ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่

Download Report

Transcript ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่

การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั
Library of Congress Classification
พรทิพย์ อาจวิชัย 14 ส.ค. 56
การจัดหมวดหมู่
การจัดหมวดหมู่ หรื อ การวิ เคราะห์ หนังสื อ มาจาก
คาว่า Book Classification คือ การนาเอาทรัพยากรที่มี
อยู่มาจัดแยกประเภทของแต่ละสาขาวิชาอย่างกว้ าง ๆ
โดยหนั ง สื อ ที่ มี เ นื อ้ หาแบบเดี ย วกั น จัด เอาไว้ ด้ วยกั น
เนื อ้ หาใกล้ เ คี ย งกัน เอาไว้ ด้ ว ยกัน รวมถึ ง หนัง สื อ ที่ มี
ลักษณะการประพันธ์แบบเดียวกัน จัดกลุม่ ไว้ ด้วยกัน
ประโยชน์ ของการจัดหมวดหมู่
•
•
•
•
เพื่อพิจารณาแยกและหนังสื อตามเนื้อหาวิชา
เพื่อสะดวกในการจัดเรี ยงและค้นหาข้อมูล
หนังสื อที่มีเนื้อหาสาระอย่างเดียวกันรวมอยูด่ ว้ ยกัน
เพื่อควบคุมทรัพยากรสารสนเทศให้สมดุลในสาขาวิชา
ต่าง ๆ
ประเภทระบบการจัดหมวดหมู่
ระบบเอ็กแพนซีฟ: Expansive Classification (EC)
ระบบทศนิยมสากล: Universal Decimal Classification (UDC)
ระบบซับเจค: Subject Classification (SC)
ระบบทศนิยมดิวอี้: Dewey Decimal Classification (DDC)
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั : Library of Congress
Classification (LC)
• ระบบโคลอน: Colon Classification (CC)
• ระบบบรรณานุกรม: Bibliographic Classification (BC)
•
•
•
•
•
Library of Congress
ประวัติการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั
• ค.ศ.1800 จัดตั้งหอสมุดรั ฐสภาอเมริ กนั โดยใช้ระบบจัดแยก
หนังสื อตามขนาด แล้วเรี ยงตามเลขทะเบียน
• ค.ศ.1812 จัดเรี ยงตามเนื้ อหาคล้ายกับระบบของเบคอน และ ดา
ลอมแบร์ ซึ่งใช้ในห้องสมุดฟิ ลาเดเฟี ย ของเบนจามิน แฟลงคลิน
โดยแบ่งเป็ น 3 กลุ่มใหญ่ มี 18 หมวด
• ค.ศ.1814 ทหารอังกฤษเผาเมื อ งหลวง หนังสื อในหอสมุ ด
รัฐสภาอเมริ กนั ถูกไฟไหม้
• ค.ศ.1815 ประธานาธิ บดี โธมัส เจฟเฟอร์ สั น ขายหนังสื อใน
ห้องสมุดส่ วนตัวกว่า 6000 เล่มให้แก่หอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั
ซึ่ งจัดหมวดหมู่แล้ว ตามระบบของเบคอนและดาลอมแบร์
และ ใช้มาจนถึงปลายศตวรรษที่ 19
• ค.ศ.1846 กฎหมายลิขสิ ทธิ์ กาหนดให้ผูพ้ ิมพ์และสานักพิมพ์
ต่าง ๆ ส่ งสิ่ งพิมพ์ให้หอสมุด ทาให้มีจานวนหนังสื อเพิ่มขึ้น
เป็ นล้านเล่ม
• ค.ศ.1897 ขยายหอสมุดและเปิ ดให้ประชาชนเข้าใช้ จอห์ น
รั สเซ็ลล์ ยังก์ เสนอให้ศึกษาระบบการจัดหมวดหมู่แบบ
ใหม่ เนื่องจากของเดิมไม่สามารถรองรับจานวนหนังสื อที่
เพิม่ ขึ้นได้
• ค.ศ.1899 เฮอร์ เบอร์ ต พุทนัม สนับสนุนให้มีการศึกษา
ระบบ Expansive Classification อย่างจริ งจังและ
เป็ นการเริ่ มต้นของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั ที่ใช้กนั ใน
ปัจจุบนั
หอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั
•
•
•
•
•
•
ปัจจุบนั เป็ นหอสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ประกอบไปด้วย 3 อาคาร มีพ้นื ที่ประมาณ 2,614,000 ตรม.
มีทรัพยากรสารสนเทศทุกรู ปแบบจากทัว่ โลกกว่า 460 ภาษา
มีทรัพยากรประมาณ 140 ล้านรายการ
มีบุคลากรประจาหอสมุดประมาณ 4085 คน
มีทรัพยากรที่ได้รับบริ จาคและจัดซื้อ เฉลี่ยวันละประมาณ
22,000 รายการ
ลักษณะพิเศษของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั
• การแบ่งหมวดหมู่หนังสื อเป็ นไปตามหลักปฏิบตั ิ (Practical
system) เนื่องจากเกิดจากการปฏิบตั ิจริ งของบรรณารักษ์ฝ่าย
วิเคราะห์หมวดหมู่
• ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว เป็ นการเรี ยงลาดับหมวดหมู่หนังสื อตาม
ความเหมาะสมในแต่ละสาขาวิชาดังนั้นในหมวดย่อยจึงมีการแบ่ง
มากบ้างน้อยบ้าง
• มีคู่มือของระบบมีลกั ษณะเป็ นหนังสื อชุด เนื่องจากการสร้างระบบ
แบ่งความรับผิดชอบให้ผเู ้ ชี่ยวชาญแต่ละหมวดจัดทาเลขหมู่
สัญลักษณ์และลักษณะของระบบ LC
•
•
•
•
•
เป็ นสัญลักษณ์ผสม (mixed notation)
มี 21 หมวด ประกอบด้วยอักษร A-Z
ยกเว้น I O W X Y
แบ่งเนื้อหาย่อยโดยใช้เลข 1 - 9999
แต่ละหมวดแยกการพิมพ์และการใช้โดยอิสระ บางหมวด
มีเล่มเดียว บางหมวดมีหลายเล่ม
ลักษณะการแบ่ งหมวดหมู่ของระบบ LC
1. หมวดใหญ่ (Main Classes) มี 21 หมวด คือ
A = เรื่องทั่วไป
B = ปรัชญา ศาสนา
C = ศาสตร์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับประวัติศาสตร์
D = ประวัตศิ าสตร์ ท่ วั ไป / โลกเก่ า
E-F= ประวัตศิ าสตร์ ของทวีปอเมริกา
G = ภูมศิ าสตร์ มานุษยวิทยา นันทนาการ
H= สังคมศาสตร์
J = รัฐศาสตร์
K= กฎหมาย
L = การศึกษา
M = ดนตรี
N = ศิลปะ
P = ภาษาและวรรณคดี
Q = วิทยาศาสตร์
R = การแพทย์
S = การเกษตร
T = เทคโนโลยี
U = วิทยาศาสตร์ การทหาร
V = นาวิกศาสตร์
Z = บรรณารักษศาสตร์
ลักษณะการแบ่ งหมวดหมู่ของระบบ LC
2. หมวดย่ อย (Sub Classes)
เป็ นการแบ่งย่อยจากหมวดใหญ่ (main classes)ใช้อกั ษรภาษาอังกฤษ 2-3
ตัว ซึ่งแต่ละหมวดอาจแบ่งหมวดย่อยไม่เท่ากันขึ้นอยูก่ บั ขอบเขตเนื้อหา
เช่น หมวด H สังคมศาสตร์
HC = สถิติ
HB = เศรษฐศาสตร์
HC = ประวัติสภาวะทางเศรษฐกิจ
HE = การขนส่ งและการคมนาคม
ลักษณะการแบ่ งหมวดหมู่ของระบบ LC
3. เนือ้ เรื่องย่อยของหนังสื อ (subdivision / subject)
เป็ นการแบ่งเนื้อหาในหมวดย่อย (sub classes) ให้ละเอียดมากยิง่ ขึ้นโดยใช้เลข
1-9999 เติมหลังหมวดย่อย และอาจใช้จุดทศนิยม เลขคัตเตอร์ หมู่ หรื อตาราง
ประเภทต่าง ๆ ในการกระจายเนื้อหาให้ละเอียดมากยิง่ ขึ้น
ตัวอย่ าง
Q
QA
Sciences (general)
300-385
Cybernetics. Information theory
Mathematics
9-10
Mathematical Logic
76
Computer sciences. Electronics data processing
101-141
Elementary mathematics. Arithmetic
150-274
Algebra
ตัวอย่ างเลขหมู่ระบบ LC
QA แบ่ งหมวดหมู่ย่อยจากหมวด
ใหญ่ Q
QA
76.7
AAA
2000
76 แบ่ งย่ อยจากหมวดหมู่ย่อย โดย
ใช้ ตัวเลข
.7 ใช้ จุดทศนิยมแบ่ งย่ อยเนือ้ หา
เพือ่ ให้ ละเอียดยิง่ ขึน้
ระบบ LC ในประเทศไทย
ห้ องสมุดคณะรัฐประศาสนาศาสตร์
ม.ธรรมศาสตร์
สานักหอสมุด ม.นเรศวร นาระบบ LC มาใช้ ครั้งแรกเมื่อใด ?