การวิเคราะห์หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ

Download Report

Transcript การวิเคราะห์หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ

โดย
นางสาวซูฮยั ลาร์ อาม๊ะ
ตาแหน่ง บรรณารักษ์
งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
การวิเคราะห์ หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ
 ความหมาย
 ความสาคัญ
 วัตถุประสงค์
 การวิเคราะห์สารสนเทศตามรูปลักษณ์ และตามเนื้ อหา
 การจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ
 วิธีการจัดทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้ระบบทศนิยมดิวอี้
 การใช้ตวั อักษรแทนเลขหมู่
ความหมายการวิเคราะห์ สารสนเทศ
การวิเคราะห์ สารสนเทศ หมายถึง การพิจารณาแยกแยะเนื้อหา ข้อมูล
ข่าวสารต่างๆออกเป็ นส่ วนๆที่ปรากฏในสารสนเทศ เพือ่ กาหนดกลุ่มคาหรื อ
ศัพท์ซ่ ึงใช้เป็ นตัวแทนของสารสนเทศนั้น
กระบวนการวิเคราะห์เนื้อหา วัสดุหอ้ งสมุดให้ได้ประเด็นว่ามีเนื้อหาเจาะจง
อะไร จากนั้นใช้หนังสื อระบบจัดหมู่ เลือกสรรตัวเลข หรื อสัญลักษณ์ที่ตรง
กับเนื้อหาของวัสดุหอ้ งสมุดแทนวัสดุหอ้ งสมุดนั้นๆ ดังนั้น ตัวเลขหรื อ
สัญลักษณ์ที่ได้คือ ตัวแทนเนื้อหาของวัสดุหอ้ งสมุดในการพิจารณากาหนด
สัญลักษณ์ให้ตรงกับเนื้อหาของวัสดุหอ้ งสมุด
ตามคู่มือแผนการจัดหมู่
สัญลักษณ์ที่ได้คือ ตัวแทนของหนังสื อ
ความสาคัญของการวิเคราะห์สารสนเทศ
 ด้านการจัดทาเครือ่ งมือช่วยค้น ช่วยให้มกี ารจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศทีไ่ ด้
จัดหาเข้ามาในห้องสมุด
 ด้านการจัดเก็บ ทาให้ทรัพยากรสารสนเทศได้รบั การจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ
ระเบียบเรียบร้อย
 ด้านการสืบค้น ช่วยตอบสนองความต้องการสารสนเทศของผูใ้ ช้ซง่ึ สามารถ
สืบค้นได้งา่ ยขึน้ รวดเร็วขึน้
 ด้านการควบคุมทางบรรณานุ กรม เป็ นการจัดระบบและจัดเรียงสารสนเทศตาม
มาตรฐานสากล ทาให้ผใู้ ช้สามารถระบุและสืบค้นสารสนเทศทีต่ อ้ งการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ ของการจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ
1. เพือ่ ให้หนังสือทีม่ เี นื้อหาคล้ายกันอยูด่ ว้ ยกัน
2. เพือ่ ความสะดวกในการค้นหาหนังสือของผูใ้ ช้
3. เพือ่ ความสะดวกในการปฏิบตั งิ านของบรรณารักษ์
การวิเคราะห์ สารสนเทศตามรูปลักษณ์ และตามเนือ้ หา
 การวิเคราะห์สารสนเทศตามรูปลักษณ์
การวิเคราะห์สารสนเทศตามรูปลักษณ์ของวัสดุสารสนเทศเป็ นการวิเคราะห์ตาม
ลักษณะทางกายภาพ การวิเคราะห์ตามประเภทสือ่ สามารถจาแนกได้ 3 ประเภทใหญ่
คือ
1.สือ่ สิง่ พิมพ์
-หนังสือ เช่น หนังสือทัวไป
่ ตารา หนังสืออ้างอิง นวนิยาย นิทานสาหรับเด็ก ฯลฯ
-สิง่ พิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสารวิชาการ นิตยสาร รายงานประจาปี ฯลฯ
-สิง่ พิมพ์พเิ ศษ เช่น รายงานการวิจยั วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุมทางวิชาการ
ฯลฯ
2.สือ่ โสตทัศน์ เช่น แผ่นซีดี ดีวดี ี วีดทิ ศั น์ ภาพยนตร์ แผ่นเสียง รูปภาพ ฯลฯ
3.สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีด-ี รอม มัลติมเี ดีย ฐานข้อมูลออนไลน์ อีบุ๊คส์ ฯลฯ
การวิเคราะห์ สารสนเทศตามรูปลักษณ์ และตามเนือ้ หา (ต่ อ)
การวิเคราะห์สารสนเทศตามเนื้ อหา
การวิเคราะห์สารสนเทศตามเนื้อหา เป็ นการพิจารณาแยกแยะเนื้อหาเพื่อ
สรุปสาระสาคัญของเรือ่ ง โดยจาแนกแนวคิดทีบ่ นั ทึกในวัสดุสารสนเทศออกเป็ น
ส่วนหรือเป็ นหมวดหมูด่ ว้ ยการจัดหมู่(classification)
การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมมีหลายระบบ แต่ที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่หลาย
มี 2 ระบบ คือ
1. การจัดหมวดหมูห่ นังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification)
2. การจัดหมวดหมูห่ นังสือในระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress
Classification)
การจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ
1.แยกตามประเภทของวัสดุ (หนังสื อ, วารสาร,ฯลฯ)
2. แยกตามภาษา (ภาษาไทย, ภาษาต่ างประเทศ)
3.จัดหมวดหมู่ตามความเหมาะสมแต่ ละประเภทสื่ อ
การจัดหมู่หนังสื อการจัดหมู่หนังสื อ
การจัดหมู่หนังสื อระบบทศนิยมมีหลายระบบ แต่ที่นิยมใช้กนั อย่าง
แพร่ หลาย มี 2 ระบบ คือ
1. การจัดหมวดหมู่หนังสื อในระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification)
2. การจัดหมวดหมู่หนังสื อในระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั (Library of Congress
Classification)
ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification)
จัดหมวดหมูห่ นังสือตามระบบทศนิยมดิวอี้ หรือทีเ่ รียกกันอย่าง
สัน้ ๆ ว่า ระบบดิวอี้ หรือ ดีซี (DC) เป็ นการจัดหนังสือตาม
สาขาวิชาทีเ่ มลวิล ดิวอี้ (Melivil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกนั
ได้คดิ ค้นขึน้ มา เมือ่ ปี ค.ศ. 1876 ใช้กนั มากในห้องสมุดประชาชน
ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดขนาดค่อนข้างเล็ก ดิวอีไ้ ด้จดั
หมวดหมูว่ ชิ าการต่างๆ ออกเป็ นสิบหมูก่ ว้าง ๆ พร้อมทัง้ กาหนด
เลขหมายเป็ นสัญลักษณ์แทนวิชาแต่ละหมวด ตัง้ แต่เลข 000-900
วิธีการจัดทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้ ระบบทศนิยมดิวอี ้
คูม่ อื ประเภทต่างๆทีจ่ าเป็ นในการวิเคราะห์สารสนเทศ เพือ่ ให้ระเบียนรายการ
บรรณานุกรมและวัสดุสารสนเทศมีคุณภาพตรงตามมาตรฐานสากล ได้แก่
 คูม่ อื การลงรายการ ได้แก่ หลักเกณฑ์การลงรายการแบบ เอเอซีอาร์ทู (AACR2)
 คูม่ อื กาหนดเลขหมู่ ได้แก่
 2.1 ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification)
 คูม่ อื กาหนดหัวเรือ่ ง ได้แก่
 หัวเรือ่ งสาหรับหนังสือภาษาไทย
 บัญชีหวั เรือ่ งของเซียร์ส (Sears List of Subject Headings)
 คูม่ อื การลงรายการในรูปแบบทีเ่ ครือ่ งคอมพิวเตอร์อ่านได้ สาหรับการลงรายการ
ด้วยระบบโปรแกรมสาเร็จรูป ก็คอื มาร์ค 21 รูปแบบสาหรับข้อมูลทาง
บรรณานุกรม (MARC 21 : Format for Bibliographic Data)
การแบ่งหมวดหมู่หนังสื อครั้งที่ 1 (First Summary)
แบ่งเนื้อหาวิชา 10 หมวดใหญ่ โดยใช้เลขหลักร้อยแทนหมวดวิชา ดังนี้
 000 ความรูท้ วไป
ั ่ (Generalities)
 100 ปรัชญา (Philosophy)
 200 ศาสนา (Religion)
 300 สังคมศาสตร์ (Social Sciences)
 400 ภาษาศาสตร์ (Language)
 500 วิทยาศาสตร์ (Pure Sciences)
 600 เทคโนโลยีหรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology or Applied Science)
 700 ศิลปะและการบันเทิง (Fine Arts)
 800 วรรณคดี (Literature)
 900 ประวัตศิ าสตร์ ภูมศิ าสตร์ (History)
การแบ่งหมวดหมู่หนังสื อครั้งที่ 2
แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็ น 10 หมวดย่อย โดยใช้ตวั เลขหลักสิบแทนหมวดวิชา รวม
เป็ น 100 หมวดย่อย
ตัวอย่าง 300 สังคมศาสตร์ (Social Sciences)
310 สถิตศิ าสตร์
320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง
330 เศรษฐศาสตร์
340 กฎหมาย
350 รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ กองทัพ
360 ปญั หาสังคม การบริหารสังคม สมาคม
370 การศึกษา
380 การพาณิชย์ การสือ่ สาร การขนส่ง
390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา
การแบ่งหมวดหมู่หนังสื อครั้งที่ 3
 แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็ น 100 หมวดย่อย โดยใช้ตวั เลขหลักหน่วยแทนหมวดวิชา
รวมเป็ น 1000 หมู่ยอ่ ย ดังนี้
ตัวอย่าง 300 สังคมศาสตร์ (Social Sciences)
320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง
321 ระบบของรัฐบาลและรัฐ
322 ความสัมพันธ์ของรัฐต่อกลุ่มองค์กรและสมาชิกของกลุ่มองค์กร
323 สิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิทางการเมือง
324 กระบวนการทางการเมือง
325 การอพยพประชากรระหว่างประเทศ การล่าอาณานิคม
326 ทาสและการปลอดปล่อยทาส
327 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฯลฯ
การแบ่งครั้งที่ 4
 โดยแบ่งย่อยจุดทศนิยมในหมวดย่อยอาจแบ่งเป็ นหมู่ยอ่ ยที่เล็กลงไปได้อีก เช่น ใน
หมวด 100 เมื่อแบ่งหมวดย่อยไปถึง 180 ซึ่ งแบ่งออกไปตามสมัย และภูมิภาคแล้วก็
สามารถแบ่งเป็ นหมู่ยอ่ ยได้อีกดังนี้
 ใช้ตารางช่วยทั้ง 7 ตาราง
 ตัวอย่าง
100 ปรัชญา (Philosophy)
180 ปรัชญาตะวันออกและโบราณ
181 ปรัชญาตะวันตก
181.1 ปรัชญาตะวันออกไกล และเชียใต้
181.11 ปรัชญาจีนและเกาหลี
181.12 ปรัชญาญี่ปุ่น
181.193 ปรัชญาอินเดีย
181.2 ปรัชญาอียปิ ต์ ... ฯลฯ
การใช้ตวั อักษรแทนเลขหมู่
ทัง้ นี้เพือ่ ความสะดวกและรวดเร็วในการจัดหมวดหมูห่ นังสือบางประเภท เช่น
ส่ วนประกอบของหนังสื อคู่มือ
การจัดหมู่ระบบทศนิยมของดิวอี้
หนังสือคูม่ อื การจัดหมูร่ ะบบทศนิยมของดิวอี้ แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนทีเ่ ป็ นคานา คาชีแ้ จง และตารางช่วย (Tables) หรือตารางเลขเติม ส่วนนี้
จะเป็ นเล่ม 1 ซึง่ มักเรียกกันว่าเล่มตารางเลขช่วยหรือตารางเลขเติม ตารางชุดนี้ม ี
ด้วยกัน 7 ตาราง เลขทีอ่ ยูใ่ นตารางทัง้ 7 นี้นิยมเรียกว่า “เลขเติม” เลขเติมจะใช้ตาม
ลาพังไม่ได้ การใช้เลขเติมจะต้องนาไปใช้เติมหรือต่อเชือ่ มกับเลขฐาน ตารางทัง้ 7 มี
ดังนี้
ตารางช่วย
 1.1 ตาราง 1 เลขหมูย่ อ่ ยมาตรฐาน
 1.2 ตาราง 2 เลขภูมภิ าค
 1.3 ตาราง 3 เลขหมูย่ อ่ ยวรรณกรรม
 1.4 ตาราง 4 เลขหมูย่ อ่ ยภาษา
 1.5 ตาราง 5 เลขเชือ้ ชาติ เผ่าพันธุ์ สัญชาติ
 1.6 ตาราง 6 เลขภาษา
 1.7 ตาราง 7 เลขบุคคล
2. ส่วนทีเ่ ป็ นแผนการจัดหมูห่ รือตารางเลขหมู่ ซึง่ กาหนดเลขหมู่ตงั ้ แต่ 000-999
ว่าแต่ละเลขหมูก่ าหนดเนื้อหาอะไรหรือสิง่ ใด ส่วนนี้จะเป็ นเล่ม 2
3. ดรรชนีสมั พันธ์ ซึง่ ประกอบด้วยเรือ่ งย่อยๆจัดเรียงตามลาดับตัวอักษร และมี
เลขหมูก่ ากับเอาไว้ เพือ่ ความสะดวกของผูใ้ ช้ในการค้นหาเลขหมูข่ องเรื่องทีต่ นต้องการ
ส่วนนี้จะเป็ นเล่ม 3
การให้ เลขผู้แต่ ง
การให้เลขผูแ้ ต่ง ประกอบด้วย
พ245ด
1. อักษรตัวแรก
ของชื่อผู้แต่ ง
2. เลขประจาตัวผูแ้ ต่ง
3. อักษรตัวแรก
ของชื่อเรื่อง
ตัวอย่ างการให้ เลขผู้แต่ ง
ประโยชน์ของการจัดหมู่
1. อานวยประโยชน์ต่อการจัดเก็บ และบริ การวัสดุหอ้ งสมุด
2. เป็ นระบบที่เป็ นสากลทุกคนเข้าใจได้
3. ใช้ตรวจสอบว่ามีวสั ดุหอ้ งสมุดแต่ละสาขาเพียงพอหรื อไม่
4. เป็ นกติกากลางที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานใช้เป็ นคู่มือในการทางานร่ วมกัน
หรื อต่องานกัน
5. วัสดุหอ้ งสมุดมีสัญลักษณ์ประจาตัว
6. วัสดุหอ้ งสมุดที่มีเนื้อหาเหมือนกันจะอยูท่ ี่เดียวกัน เนื้อหาที่ใกล้เคียงกัน
จะอยูใ่ กล้กนั
7. เป็ นจุดเริ่ มต้นของงานบริ การ หลังจากจัดหาวัสดุหอ้ งสมุดมาให้บริ การ
8. ประยุกต์ใช้กบั เทคโนโลยีสารสนเทศไทย
9. ประยุกต์ใช้กบั ระบบงานอื่น ๆ ได้