที่
อานาจอธิปไตยของประชาชน
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สาเหตุทวั ่ ไปของการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส ค.ศ. 1789
ด้านการเมือง
1. พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 ทรงไม่เข็มแข็งพอไม่มีอานาจเด็ดขาดในการบริหารประเทศจึงเปิ ดโอกาสให้คณะบุคคล
บางกลุม่ เข้ามามีสทิ ธิรว่ มในการบริหารประเทศ
2. สภาท้องถิ่น (Provincial Estates) เป็ นสภาที่มีอยู่ทวั ่ ไปในฝรัง่ เศส และตกอยู่ภายใต้อานาจอิทธิพลของ
ขุนนางท้องถิ่น เริ่มกลับเข้ามามีบทบาทอีกครัง้
3. สภาปาลมองต์ (Parlement) หรือศาลสูงสุดของฝรัง่ เศส ทาหน้าที่ให้การปรึกษากับกษัตริยม์ ีสทิ ธิ์ยงั ยัง้ การ
ออกกฎหมายใหม่ (Vito) ซึ้งเป็ นสภาที่เป็ นปากเป็ นเสียงของประชนเคยถูกปิ ดไปแล้ว กลับเข้ามามีอานาจอีกครัง้
พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 ทรงยอมให้สภาปามองต์แสดงบทบาทสามารถต่อรองขอสิทธิบางอย่างทางการเมือง
4. สภาฐานันดรหรือสภาทัว่ ไป(Estates General) ที่จดั ตัง่ ขึ้นในยุคกลางในสมัยพระเจ้าฟิ ลิปที่ 4 เพือ่ ต่อต้าน
อานาจของสันตปาปา ซึ่งมีผลทาให้เกิดชนชัน้ ของประชาชน 3 ชนชัน้ คือ พระ ขุนนาง และสามัญชน ซึ่งในปี ค.ศ.
1789 สถานะทางด้านการคลังของประเทศเกิดปัญหาขาดดุลอย่างหนัก ทาให้พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 เปิ ดสภานี้ ขึ้นมา
ใหม่หลังจากจากที่ถกู ปิ ดไปถึง 174 ปี เพือ่ ขอเสียงสนับสนุ นจากตัวแทนของประชาชนในการขอเก็บภาษี เพิม่ ขึ้น
แต่เกิดปัญหาการนับคะแนนเสียงขึ้น จนกลายเป็ นชนวนที่กอ่ ให้เกิดการปฏิวตั ใิ นเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1789
5. ประเทศฝรัง่ เศสไม่มีรฐั ธรรมนู ญ ทาให้การปกครองเป็ นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และประชาชนไม่ได้รบั
การคุม้ ครอง(หลักประกันเรื่องสิทธิ เสรีภาพ)
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สาเหตุทวั ่ ไปของการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส ค.ศ. 1789
ด้านเศรษฐกิจ
1. สืบเนื่ องมาจากพระเจ้าหลุยส์ท่ี 15 ทรงใช้จา่ ยอย่างฟุ่ มเฟื อยในราชสานัก เป็ นปัญหาสัง่ สมมาจนถึงพระเจ้า
หลุยส์ท่ี 16
2. เป็ นปัญหาสืบเนื่ องมาจากการที่ฝรัง่ เศสเข้าไปพัวพันกับสงครามในต่างประเทศมากเกินไป โดยเฉพาะ
สงครามกูเ้ อกราชของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1776 จึงทาให้เกิดค้าใช้จา่ ยสูง
3. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมมาสูภ่ าคอุตสาหกรรม ทาให้เกิดวิกฤตการทาง
การเกษตร ราคาอาหารสูงขึ้นไม่สมดุลกับค่าแรงที่ได้รบั การเปลี่ยนแปลงนี้ ก่อให้เกิดชนชัน้ ใหม่ข้ นึ มา คือชนชัน้
กลาง (พ่อค้า นายทุน) ซึ่งมีสว่ นสาคัญในการปฏิวตั ิ
4. พระเจ้าหลุยส์ไม่สามารถตัดค่าใช้จา่ ยในราชสานักได้ แต่กพ็ ยายามแก้ไขโดย
- ปรับปรุงการเก็บภาษีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ก่อให้เกิดการไม่พอใจในกลุม่ คนบางกลุม่ ที่ไม่เคยเสียภาษี
- เพิม่ การกูเ้ งิน ซึ่งก็ช่วยทาให้มีรายได้เพิม่ ขึ้น แต่กต็ อ้ งจ่ายค่าดอกเบี้ยมากขึ้นด้วยเช่นกัน
- ตัดรายจ่ายบางประการ เช่น การเลิกเบี้ยบานาน ลดจานวนค่าราชการ ซึ่งทาให้เกิดความไม่พอใจในหมู่
ข้าราชการ ยังส่งผลถึงการทางานของราชการไม่มีประสิทธิภาพ
การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไม่เป็ นผลสาเร็จ เนื่ องจากแก้ไขที่ไม่ตรงจุด จึงไม่สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จาเป็ นลง
ไปได้
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สาเหตุทวั ่ ไปของการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส ค.ศ. 1789
ด้านสังคม
1. การรับอิทธิพลทางความคิดของชาวต่างชาติ จาการที่ฝรัง่ เศสเข้าไปช่วยสหรัฐอเมริกาทา
สงครามประกาศอิสภาพจากอังกฤษ จึงทาให้รบั อิทธิพลทางความคิดด้านเสรีภาพนั้นกลับเข้ามาใน
ประเทศด้วย อิทธิพลทางความคิดที่สาคัญที่รบั มาคือจากบรรดานักปรัชญากลุม่ ฟิ โลซอฟส์
(Philosophes) นักปรัชญาคนสาคัญคือ วอร์แตร์, จอห์น ล็อค, รุสโซ
2. เกิดปัญหาความแตกต่างทางสังคม อันเนื่ องมาจากพลเมืองแบ่งออกเป็ น 3 ฐานันดร คือ
- ฐานันดรที่ 1 พระ
- ฐานันดรที่ 2 ขุนนาง
- ฐานันดรที่ 3 สามัญชน
ฐานันดรที่ 1 และ 2 เป็ นกลุม่ ที่มีอภิสทิ ธิ์ชน คือไม่ตอ้ งเสียภาษี ทาให้กลุม่ ฐานันดรที่ 3 ต้องแบก
รับภาระทัง้ หลายอย่างเอาไว้เช่น การเสียภาษี การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ กลุม่
ฐานันดรที่ 3 ถือเป็ นกลุม่ ไม่มีอภิสทิ ธิ์ชน
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สรุปสาเหตุของการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส ค.ศ.1789
เมื่อประเทศฝรัง่ เศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามารถแก้ปญั หาได้ พระเจ้าหลุยส์ท่ี
16 จึงทรงเปิ ดประชุมสภาฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 17 มิถนุ ายน ค.ศ. 1789 เพือ่ ขอ
คะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชนทุกกลุม่ ช่วยกันแก้ไขปัญหาทางการคลัง แต่ได้เกิดปัญหาขึ้น
เพราะกลุม่ ฐานันดรที่ 3 เรียกร้องให้นบั คะแนนเสียงเป็ นรายหัว แต่กลุม่ ฐานันดรที่ 1 และ 2 ซึ่งได้
ร่วมมือกันเสมอนั้นเสนอให้นบั คะแนนเสียงแบบกลุม่ จึงทาให้กลุม่ ฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา แล้ว
จัดตัง้ สภาแห่งชาติ (National Assembly) เรียกร้องให้พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 ปิ ดห้องประชุม
ต่อมาวันที่ 20 มิถนุ ายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ยา้ ยไปประชุมที่สนามเทนนิ ส และร่วมสาบานว่าจะ
ไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะได้รบั ชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนู ญขึ้นใช้ในการ
ปกครองประเทศ
ในขณะเดียวกันกับความวุ่นวายได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่ องในปารีส และได้ขยายตัวออกไปทัว่
ประเทศ ฝูงชนชาวปารีสได้รบั ข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 กาลังจะส่งกาลังทหารเข้ามาปราบปราม
ความฝูงชนที่ก่อวุ่นวายในปารีส
ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ฝูงชนจึงได้ร่วมมือกันทาลายคุกบาสติลส์(Bastille) ซึ่งเป็ น
สถานที่คมุ ขังนักโทษทางการเมือง และถือว่าเป็ นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ลาดับเหตุการณ์สาคัญของ การปฏิวตั ิฝรัง่ เศส ที่เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1789
1789
5 พ.ค.
17 มิ.ย.
- พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 เรียกประชุมสภาฐานันดร (Estates General)
- ฐานันดรที่ 3 ไม่พอใจเป็ นอย่างมากจึงไม่เข้าร่วมการประชุม และไปตัง้ สภาของตนเอง
เรียกว่า Assemblée Nationale(National Assembly)
20 มิ.ย. - สมาชิกฐานันดรที่ 3 ประกาศคาปฏิญาณสนามเทนนิ ส(Tennis Court Oath)
14 ก.ค. - การบุกทลายคุกบาสติลย์ (Bastille)
4 ส.ค. - คาประกาศว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชนและสิทธิพลเมือง ที่รบั รองโดย Assemblée
Nationale(National Assembly)
1792
22 ส.ค.
- มีการประกาศจัดตัง้ สาธารณรัฐ
1793
21 ม.ค. - พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 ทรงถูกประหารชีวติ โดยกิโยตีน
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
5 พ.ค.
เมื่อประเทศฝรัง่ เศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามารถแก้ปญั หาได้ สถานะ
ทางด้านการคลังของประเทศเกิดปัญหาขาดดุลอย่างหนัก ทาให้พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 เปิ ดสภา
ฐานันดร(Estates General) นี้ ข้ ึนมาใหม่อกี ครัง้ หลังจากที่สภานี้ ถูกปิ ดไปนานถึง 174 ปี เพื่อขอ
เสียงสนับสนุ นจากตัวแทนของประชาชนในการขอเก็บภาษี เพิ่มขึ้นเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาทางการคลัง
ของประเทศ
การประชุมสภาฐานันดรในครัง้ นี้ ใช้ระบบลงคะแนนคือ 1 ฐานันดรต่อ 1 เสียง
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
17 พ.ค.
การประชุมสภาฐานันดรในครัง้ นี้ ใช้ระบบลงคะแนนคือ 1 ฐานันดรต่อ 1 เสียง เพราะ
ฐานันดรที่สามซึ่งมีจานวนถึง 90% ของประชากรทัง้ ประเทศกลับได้คะแนนเสียงเพียง 1 ใน 3 ของ
สภา และวิธีการลงคะแนนนี้ จะทาให้ฐานันดรที่สามไม่มีทางมีเสียงเหนื อกว่า 2 ฐานันดร (เพราะ 2
ฐานันดรที่เหลือนั้นมักจะร่วมมือกัน) โดยเสนอให้ลงคะแนนเสียงแบบ 1 คน 1 เสียงแทน เมื่อ
ข้อเสนอนี้ ถกู ปฏิเสธ ทาให้ตวั แทนฐานันดรที่ 3 ไม่พอใจเป็ นอย่างมากจึงไม่เข้าร่วมการประชุม และ
ไปตัง้ สภาของตนเองเรียกว่า Assemblée Nationale(National Assembly) ซึ่งเปิ ดประชุมเมื่อ
วันที่ 17 มิถนุ ายน ค.ศ. 1789
Assemblée Nationale(National Assembly) ที่ตง้ั โดยฐานันดรที่ 3 นี้ สภานี้ ยงั มีตวั แทน
จากฐานันดรที่ 1, 2 บางส่วนเข้าร่วมประชุมด้วยได้แก่ตวั แทนส่วนใหญ่ของชนชัน้ นักบวชและ
ตัวแทนที่เป็ นขุนนางหัวสมัยใหม่ท่นี าโดยมิราโบ
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
20 พ.ค. : สมาชิกฐานันดรที่ 3 ประกาศคาปฏิญาณสนามเทนนิ ส(Tennis Court Oath)
Assemblée Nationale(National Assembly) ซึ่งเป็ นสภาที่ฐานันดรที่ 3 ตัง้ ขึ้น ปฏิเสธที่จะเข้าร่วม
ประชุม สภาฐานนันดร : les états généraux (Estates General) ที่พระเจ้าหลุยส์ ที่ 16 พยายามหาทาง
ประนี ประนอมโดยจะเปิ ดประชุมสภาฐานันดรครัง้ ที่ 2
สภา Assemblée Nationale(National Assembly) นี้ ประกาศว่าสภาของตนเท่านั้นที่มีสทิ ธิ์ข้ ึนภาษี
เนื่ องจากไม่ไว้วางใจการทางานของรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ 16 ที่สนับสนุ นแต่ขุนนางและพวกพระ พระเจ้าหลุยส์
ที่ 16 พยายามหาทางประนี ประนอมโดยเสนอว่าจะจัดประชุมสภาฐานนันดร (les états généraux (Estates
General) ขึ้นอีกครัง้ พวกขุนนางและพวกพระตอบตกลง แต่สมาชิกสภา Assemblée Nationale(สภาที่ตง้ั โดย
ฐานันดรที่ 3) ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมประชุมด้วย
สมาชิกสภา National Assembly(สภาที่ตง้ั โดยฐานันดรที่ 3) เพราะไม่สามารถเข้าไปประชุมในห้องประชุม
ตามปกติได้ ตามคาเชิญของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 โดยได้ไปจัดการประชุมของตัวเองขึ้นที่สนามเทนนิ ส(สมัยนั้น
เรียกว่า Jeu de paume) ในวันที่ 20 มิถนุ ายน โดยมีมติว่าจะไม่ยบุ สภานี้ จนกว่าประเทศฝรัง่ เศสจะได้รฐั ธรรมนู ญ
(ทุกคนปฏิญาณว่าจะไม่แยกจากกันถ้าไม่มีรฐั ธรรมนู ญ)
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
วันที่ 27 มิถนุ ายน
พระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 เสนอให้สมาชิกฐานันดรอืน่ ๆ เข้าร่วมประชุมกับฐานันดรที่สาม
ข่าวเรื่องพระเจ้าหลุยส์สงั ่ เตรียมกองทัพที่แวร์ซายส์และปารีส
แต่หลังจากนั้นไม่นาน พระเจ้าหลุยส์กไ็ ด้รบั การกดดันอีกครัง้ จากพระนางมารี อองตัวเนต
(มเหสี) และพี่ชายของพระเจ้าหลุยส์ ทาให้พระองค์ทาการเรียกกองทหารที่จงรักภักดีต่อ
พระองค์จากต่างประเทศเข้ามาประจาการในกรุงปารีสและพระราชวังแวร์ซายส์ และมีการข่มขู่
ทาร้ายผูท้ ่จี าทาลายกษัตริย ์ ส่งผลทาให้ทาให้เกิดความโกรธแค้นในหมู่ประชาชน นอกจากนี้
พระเจ้าหลุยส์ยงั ทรงปลดเนกแกร์ (J.Necker) ลงจากตาแหน่ ง และข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์อาจ
สัง่ บุกสภาแห่งชาติ จนทาให้เกิดความไม่สงบขึ้นในปารีสในเวลาต่อมา
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
วันที่ 12 กรกฎาคม
ประชาชนออกมาก่อการจลาจลเริ่มขึ้นในปารีส
วันที่ 13 กรกฎาคม
มีการจัดตัง้ คอมมูนปารีส (Paris Commune) อารมณ์การปฏิวตั เิ ริ่มแพร่กระจาย
ไปทัว่ ปารีส มีการตัง้ กองกาลังแห่งชาติ (National Guards) มี มาร์กสี ์ เดอ ลาฟา
แยตต์ (Marquis de Lafayette) เป็ นผูบ้ งั คับการ
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
วันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789(พ.ศ. 2332)
การยึดคุกบาสติลย์ (Bastille)
- เริ่มการโจมตีคกุ บาสติลย์(Bastille)
ซึ่งถือเป็ นสัญลักษณ์พระราชอานาจของกษัตริย ์
- พวกชาวไร่ชาวนาไม่ยอมเสียภาษี
- เริ่มโจมตีบา้ นขุนนาง(กรกฎาคม-สิงหาคม)
หลังจากนั้นไม่นาน เทศบาลและกองกาลังติดอาวุธของประชาชน(Garde Nationale) ก็ได้ถูก
ตัง้ ขึ้นอย่างรีบเร่งโดยประชาชนชาวปารีส และในไม่ชา้ ทัว่ ประเทศก็มีกองกาลังติดอาวุธของ
ประชาชนตามอย่างกรุงปารีส
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
วันที่ 4 สิงหาคม
มีการประกาศสิทธิมนุ ษยชน ที่รบั รองโดยสภาแห่งชาติ (Assemblée
Nationale(National Assembly))
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1789
วันที่ 10 สิงหาคม
สภาแห่งชาติเสนอร่างรัฐธรรมนู ญ มีการปกครองระบอบกษัตริยภ์ ายใต้รฐั ธรรมนู ญ
วันที่ 5 - 6 ตุลาคม
สตรีชาวปารีสบุกพระราชวังแวร์ซายส์ เพราะไม่พอใจที่ขนมปังมีราคาแพง และไม่
พอใจที่กษัตริยใ์ ช้กาลังทหาร
วันที่ 2 พฤศจิกายน
สภาแห่งชาติยดึ ที่ดินของวัดเพือ่ แก้ปญั หาวิกฤตการเงิน และเริ่มพิมพ์บตั รเงิน
(assignats) โดยใช้ท่ดี ินของวัดเป็ นประกันค่าเงินดังกล่าว
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1790
วันที่ 12 กรกฎาคม
มีการออกพระราชบัญญัตธิ รรมนู ญสงฆ์ ทาการปรับปรุงนิ กายโรมันคาทอลิก และรัฐ
เป็ นผูจ้ า่ ยเงินเดือนพระ
วันที่ 20 มิถนุ ายน
พระเจ้าหลุยส์กบั พระราชวงศ์พยายามหลบหนี แต่ถกู จับกลับปารีส ในวันรุ่งขึ้น
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1791
เกิดสมาคม Feuillants ของพวกจาโคแบงสายกลาง ต่อต้านการยกเลิกระบอบกษัตริย ์
วันที่ 17 กรกฎาคม
ฝ่ ายรีพบั ลิกนั ที่ตอ้ งการให้ถอดกษัตริย ์ ซึ่งชุมนุ มกันที่ Champ-de-Mars ถูกยิงโดยสภา
แห่งชาติ ตามคาสัง่ ของลาฟาแยตต์
วันที่ 27 สิงหาคม
มีการประกาศพิลนิ ทซ์ (Declaration of Pillnitz) ปรัสเซียกับจักรวรรดิออสเตรียประกาศ
สงครามกับฝรัง่ เศสเพื่อรักษาระบอบกษัตริย ์
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1792
วันที่ 20 เมษายน
สภานิ ติบญั ญัติภายใต้พรรคจิรองแดงประกาศสงครามกับออสเตรีย
วันที่11 กรกฎาคม
กองทัพออสเตรียเข้าสูฝ่ รัง่ เศส
วันที่ 27 กรกฎาคม
ฝ่ ายออสเตรียออกประกาศบรุนสวิก (Brunswick Manifesto) ขู่ทาลายกรุงปารีสหากกษัตริยเ์ ป็ นอันตราย
ประชาชนชาวฝรัง่ เศสโกรธแค้นคาประกาศนี้ มาก
วันที่ 10 สิงหาคม
ฝูงชนบุกพระราชวังตุยเลอรี (Tuilleries) สังหารทหารรักษาการชาวสวิส ดังตองจัดตัง้ รัฐบาลชัว่ คราวและตัง้ สภา
แห่งชาติ (National Convention)
วันที่ 22 สิงหาคม
ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐครัง้ ที่หนึ่ ง ยกเลิกระบอบกษัตริย ์
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1793
วันที่ 21 มกราคม
พระเจ้าหลุยส์ถกู ปลงพระชนม์ดว้ ยเครื่องกิโยตีน เพราะทรงถูกกล่าวหาว่าทรยศต่อ
ชาติ
วันที่ 13 กรกฎาคม
คอร์เดย์ (Corday) ลอบสังหารมาราต์ กับมีการเตรียมกองทัพเพือ่ ทาสงครามกับ
ฝ่ ายรวมพันธมิตร
วันที่ 16 ตุลาคม
ปลงพระชนม์พระนางมารี อังตัวเนตต์ ด้วยกิโยตีน
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ค.ศ. 1793 วันที่ 21 มกราคม พระเจ้าหลุยส์ถกู ปลงพระชนม์ดว้ ยเครื่องกิโยตีน
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
วันที่ 14 กรกฎาคม ของทุกปี ถือเป็ นวันชาติฝรัง่ เศส
วันชาติฝรัง่ เศส
วันบาสตีลย์(Bastille Day)
งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ (La Fête Nationale)
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ผลของการปฏิวตั ใิ นช่วงแรก
1. การยุติสทิ ธิพเิ ศษต่าง ๆ
สภา Assemblée Nationale ได้ประกาศว่าประชาชนทุกคนมีสทิ ธิเท่าเทียม
กัน และล้มเลิกสิทธิการงดเว้นภาษีของคณะสงฆ์ รวมทัง้ ให้ทกุ คนมีโอกาสในการ
ประกอบอาชีพทุกอย่างเท่าเทียมกัน ภายหลังจากการลงมติของสภาฯ ไม่ก่ีวนั ก่อน
หน้านี้ คือวันที่ 3-4 สิงหาคม 1789 ซึ่งได้รบั มติสนับสนุ นอย่างท่วมท้นจากสมาชิก
สภา
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ผลของการปฏิวตั ใิ นช่วงแรก(ต่อ)
2. ประกาศสิทธิของมนุ ษย์และพลเมือง
เป็ นคาประกาศที่ปูทางไปสูก่ ารร่างรัฐธรรมนู ญ ได้รบั แรงบันดาลใจมา
จากปรัชญารูแ้ จ้ง(Enlightened) ซึ่งเป็ นปรัชญาที่ได้รบั ความนิ ยมในยุคนั้น และคา
ประกาศนี้ ได้แบบอย่างจากรัฐธรรมนู ญของสหรัฐฯ คาประกาศนี้ ผ่านการพิจารณา
ของสภาฯ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1789 มีเนื้ อหาหลักแสดงถึงหลักการพื้นฐาน
ของการปฏิวตั ิ ภายใต้คาขวัญที่ว่า "เสรีภาพ, เสมอภาค, ภราดรภาพ“
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
ผลจากการปฏิวตั ิฝรัง่ เศส ค.ศ.1789
1. เปลี่ยนจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสูร่ ะบอบสาธารณรัฐ
2. มีการล้มล้างกลุม่ อภิสทิ ธิชน พระและขุนนางหมดอานาจ, กลุม่ สามัญชน กรรมกร
ชาวนา และโดยเฉพาะกลุม่ ชนชัน้ กลาง เข้ามามีอานาจแทนที่
3. ศาสนาจักรถูกรวมเข้ากับรัฐ ทาให้อานาจของสันตะปาปาถูกควบคุมโดยรัฐ
4. เกิดความวุ่นวายทัว่ ประเทศเพราะประชนชนบางส่วนยังติดอยู่กบั การปกครองแบบเก่า
5. มีการทาสงครามกับต่างชาติ
6. มีการขยายอิทธิพลแนวความคิดและเป็ นต้นแบบของการปฏิวตั ิไปยังประเทศอืน่ ๆ ใน
ยุโรป
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สรุป
การปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส กินเวลาในช่วงระหว่างปี คศ. 1789-1799 ในการโค่นล้มระบอบกษัตยิ ์
หลังจากสถาปนาระบอบสาธารณรัฐสาเร็จแล้วไม่นาน มีการแย่งชิงอานาจรัฐระหว่างกลุ่มชนชัน้
ปกครองด้วยกันเอง จนนามาสู่ ค.ศ. 1799 นายพลนโปเลียน โบนาปาร์ต ยึดอานาจจากคณะมนตรี
และได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ นกงสุลคนแรกของสาธารณรัฐฝรัง่ เศส ซึ่งเป็ นผูป้ กครองที่มีอานาจสูงสุด
นโปเลียนดารงตาแหน่ งกงสุลในปี ค.ศ. 1799 - 1803 ก่อนที่นายพลนโปเลียนจะสถาปนาตนเอง
ขึ้นเป็ นจักรพรรดิในเวลาต่อมา
หลังจากนั้นฝรัง่ เศสต้องเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกหลายครัง้ สลับกันระหว่างแบบกษัตริย ์
กับแบบสาธารณรัฐ จนกระทัง่ ปัจจุบนั
ฝรัง่ เศส ผ่านกระบวนการสร้างระบอบสาธารณรัฐ มาถึง สาธารณรัฐที่ 5 (ค.ศ. 1958 ปัจจุบนั )
นายพลชาร์ล เดอ โกลใช้ระบบประธานาธิบดีท่เี ลือกตัง้ จากประชาชนโดยตรง แทนระบบ
รัฐสภาแบบเดิม ซึ่งคงอยูม่ าถึงปัจจุบนั
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สรุป
สาธารณรัฐที่ 5 ของฝรัง่ เศสมีประธานาธิบดีมาแล้วทัง้ หมด 7 คนดังนี้
นายพลชาลส์ เดอ โกล (ค.ศ. 1958 - ค.ศ. 1969)
ชอร์ช ปงปี ดู (ค.ศ. 1969 - ค.ศ. 1974)
วาเลรี ชีสการ์ แดสแตง (ค.ศ. 1974 - ค.ศ. 1981)
ฟรองซัว มีแตรอง (ค.ศ. 1981 - ค.ศ. 1995)
ฌาก ชีรกั (ค.ศ. 1995 – 2007)
นี กอลา ซาร์กอซี (ค.ศ. 2007-2012)
ฟร็องซัว ออล็องด์ (ค.ศ. 2012-ปัจจุบนั )
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
สภาฐานันดร ประกอบด้วย 3 ฐานันดร
- ฐานันดรที่ 1 พระ
- ฐานันดรที่ 2 ขุนนาง
- ฐานันดรที่ 3 สามัญชน(ประชาชนทัว่ ไป)
ฐานันดรที่ 1 และ 2 เป็ นกลุม่ ที่มีอภิสทิ ธิ์ชน คือไม่ตอ้ งเสียภาษี ทาให้กลุม่ ฐานันดร
ที่ 3 ต้องแบกรับภาระทัง้ หลายอย่างเอาไว้เช่น การเสียภาษี การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน
และการถูกเกณฑ์ไปรบ กลุม่ ฐานันดรที่ 3 ถือเป็ นกลุม่ ไม่มีอภิสทิ ธิ์ชน
พัฒนาการประชาธิปไตย : การปฏิวตั ิฝรั่งเศส
Liberté, Égalité, Fraternité
หลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ คือ หลักการหรือ
คาขวัญที่ใช้ในการปฎิวตั ิฝรัง่ เศส ในปี 1789
เสรีภาพ (Liberty / Freedom) มนุ ษย์เกิดมาพร้อมกับเสรีภาพทางความคิด การค้นหา
การเรียนรู ้ การเลือก การตัดสินใจ การแสดงออก
ความเสมอภาค (Equality) ความเท่าเทียมกันในสิง่ ที่มนุ ษย์จะมีความเท่าเทียมกันได้ ทุก
คนที่เกิดมาควรมีความเท่าเทียมกันในฐานะการเป็ นประชากรของรัฐ ประชาชนจะถูกเลือก
ปฏิบตั ไิ ม่ได้
ภราดรภาพ (Fraternity) ทุกคนเป็ นดัง่ พี่นอ้ ง คนในสังคมควรปฏิบตั ติ ่อกันดุจพี่
น้อง ช่วยเหลือเอื้ออาทรกัน ไม่ควรมีใครที่ถูกทอดทิ้ง แม้คนไร้ประโยชน์ เช่น คนพิการ ไม่
ปฏิบตั ติ ่อกันเฉกเช่นศัตรู เพราะความแตกต่างกัน
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
เหล่านักคิดในยุคใหม่ตอ้ งการปฏิรูปความสัมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์บน
โลกด้วยกันแทนที่ความสานึ กของพวกเขาที่มีต่อศาสนาและชีวติ หลัง
ความตายอย่างเช่นยุคกลาง นักคิดเหล่านี้ ให้ความสาคัญแก่เหตุผล,
วิทยาศาสตร์,ความคิดเห็นที่แตกต่างทางศาสนาและสิง่ ที่พวกเขา
เรียกว่า “สิทธิตามธรรมชาติ” (กล่าวโดยเฉพาะได้แก่สทิ ธิในชีวติ
เสรีภาพ และทรัพย์สนิ )
เสรีนิยม(Liberalism) : หัวใจของประชาธิปไตย
ลักษณะสาคัญพื้นฐานของลัทธิเสรีนิยม
1. ปัจเจกบุคคลนิ ยม(individualism)
2. เสรีภาพ(liberty or freedom)
3. เหตุผล(reason)
4. ความเสมอภาค(equality)
5. ขันติธรรม(toleration) คือ ความอดทนใจกว้าง
6. ฉันทานุ มตั (ิ consent) คือ ความเห็นพ้องต้องกัน
7. รัฐธรรมนู ญนิ ยม(constitutionalism) แนวคิดเสรีนิยมเชื่อมัน่ ว่ารัฐบาลที่มี
อานาจจากัดจะมีประโยชน์ต่อสังคมมากกว่ารัฐบาลที่มีอานาจมากล้น จึงจาเป็ นต้อง
บัญญัตหิ ลักแห่งการแบ่งแยกอานาจ การตรวจสอบถ่วงดุลอานาจ การคุม้ ครองสิทธิ
เสรีภาพไว้ในรัฐธรรมนู ญ