ภาพนิ่ง 1 - Information Science, RERU

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - Information Science, RERU

GEL1103
สารสนเทศและการศึกษาค้ นคว้ า
Information and Education
4.1
บทที่
ระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
ของห้ องสมุด
ฉัตรกมล อนนตะชัย
[email protected]
วัตถุประสงค์
 บอกความหมายของการจัดหมู่หนังสื อได้
 อธิบายประโยชน์ ของการจัดหมู่หนังสื อได้
 อธิบายระบบการจัดหมู่หนังสื อระบบทศนิยม
ของดิวอี้ และระบบหอสมุดรั ฐสภาอเมริ กนั ได้
 อธิบายเลขเรียกหนังสื อได้
 อธิบายการจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศได้
หัวข้ อนาเสนอ
14 ระบบจัดหมู่หนังสื อ
21 เลขเรียกหนังสื อ
32 การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การจัดหมู่หนังสื อ
การจัดหมู่หนังสื อ หมายถึง การจัดหนังสื อ
ทีม่ ีเนือ้ หาหรือประเภท หรือแบบการประพันธ์
อย่างเดียวกันไว้ ด้วยกัน และใช้ สัญลักษณ์
แทนเนือ้ หา หรือประเภท หรือแบบการประพันธ์
ของหนังสื อ (รัถพร ซังธาดา : 2544)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
วัตถุประสงค์ ของการจัดหมู่หนังสื อ
 เพือ่ ความสะดวกรวดเร็วในการจัดหนังสื อให้ เป็ นระเบียบเรียบร้ อย หยิบง่ าย หายรู้
 เพือ่ ความสะดวกรวดเร็วในการค้ นห้ าหนังสื อที่ต้องการ
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ประโยชน์ ของการจัดหมวดหมู่หนังสื อ
 ผู้ใช้ และเจ้ าหน้ าทีห่ ้ องสมุดสามารถค้ นหาหนังสื อที่ต้องการได้ โดยสะดวก
และรวดเร็ว
 เจ้ าหน้ าทีห่ ้ องสมุดสามารถนาหนังสื อเข้ าไปจัดเรียงบนชั้นหนังสื อให้ ถูกที่
โดยสะดวกและรวดเร็ว
 หนังสื อที่มเี นือ้ หาอย่างเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกัน
หรือมีลกั ษณะการประพันธ์ อย่ างเดียวกันจะรวมอยู่
ด้ วยกันทั้งหมด ทาให้ ผ้ ใู ช้ มโี อกาสทีจ่ ะพิจารณา
เลือกใช้ หนังสื อที่ตรงกับความต้ องการ จากหนังสื อ
ประเภทเดียวกันหลายๆ เล่ม
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ประโยชน์ ของการจัดหมวดหมู่หนังสื อ (ต่ อ)
 ทาให้ ทราบจานวนหนังสื อในแต่ หมวดหมู่ว่ามีมากน้ อยเพียงใด เพียงพอแก่การ
ให้ บริการหรือไม่ อันเป็ นข้ อมูลสาคัญประการหนึ่งในการดาเนินงานจัดหาทรัพยากร
ของห้ องสมุด
 เมือ่ ได้ หนังสื อใหม่ เข้ ามาในห้ องสมุด ก็สามารถ
นามาจัดหมวดหมู่และไปวางรวมกับหนังสื อเดิม
เพือ่ ให้ บริการได้ อย่างรวดเร็ว โดยไม่ ทาให้ เกิดการ
เปลีย่ นแปลง กระทบกระเทือนหรือมีปัญหากับ
หนังสื อทีม่ อี ยู่เดิม
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
แนวคิดในการจัดหมวดหมู่วสั ดุ
การจัดหมวดหมู่วสั ดุโดยทัว่ ๆ ไป มีแนวคิดในการจัดอยู่ 2 แบบ คือ
 การจัดหมวดหมู่ตามลักษณะทีป่ รากฏอยู่ภายนอก (Artificial Classification)
หมายถึง การจัดหมวดหมู่จัดโดยยึดลักษณะภายนอกเป็ นเกณฑ์
ในการจัด เช่ น จัดหนังสื อแยกตามสี ปกของหนังสื อ จัดตามขนาด หรือการแยก
หนังสื อ วารสารหรือโสตทัศนวัสดุไว้ คนละที่
 การจัดหมวดหมู่ตามคุณลักษณะเนือ้ หาภายในตัววัสดุ (Natural Classification)
หมายถึง การจัดหมวดหมู่โดยพิจารณาคุณลักษณะเนือ้ หาของวัสดุน้ันๆ
เช่ น การจัดหนังสื อตามเนือ้ หาวชาของหนังสื อ เช่ น แยกเป็ น คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย เป็ นต้ น
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบจัดหมู่หนังสื อห้ องสมุด
 ห้ องสมุดจัดเก็บหนังสื อไว้ บนชั้นโดยจัดเรียงตามเลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
 หนังสื อแต่ ละเล่ มจะมีเลขเรียกทีไ่ ม่ ซ้ากัน ผู้ใช้ ต้องค้ นจากบัตรรายการ หรือ
ฐานข้ อมูล OPAC แล้วจดเลขเรียกหนังสื อ เพือ่ นามาหยิบตัวเล่มที่ช้ั นเก็บหนังสื อ
 ระบบจัดหมวดหมู่หนังสื อทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมใช่ อย่ างแพร่ หลายทัว่ โลกมีหลายระบบ
แต่ ทนี่ ิยมใช้ ในประเทศไทย คือ
- ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
- ระบบห้ องสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification System)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 ระบบทศนิยมของดิวอี้ เรียกย่อๆ ว่ า D.C หรือ D.D.C เป็ นระบบการจัดหมวดหมู่
หนังสื อในห้ องสมุดทีน่ ิยมระบบหนึ่ง คิดค้ นขึน้
โดยชาวอเมริกนั ชื่อ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey)
ในขณะทีเ่ ขากาลังเป็ นผู้ช่วยบรรณารักษ์ อยู่ทวี่ ทิ ยาลัย
แอมเฮอร์ ส (Amherst College) รัฐแมสซาชู เซตต์
ประเทศสหรัฐอเมริกา
 การจัดหมวดหมู่หนังสื อตามระบบทศนิยมของดิวอี้
แบ่ งหนังสื อออกเป็ นหมวดหมู่ต่างๆ จากหมวดหมู่ใหญ่
ไปหาหมวดหมู่ย่อย ต่ างๆ
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 ระบบทศนิยมของดิวอี้ มีการแบ่ งหมวดหมู่หนังสื อเป็ นหมวดใหญ่ 10 หมวดใหญ่
(Classes) และจากหมวดใหญ่ แต่ ละหมวดแบ่ งย่อยลงไปอีก 10 หมวดย่อย (Division)
และแต่ ละหมู่กแ็ บ่ งย่ อยลงไปอีก 10 หมู่ย่อย (Section) และย่อยลงไปอีกเรื่อยๆ ทาให้
เข้ าใจและจาง่ าย ไม่ สับสน
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 การแบ่ งหมวดหมู่ระดับที่ 1 มีการแบ่ งหมวดหมู่หนังสื อเป็ นหมวดใหญ่ 10 หมวดใหญ่ ได้ แก่
000 เบ็ตเตล็ด (Generalities)
100 ปรัชญา (Philosophy)
200 ศาสนา (Religion)
300 สั งคมศาสตร์ (Social sciences)
400 ภาษาศาสตร์ (Language)
500 วิทยาศาสตร์ (Science)
600 วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี (Technology)
700 ศิลปกรรมและการบันเทิง (Arts and recreation)
800 วรรณคดี (Literature)
900 ประวัติศาสตร์ และภูมศิ าสตร์ (History and geography)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 การแบ่ งหมวดหมู่ระดับที่ 2 มีการแบ่ งออกเป็ นอีก 10 หมวดย่ อย โดยใช้ ตัวเลขหลักสิ บเป็ นตัวบ่ งชี้
รวมเป็ น 100 หมวดย่ อย เช่ น หมวด 000 เบ็ดเตล็ด สามารถแบ่ งหมวดย่ อยได้ อกี 10 หมวด ได้ แก่
000 วิทยาการคอมพิวเตอร์ และความรู้ ทั่วไป
010 บรรณานุกรม แคตตาล็อก
020 บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์
030 หนังสื อรวบรวมความรู้ ทั่วไป สารานุกรม
040 ยังไม่ กาหนดใช้
050 สิ่ งพิมพ์ ต่อเนื่อง วารสาร และดรรชนี
060 องค์ การและพิพธิ ภัณฑวิทยา
070 สื่ อใหม่ วารสารศาสตร์ การพิมพ์
080 ชุมนุมนิพนธ์
090 ต้ นฉบับตัวเขียน หนังสื อหายาก
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 หมู่ย่อย (Section) หรือการแบ่ งครั้งที่ 3 คือการแบ่ งหมวดย่ อยแต่ ละหมวดออกเป็ น 10 หมู่ย่อย
รวมเป็ น 1,000 หมู่ย่อย โดยใช้ เลขหลักหน่ วยแทนสาขาวิชา
 ตัวอย่ างหมวดย่ อย 010 บรรณานุกรม แคตตาล็อก แบ่ งออกเป็ นหมู่ย่อยดังนี้
011
บรรณานุกรมชนิดต่ างๆ
012
บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกของเฉพาะบุคคล
013
บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกของงานของผู้แต่ งประเภทต่ างๆ
014
บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกของงานทีไ่ ม่ ปรากฏผู้แต่ งหรือผู้แต่ งใช้ นามแฝง
015
บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกของงานทีม่ าจากทีเ่ ฉพาะแห่ ง
016
บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกของงานทีม่ เี นือ้ หาเฉพาะ
017
แค็ตตาล็อคทัว่ ไป
018
แค็ตตาล็อคทีจ่ ัดเรียงโดยชื่อผู้แต่ ง รายการหลัก ปี ทีพ่ มิ พ์ หรือเลขทะเบียน
019
แค็ตตาล็อคทีจ่ ัดเรียงตามแบบพจนานุกรม
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 จุดทศนิยม หรือการแบ่ งครั้งที่ 4 จากการแบ่ งเป็ นหมู่ย่อยหรือการแบ่ งครั้งที่ 3 ยังสามารถ
แบ่ งให้ ละเอียดออกไปได้ โดยใช้ จุดทศนิยม เพียงระบุเนือ้ หาวิชาเฉพาะเจาะจง
ตัวอย่ างหมู่ย่อย 011 บรรณานุกรมชนิดต่ างๆ แบ่ งออกเป็ นจุดทศนิยมดังนี้
011 บรรณานุกรมชนิดต่ างๆ
011.1
บรรณานุกรมสากล
011.2
บรรณานุกรมทัว่ ไปของงานทีพ่ มิ พ์สาขาต่ างๆ
011.3
บรรณานุกรมทัว่ ไปของงานทีพ่ มิ พ์เป็ นแบบต่ างๆ
011.4
บรรณานุกรมทัว่ ไปทีเ่ น้ นลักษณะเฉพาะมาตรฐานมากกว่ ารู ปแบบ
011.5
บรรณานุกรมทัว่ ไปของงานทีอ่ อกโดยสานักพิมพ์ ชนิดต่ างๆ
011.6
บรรณานุกรมทัว่ ไปของงานทีท่ าสาหรับผู้ใช้ หรือห้ องสมุดประเภทต่ างๆ
011.7
บรรณานุกรมทัว่ ไปของงานทีม่ เี นือ้ หาเฉพาะชนิด
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 ตัวอย่ างการแบ่ งหนังสื อในหมวด 300 สั งคมศาสตร์
หมวดใหญ่ 300 สั งคมศาสตร์
หมวดย่ อย
หมวดย่ อย
หมวดย่ อย
หมวดย่ อย
หมู่ย่อย
301
302
310
320
สังคมวิทยา
การกระทาระหว่างกันทางสังคม
การรวบรวมสถิตทิ ั่วไป
รัฐศาสตร์
321
ระบบของรัฐบาลและรัฐ
322
ความสัมพันธ์ ของรัฐต่ อกลุ่มองค์กรและสมาชิกกลุ่ม
องค์กร
แบ่ งเนือ้ หาย่ อยเป็ นทศนิยม
322.1
ความสัมพันธ์ ของรัฐกับองค์กร
ทางศาสนา เช่ นวัด
322.2
ความสัมพันธ์ ของรัฐกับขบวนการ
แรงงาน
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System)
 ข้ อบกพร่ องของระบบการจัดหมู่หนังสื อระบบทศนิยมของดิวอี้
1. มีหมวดใหญ่ เพียง 10 หมวด ขยายไม่ ได้
2. การแบ่ งหมวดหมู่หนังสื อเกีย่ วกับประเทศในทวีปเอเชียไม่ ละเอียด
เท่ าทีค่ วร เช่ น เลขประวัตศิ าสตร์ ไทยกาหนดเลขหมู่ไว้ เพียงเลขเดียว ทาให้ ต้องใช้
เลขหมู่ซ้ากันมาก หาหนังสื อเล่ มทีต่ ้ องการได้ ยาก
3. การพิมพ์ ตารางเลขหมู่ใหม่ แต่ ละครั้งมักมีการเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ
ทาให้ เกิดปัญหาเลขหมู่ของหนังสื อทีไ่ ด้ จัดไว้ อยู่ก่อนแล้ ว
4. เลขหมู่ใหม่ ๆ มักค่ อนข้ างยาว แบ่ งละเอียด ทาให้ มตี วั เลขจุดทศนิยม
จานวนมาก
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั การจัดหมู่หนังสื อระบบ
หอสมุดรัฐสภาอเมริกนั นีเ้ รียกย่ อ ๆ ว่ าระบบ L.C ผู้คดิ คือ
ดร.เฮอร์ เบิร์ต พุทนัม (Herbert Putnum) คิดขึน้ ในปี
ค.ศ. 1899 ขณะทีท่ าหน้ าทีเ่ ป็ นบรรณารักษ์ หอสมุด
รัฐสภาอเมริกนั ซึ่งปัจจุบันเป็ นห้ องสมุดทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ด
ในโลก ตั้งอยู่ ณ กรุ งวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั การจัดแบ่ งหมวดหมู่หนังสื อมิได้ องิ หลักปรัชญา
ใด ๆ มิได้ เรียงลาดับวิทยาการ แต่ กาหนดหมวดหมู่ตามหนังสื อสาขาต่ าง ๆ ทีม่ อี ยู่
ในหอสมุดแห่ งนั้น โดยแบ่ งเป็ น 20 หมวดใหญ่ ใช้ อกั ษรโรมันตัวพิมพ์ ใหญ่ A – Z
ยกเว้ น I Q W X Y ผสมกับตัวเลขอารบิค ตั้งแต่ เลข 1-9999 และอาจเพิม่ จุทศนิยม
กับตัวเลขได้ อกี หมวดใหญ่
ทั้ง 20 หมวด
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 การแบ่ งหมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบ่ งครั้งที่ 1 แบ่ งออกเป็ น 20 หมวด
โดยใช้ ตัวอักษร A – Z เป็ นสั ญลักษณ์ แทนเนือ้ หาของหนังสื อ
 หมวด ประเภทเนือ้ หาหนังสื อ
A
B
C
D
E-F
G
ความรู้ ทั่วไป (General Work)
ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion)
ศาสตร์ ที่เกีย่ วข้ องกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary Sciences History)
ประวัติศาสตร์ ทั่วไปประวัติศาสตร์ โลกเก่ า (History : General Old Word)
ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America)
ภูมิศาสตร์ ทั่วไป โบราณคดี นันทนาการ (Geography, Antropology, Recreation)
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
1
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 หมวด ประเภทเนือ้ หาหนังสื อ (ต่ อ)
H
J
K
L
M
N
P
Q
R
สั งคมศาสตร์ (Social Sciences)
รัฐศาสตร์ (Political Science)
กฎหมาย (Law)
การศึกษา (Education)
ดนตรี (Music and Books on Music)
ศิลปกรรม (Fine Arts)
ภาษาและวรรณคดี
(Philology and Literatures)
วิทยาศาสตร์ (Science)
แพทยศาสตร์ (Medicine)
S
T
U
V
Z
เกษตรศาสตร์ (Agriculture)
เทคโนโลยี (Technology)
ยุทธศาสตร์ (Military Science)
นาวิกศาสตร์ (Naval Science)
บรรณารักษ์ ศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์
(Bibliography, Library Science)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 การแบ่ ง หมวดย่อย (Division) หรือการแบ่ งครั้งที่ 2 โดยใช้ ตัวอักษรโรมันสองตัวเป็ น
สั ญลักษณ์ แทนเนือ้ หาหนังสื อ ยกเว้ น หมวด E-F และหมวด Z จะใช้ อกั ษรตัวเดียวผสมกับตัวเลข
ส่ วนหมวด K และ D จะใช้ อกั ษร 3 ตัว ซึ่งแต่ ละหมวดจะแบ่ งได้ มากน้ อยต่ างกัน
ตัวอย่ าง การแบ่ งหนังสื อในหมวด T จะแบ่ งได้ 16 หมวดย่ อย
TA
TC
TD
TE
TF
TG
TH
TJ
วิศวกรรมศาสตร์ ทั่วไป วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมศาสตร์
เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมสุ ขาภิบาล
วิศวกรรมทางหลวง ถนน และผิวการจราจร
วิศวกรรมรถไฟ และการปฏิบัตกิ าร
วิศวกรรมสะพาน
การก่อสร้ างอาอาคาร
วิศวกรรมเครื่องกลและเครื่องจักร
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 ตัวอย่ าง การแบ่ งหนังสื อในหมวด T จะแบ่ งได้ 16 หมวดย่ อย (ต่ อ)
TK
TL
TN
TP
TR
TS
TT
TX
วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมนิวเคลียร์
ยานพาหนะ การบิน ยานอวกาศ
วิศวกรรมเหมืองแร่ โลหะการ
เคมีเทคนิค
การถ่ ายภาพ
การผลิต โรงงาน
หัตถกรรม
คหกรรมศาสตร์
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 การแบ่ งหมู่ย่อย (Section) หรือการแบ่ งครั้งที่ 3 โดยการใช้ ตัวเลขอารบิค
ตั้งแต่ 1 – 9999 ดังตัวอย่าง
PN1 วารสารสากล
PN2 วารสรอเมริกนั และอังกฤษ
PN86 ประวัตกิ ารวิจารณ์
PN101 ผู้แต่ งอเมริกนั อังกฤษ
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification)
 การแบ่ งจุดทศนิยม หรือการแบ่ งครั้งที่ 4 จากการแบ่ งเป็ นหมู่ย่อย
ยังสามารถแบ่ งให้ ละเอียดโดยการใช้ จุดคั่นและตามด้ วยอักษรและตัวเลข
เพือ่ แสดงรายละเอียดหมวดเรื่อง หรือรู ปแบบ หรือประเทศ เช่ น
PN6100.C7
รวมโคลงกลอนของวิทยาลัย
PN6100.H8
เรื่องขาขัน
PN6519.C5
สุ ภาษิตจีน
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การเปรียบเทียบการจัดหมวดหมู่หนังสื อ D.C และ L.C
ระบบทศนิยมของดิวอี้
1. แบ่ งออกเป็ น 10 หมวดใหญ่
2. ใช้ ตัวเลขเป็ นสั ญลักษณ์
3. เหมาะสาหรับห้ องสมุดขนาดเล็ก
และขนาดกลาง
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั
1. แบ่ งออกเป็ น 20 หมวดใหญ่
2. ใช้ ตัวอักษรผสมกับตัวเลข
เป็ นสั ญลักษณ์
3. เหมาะกับห้ องสมุดขนาดใหญ่
และห้ องสมุดเฉพาะ
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
1. สั ญลักษณ์ ทอี่ ยู่บนเลขเรียกหนังสื อ ใช้ จัดหนังสื อทีม่ กี ารจัดพิมพ์พเิ ศษ
และต้ องการแยกเป็ นสั ดส่ วนต่ างหาก ได้ แก่
สั ญลักษณ์
ย่อมาจาก
หมวดหมู่
น
นวนิยาย
นวนิยายภาษาไทย
F
Fiction
นวนิยายภาษาต่ างประเทศ
ร.ส
เรื่องสั้ น
รวมเรื่องสั้ นภาษาไทย
ย
เด็กและเยาวชน หนังสื อสาหรับเด็กและเยาวชนภาษาไทย
J
Juvenile
หนังสื อสาหรับเด็กและเยาวชนภาษาต่ างประเทศ
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
1. สั ญลักษณ์ ทอี่ ยู่บนเลขเรียกหนังสื อ ใช้ จัดหนังสื อทีม่ กี ารจัดพิมพ์พเิ ศษ
และต้ องการแยกเป็ นสั ดส่ วนต่ างหาก (ต่ อ)
สั ญลักษณ์
หมวดหมู่
ประเภทหนังสื อ
อ
อ้างอิง
หนังสื ออ้างอิงภาษาไทย
R หรือ Ref Reference book
หนังสื ออ้างอิงภาษาต่ างประเทศ
ค
คู่มอื
หนังสื อคู่มอื
บ
แบบเรียน
หนังสื อแบบเรียน
สร
สิ่ งพิมพ์รัฐบาล
สิ่ งพิมพ์รัฐบาล
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
1. สั ญลักษณ์ ทอี่ ยู่บนเลขเรียกหนังสื อ ใช้ จัดหนังสื อทีม่ กี ารจัดพิมพ์พเิ ศษ
และต้ องการแยกเป็ นสั ดส่ วนต่ างหาก (ต่ อ)
สั ญลักษณ์ ดงั กล่ าวระบุไว้ เหนือเลขเรียกหนังสื อ เช่ น
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
ตัวอย่าง หนังสื อนวนิยาย ภาษาไทย
(เลขเรียกหนังสื อของนวนิยายเรื่อง ผู้ชนะสิ บทิศ โดยยาขอบ (นามแฝง)
ช คือ อักษรย่ อของผู้แต่ ง นามจริงของยาขอบ คือ โชติ แพร่ พนั ธุ์
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
ตัวอย่าง หนังสื อนวนิยาย ต่ างประเทศ
(เลขเรียกหนังสื อของนวนิยายภาษาต่ างประเทศเรื่อง The Good Earth
ของ Pearl S. Buck)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
ตัวอย่าง หนังสื อรวมเรื่องสั้ น ภาษาไทยใช้ ร.ส. ย่อมาจากคาว่ า รวมเรื่องสั้ น
(เลขเรียกหนังสื อของหนังสื อรวมเรื่องสั้ นเรื่อง กว่ าจะเป็ นความรัก
ผู้แต่ งคือ สิ ริมา อภิจาริน)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
ตัวอย่าง หนังสื อรวมเรื่องสั้ น ภาษาต่ างประเทศใช้ S.C. ย่อมาจากคาว่ า
Short Story Collection
(เลขเรียกหนังสื อของหนังสื อ American Short Story โดย Barry Taylor)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
ตัวอย่าง หนังสื ออ้างอิง เพิม่ สั ญลักษณ์ “อ” ถ้ าเป็ นหนังสื ออ้ างอิงภาษาไทย
หนังสื ออ้างอิงภาษาต่ างประเทศ เพิม่ สั ญลักษณ์ “R” หรือ “Ref”
(เลขเรียกหนังสื อของหนังสื อชื่อ 100 รอยอดีต โดยสมบัติ พลายน้ อย)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
ตัวอย่าง หนังสื ออ้างอิงภาษาต่ างประเทศ เพิม่ สั ญลักษณ์ “R” หรือ “Ref”
(เลขเรียกหนังสื อของหนังสื อชื่อ Cancer, diet, and nutrition
แต่ งโดย peter Greenwall)
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
2. อักษรย่อ ล. (เล่มที)่ สาหรับหนังสื อภาษาไทย และ v. (volume) สาหรับ
หนังสื อภาษาต่ างประเทศ ใช้ ในกรณีหนังสื อหลายเล่ มในชุ ดเดียวกัน
หรือหนังสื อนั้นมีหลายเล่มจบ ใช้ เลขลาดับเล่มที่ไว้ ใต้ เลขเรียกหนังสื อ เช่ น
1
ระบบจัดหมู่หนังสื อ
การกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเลขหมู่หนังสื อบางประเภท
3. อักษรย่อ ฉ. (ฉบับที)่ สาหรับหนังสื อภาษาไทย และใช้ c. (copy) สาหรับ
หนังสื อภาษาต่ างประเทศ ใช้ ในกรณีหนังสื อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่ งคนเดียวกัน
ซ้ากันหลายเล่ม ใช้ เลขลาดับฉบับที่ไว้ ใต้ เลขเรียกหนังสื อ
จะใช้ ต้งั แต่ ฉ.2 หรือ c.2 ขึน้ ไปเท่ านั้น เช่ น
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
เลขเรียกหนังสื อ (Call number) คือ สั ญลักษณ์ ทหี่ ้ องสมุดกาหนดขึน้
สาหรับหนังสื อแต่ ละเล่มโดยเฉพาะ ซึ่งจะไม่ ซ้ากัน เพือ่ บอกตาแหน่ งที่อยู่
ของหนังสื อเล่ มนั้นในห้ องสมุด ทาให้ สะดวกในการจัดเก็บหนังสื อขึน้ ชั้น
และสะดวกในการค้ นหา เลขเรียกหนังสื อจะปรากฏอยู่ทสี่ ั นหนังสื อแต่ ละเล่ม
และปรากฏทีผ่ ลการสื บค้ นเมื่อใช้ ฐานข้ อมูลหนังสื อของห้ องสมุด
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
เลขเรียกหนังสื อ (Call number) ประกอบด้ วย
 เลขหมู่หนังสื อ
 เลขผู้แต่ ง คืออักษรแรกของชื่อผู้แต่ ง เลขลาดับ และตัวอักษรแรก
ของชื่อเรื่อง
 สั ญลักษณ์ พเิ ศษอืน่ ๆ
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
เลขเรียกหนังสื อ (Call number) ประกอบด้ วย
 เลขหมู่หนังสื อ
 เลขผู้แต่ ง คือ อักษรแรกของชื่อผ้ แู ต่ ง เลขลาดับ และตัวอักษรแรก
ของชื่อเรื่อง
 สั ญลักษณ์ พเิ ศษอืน่ ๆ
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
เลขผู้แต่ ง สาหรับเลขผู้แต่ งภาษาไทย ใช้ ตารางกาหนดเลขผู้แต่ งภาษาไทย สาหรับ
การกาหนดเลขผู้แต่ ง และเลขของชื่อหนังสื อโดยมีวธิ ีใช้ ประกอบกับตารางดังนี้
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
วิธีใช้ กาหนดเลขผู้แต่ ง ตั้งพยัญชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่ งไว้ ก่อน จึงพิจารณา
ลาดับทีส่ องว่ าเป็ นรู ปพยัญชนะ หรือรู ปสระใด เกาะติดพยัญชนะตัวแรกนั้น
อยู่ในช่ องการใช้ เลขใดของตาราง (สามารถใช้ กบั ชื่อหนังสื อได้ ด้วย) เช่ น
2
เลขเรียกหนังสื อ
เลขเรียกหนังสื อ (Call Number)
วิธีใช้ กาหนดเลขผู้แต่ ง เช่ น หนังสื อ
ชื่อ การทารายการค้ นหนังสื อ
แต่ งโดย รองศาตราจารย์ รัถพร ซังธาดา
มีเลขผู้แต่ ง คือ
ร63ก
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงหนังสื อบนชั้น
หนังสื อทีไ่ ด้ รับการจัดหมวดหมู่แล้ ว จะต้ องนามาเขียนเลขเรียก
หนังสื อไว้ ทสี่ ั นของหนังสื อ หรือด้ านหน้ าของปกหนังสื อเพื่อสะดวกแก่ การ
เก็บหนังสื อเรียงขึน้ ชั้น
ศูนย์ วทิ ยบริการจัดเรียงตามเลขหมู่หนังสื อ โดยเรียงลาดับ
จากเลขหมู่น้อยไปหามาก จากซ้ ายมือ ไปขวามือ เลขหมู่ทเี่ หมือนกัน
จะเรียงลาดับตามอักษรย่ อชื่อผู้แต่ ง หากชื่อผู้แต่ งซ้ากันจะเรียงลาดับตาม
อักษรย่อของชื่อเรื่อง เรียงจากชั้นบนลงมาชั้นล่ างของชั้นหนังสื อ หากเลข
เรียกหนังสื อซ้ากัน จะเรียงลาดับปี พิมพ์
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงหนังสื อบนชั้น
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
1. ห้ องสมุดเรียงหนังสื อจากเลขหมู่น้อยไปหาเลขหมู่มาก เรียงจากซ้ าย
ไปขวาเหมือนเข็มนาฬิ กาเริ่มตั้งแต่ ช้ันบนสุ ดแล้ วถัดลงมาตามลาดับจนถึง
ชั้นล่ างสุ ด เช่ น
025
030
080
100
150
พ213ก
ธ523จ
ข411ร
ก151ง
น362อ
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
2. หนังสื อทีม่ เี ลขหมู่เหมือนกัน ให้ เรียงตามลาดับอักษรย่ อของชื่อผู้แต่ ง เช่ น
370
370
370
370
370
ก215น
ค327ก
จ561ต
ณ171ม
ด423ช
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
3. หนังสื อทีม่ เี ลขหมู่เหมือนกัน ผู้แต่ งมีอกั ษรย่ อเหมือนกันให้ เรียงตามลาดับเลข
ของผู้แต่ ง เช่ น
510
510
510
510
510
ก282ก
ก291น
ก316พ
ก347ล
ก417บ
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
4. หนังสื อเลขหมู่เดียวกันอักษรตัวแรกของผู้แต่ งและเลขประจาตัวผู้แต่ ง
เหมือนกันให้ เรียงตามลาดับอักษรของชื่อหนังสื อ เช่ น
770
770
770
770
770
น521ข
น521จ
น521ด
น521บ
น521ล
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
5. หนังสื อเลขหมู่มจี ุดทศนิยม ให้ เรียงตามรู ปไม่ เรียงตามจานวนนับ เช่ น
371.1
371.2
371.3
371.32
371.4
ก16ม
จ217ม
บ327ร
ว631ต
ว735ร
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
6. หนังสื ออ้ างอิงหรือหนังสื ออุเทศห้ องสมุดจัดแยกไว้ ต่างหากอาจแยกชั้น
หรือแยกห้ องไว้ โดยเฉพาะเพราะหนังสื ออ้ างอิงไม่ อนุญาตให้ ยมื ออกจากห้ องสมุด
จะมีตวั อักษร “อ” หรือ “R” หรือ “Ref” อยู่เหนือเลขเรียกหนังสื อ จัด
เรียงลาดับเช่ นเดียวกับหนังสื อทั่วไป
อ
อ
อ
อ
อ
423
433
443
451
495.93
น315จ
ว451ป
อ368ร
ม246ง
ท412น
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
7. หนังสื อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่ งคนเดียวกัน เล่ มเดียวจบ ห้ องสมุดซื้อมาซ้ากัน
หลายเล่มจะเรียงตามฉบับ ซึ่งใช้ อกั ษรย่อ “ฉ” หรือ “C”
150
150
150
150
150
ส265จ
ส265จ
ส265จ
ส265จ
ส265จ
ฉ.1
ฉ.2
ฉ.3
ฉ.4
ฉ.5
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
8. หนังสื อเรื่องเดียวกันผู้แต่ งคนเดียวกันมีหลายเล่ มจบ (เช่ นหนังสื อชุ ด) ให้ เรียง
ตามลาดับเล่ม ซึ่งใช้ อกั ษรย่อ “ล” หรือ “V”
959.3
959.3
959.3
959.3
959.3
ว45ป
ว45ป
ว45ป
ว45ป
ว45ป
ล.1
ล.2
ล.3
ล.4
ล.5
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
9. หนังสื อทีผ่ ้ แู ต่ งคนเดียวกัน ชื่อเรื่องเดียวกันแต่ มกี ารพิมพ์หลายครั้ง แต่ ละครั้ง
มีการแก้ ไขเพิม่ เติม และทีเ่ ลขเรียกหนังสื อจะระบุปีทีพ่ มิ พ์ ให้ เรียงหนังสื อที่พมิ พ์
ใหม่ ไว้ ก่อนปี เก่า เช่ น
025
025
025
025
025
ส43ก
ส43ก
ส43ก
ส768ท
ส768ท
2538
2535
2533
2537
2536
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
หลักการเรียงหนังสื อบนชั้น
10. หนังสื อนวนิยายและรวมเรื่องสั้ นให้ เรียงลาดับตามอักษรย่อของชื่อผู้แต่ ง เช่ น
น
น
น
น
น
ก15บ
น211ส
ผ356ว
ภ425ง
ส326ล
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงวารสาร
การจัดเก็บวารสาร ห้ องสมุดส่ วนใหญ่ มกั แยกวารสารเป็ นฉบับปัจจุบนั และฉบับ
ล่ วงเวลา โดยฉบับ ปัจจุบนั จะจัดเรียงไว้ บนชั้นวางวารสารโดยเฉพาะ โดยแยกวารสารภาษาไทย
และภาษาต่ างประเทศออกจากกัน แล้ วจัดเรียงขึน้ ชั้นตามลาดับอักษรของชื่อวารสาร โดยเรียง
จากซ้ ายไปขวา จากชั้นบนลงล่ างเช่ นเดียวกับการจัดชั้นหนังสื อ
ส่ วนการจัดเก็บวารสารฉบับล่ วงเวลา
ทีเ่ ป็ นวารสารวิชาการเมือ่ เก็บครบปี
ทางห้ องสมุดส่ วนใหญ่ จะจัดการ
เย็บรวมเล่ มไว้ และจัดทาดรรชนี
ไว้ เป็ นเครื่องมือช่ วยค้ นหาบทความ
ทีต่ ้ องการ
3
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงหนังสื อพิมพ์
การจัดเก็บหนังสื อพิมพ์ หนังสื อพิมพ์เหล่ านีถ้ ้ าเป็ นฉบับใหม่ ในวันนั้น ๆ จะจัดเก็บโดยการ
แขวนบนทีว่ างหนังสื อพิมพ์ในมุมอ่ านหนังสื อพิมพ์ ผู้อ่านหยิบอ่ านได้ โดยเสรี แต่ เมือ่ มี
หนังสื อพิมพ์ ฉบับใหม่ ในวันถัดมา ห้ องสมุดบางแห่ งจะนาหนังสื อพิมพ์ ฉบับเก่ าไปเก็บไว้
ในทีเ่ ก็บ หนังสื อพิมพ์ฉบับล่ วงเวลา โดยเรียงลาดับตาม
อักษรของชื่อหนังสื อพิมพ์ โดยแต่ ละชื่อก็จะเรียงตาม
ลาดับวันที่ เดือน ปี เมือ่ ครบเดือน หรือ 2 เดือน
ถ้ ามีเนือ้ ทีเ่ ก็บจากัดก็จะจาหน่ ายออก ทั้งนีแ้ ล้ วแต่
นโยบายของห้ องสมุดแต่ ละแห่ ง
3 การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงจุลสารและกฤตภาค
การจัดเก็บจุลสาร ห้ องสมุดมักจะไม่ กาหนดเลขหมู่ระบบใด ๆ สาหรับจุลสาร
แต่ จะกาหนดหัวเรื่องตามเนือ้ หาของจุลสารนั้น ๆ แล้ วนาไปเก็บไว้ ในแฟ้ ม ๆ ละหนึ่งหัวเรื่อง
โดยถ้ าเป็ นหัวเรื่องเดียวกัน
จะเก็บไว้ ในแฟ้ มเดียวกัน แฟ้ มจุลสาร
เหล่ านี้ จะนาไปแขวนเรียงไว้ ในชั้นเหล็ก
สี่ ลนิ้ ชัก เรียงตามลาดับตัวอักษรของ
หัวเรื่อง เพือ่ ให้ ค้นหาง่ ายและสะดวก
ในการจัดเก็บเข้ าที่
3 การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงจุลสารและกฤตภาค
การจัดเก็บกฤตภาพ เป็ น บทความ เรื่องราว หรือข่ าวต่ าง ๆ ทีน่ ่ าสนใจ ซึ่งตัดออกมาจาก
หนังสื อพิมพ์หรือวารสาร ส่ วนทีต่ ัดออกมาดังกล่ าวนามาผนึกบนกระดาษขนาด A5 แล้ วเขียน
บอกแหล่ งทีม่ าของบทความ หรือข่ าวนั้น ๆ ทีท่ ้ ายกระดาษ และกาหนดหัวเรื่องตามเนือ้ หา
เขียนหัวเรื่อง ไว้ ทหี่ ัวกระดาษ และนามาเก็บเข้ าแฟ้ ม ๆ ละ 1 หัวเรื่อง แล้ วจึงนาแฟ้ มเหล่ านั้น
มาจัดเก็บในตู้เหล็กขนาดสี่ ลนิ้ ชัก โดยเรียงตามลาดับอักษรของหัวเรื่องเช่ นเดียวกับแฟ้ มจุลสาร
ปัจจุบนั การจัดเก็บกฤตภาคด้ วยวิธีนี้ สิ้นเปลืองเนือ้ ทีใ่ นการเก็บ จึงมีห้องสมุดจานวนไม่ น้อย
นิยมเก็บกฤตภาคลงในเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ทเี่ รียกว่ า เครื่องจัดเก็บเอกสาร (Canofile)
ซึ่งเครื่องจัดเก็บเอกสารดังกล่ าวนีจ้ ะถ่ ายเอกสารต้ นฉบับจากกฤตภาคลงในส่ วนที่ใช้ เก็บ
ในเครื่อง และเมือ่ ต้ องการจะค้ นคืนก็สามารถกดปุ่ มสั่ งให้ มาปรากฎข้ อความทีห่ น้ าจอ
3 การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศไม่ ตีพมิ พ์
สื่ อโสตทัศนวัสดุและสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ นิยมจัดหมวดหมู่เช่ นเดียวกับการจัดหมู่หนังสื อ
และกาหนดอักษรย่ อ เป็ นสั ญลักษณ์ แทนประเภทของวัสดุต่าง ๆ และใช้ สัญลักษณ์ นี้
ประกอบกับเลขหนังสื อ หรืออาจจะกาหนดสั ญลักษณ์ แทนเนือ้ หา และใช้ สัญลักษณ์
ประกอบกับเลขทะเบียนของวัสดุน้ัน ๆ แทนเลขเรียกหนังสื อ สาหรับการจัดเก็บ
แยกตามประเภทของวัสดุน้ัน ๆ จากนั้นเรียงวัสดุแต่ ละประเภทตามสั ญลักษณ์ ทกี่ าหนด
ตัวอย่ าง การจัดเรียงสื่ อโสตทัศนวัสดุ ประเภท วีดทิ ศั น์ ทใี่ ช้ สั ญลักษณ์ VC แทนเนือ้ หา
ประกอบกับเลขเรียกหนังสื อ