การจัดฝึกอบรม

Download Report

Transcript การจัดฝึกอบรม

แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรการฝึ กอบรม
ผศ.ดร.สิ ทธิกร สุมาลี
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
ภาควิชาการศึ กษา
คณะศึ กษาศาสตร ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์
แนวคิดเกีย
่ วกับการพัฒนาหลักสูตรเพือ
่ การฝึ กอบรม
กาหนด
หัวขอวิ
้ ชา
กาหนดวิธก
ี ารวัด
และประเมินผล
กาหนด
วัตถุประสงค ์
กาหนด
หลักการ/
ทฤษฎีการเรียนรู้
กาหนด
หลักการ
และเหตุผล
วิเคราะหหา
์
ความต้อง
การจาเป็ น
กาหนดวิธ ี
การติดตามผล
เรียงลาดับ
หัวขอวิ
้ ชา/
กาหนดการ
กาหนดระยะเวลา
ของหัวขอวิ
้ ชา
และหลักสูตร
วิเคราะหงาน
์
กาหนด
วิธก
ี ารฝึ กอบรม
กาหนด
วัตถุประสงค ์
หัวขอวิ
้ ชา
การฝึ กอบรม
หมายถึง การพัฒนาบุคคลอย่างมีระเบียบแบบแผน
ให้ มีค วามรู้ ความสามารถทัก ษะหรือ ความช านาญ
ตลอดจนประสบการณ ์ และเจตคติทด
ี่ ใี ห้เหมาะสมกับ
การทางานและส่งผลโดยตรงตอการเพิ
ม
่ ประสิ ทธิภาพ
่
ในการทางานอันเป็ นเป้าหมายหลักขององคกร
์
วัตถุประสงคของการฝึ
กอบรม
์
วัตถุประสงคที
่ งให
ุ่
ความรู้
้เกิดผลตอบุ
่ คคลในองคกรมี
์ ม
์
วัตถุประสงคที
่ งให
ุ่
้เกิดผล
์ ม
ความเป็ นเลิศตอองค
กร
่
์
ประโยชนของการฝึ
กอบรม
์
การฝึ กอบรมทาให้ระบบงานดีขน
ึ้
การฝึ กอบรมทาให้ประหยัด
การฝึ กอบรมช่วยให้ยนระยะเวลาเรี
ยนรูงาน
่
้
การฝึ กอบรมช่วยให้แบงเบาภาระของผู
่
้บริหาร
ประโยชนของการฝึ
กอบรม
์
การฝึ กอบรมเป็ นการกระตุนให
้
้เกิดการพัฒนา
การฝึ กอบรมช่วยให้ขวัญของคนงานดีขน
ึ้
การฝึ กอบรมส่งเสริมให้ผู้ปฏิบต
ั งิ านทุกระดับมีเจตคติทด
ี่ ต
ี อองค
กร
่
์
การฝึ กอบรมจะช่วยให้เกิดความคลองตั
วในการทางาน
่
ประโยชนของการฝึ
กอบรม
์
การฝึ กอบรมช่วยลดอุบต
ั เิ หตุและอันตรายตางๆ
่
การฝึ กอบรมช่วยลดแรงงาน
การฝึ กอบรมเป็ นการประหยัดคาใช
มาก
่
้จายได
่
้
การฝึ กอบรมสามารถจัดไดในวั
นหยุดหรือนอกเวลางานปกติ
้
ประโยชนของการฝึ
กอบรม
์
การฝึ กอบรมช่วยให้เกิดความรัก
ความสามัคคี
การฝึ กอบรมเป็ นการสนับสนุ น
ให้บุคคลไดรั
้ บการศึ กษา
ตลอดชีพ
การฝึ กอบรมกอให
วในการ
่
้เกิดความคลองตั
่
สั บเปลีย
่ น
โยกยายต
าแหน่ง
้
ประเภทของการฝึ กอบรม
การฝึ กอบรมกอนประจ
าการ
่
(Pre-entry Training)
การฝึ กอบรมระหวางประจ
าการ
่
(In-Service Training)
การฝึ กอบรมในโครงการ
(Project Related Training)
การฝึ กอบรมเพือ
่ พัฒนาตนเอง
(Self-Development Training)
เทคนิคการฝึ กอบรม
เป็ นเสมื อ นเครื่ อ งมื อ ไปสู่ ความส าเร็ จ ถื อ ว่ ามี
ความส าคัญ เพราะถ้ าผู้ จัด การฝึ กอบรม หรื อ
วิทยากรเลือ กใช้ ได้อย่างเหมาะสม จะทาให้ผู้ เข้ า
รับการฝึ กอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ
และความสามารถหรือทักษะไดอย
ว และผู้
้ างรวดเร็
่
เข้าอบรมเกิดความประทับ นามาซึ่งการใช้บริการ
ในครัง้ ตอไป
่
เทคนิคการจัดอบรม
1. การกาหนดหลักสูตรในการจัดอบรม
2. ความรูความสามารถของวิ
ทยากร
้
3. ผู้ให้บริการในการจัดอบรม
4. การประชาสั มพันธ ์
5. การเตรียมการและดาเนินการการจัดอบรม
6. นาผลการประเมินไปพัฒนาการจัดอบรม
1. กาหนดหลักสูตรในการจัดอบรม
**ตรงกับความตองการของกลุ
มเป
้
่ ้ าหมาย/ตลาด**
**ต้องค้นหาปัญหาและความจาเป็ น**
วัตถุประสงคหลั
์ กในการฝึ กอบรม
1) การฝึ กอบรมเพือ
่ แกไขปั
ญหาทีไ่ ดเกิ
้ มาแลว
้
้ ดขึน
้
2) การฝึ กอบรมเพือ
่ ป้องกันปัญหาทีจ
่ ะเกิดขึน
้ ในอนาคต
3) การฝึ กอบรมเพือ
่ พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึน
้ ในระยะยาว
ในการก าหนดเนื้ อ หาหลัก สู ต รในการจัด
อบรม จะต้ องค านึ งถึ ง ว่ าสามารถน าไป
ปร ะ ยุ กต ์ ใ ช้ ง าน ได้ สอ ด คล้ อ ง กั บ ความ
ตองการของผู
เข
้
้ าอบรมและหน
้
่ วยงาน
In-house Training :
ต้องมีการสารวจ วิเคราะหหน
์ ่ วยงานทีเ่ ข้า
รับ การอบรมก่ อนเพื่ อ ศึ กษาลัก ษณะงาน
สภาพแวดลอม
เพือ
่ จะไดจั
้
้ ดเนื้อหาหลักสูตร
รูปแบบการจัดอบรมให้ตรงกับความต้องการ
ขององคกรอย
างแท
จริ
์
่
้ ง
Public Training :
ต้ องมี ก ารส ารวจความต้ องการของ
ลู ก ค้ าหรือ กลุ่ มเป้ าหมาย (Training
Need) เพือ
่ สรุปจัดอบรมในหลักสูต ร
ทีต
่ รงกับความตองการ
้
รู ป แ บ บ ใ น ก า ร จั ด อ บ ร ม
ค ว ร ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
หลัก สู ต รและเนื้ อ หาในการจั ด อบรม
แต่ ก็ ค วรมี
หลากหลายรูปแบบเพือ
่ รองรับความต้องการของลูกค้าที่
แตกตางกั
นไป
่
• การบรรยาย
• การบรรยาย
รวมกั
บการทา
่
Work Shop
• การศึ กษาดูงาน
• walk rally
ควรมีของรางวัลเป็ นสิ่ งกระตุน
้
2. ความรูความสามารถของวิ
ทยากร
้
วิทยากรคือนักสรางที
ย
่ ง่ิ ใหญ่
้
วิทยากร (Resource Person)
ซึ่งมี
คุณสมบัตข
ิ องครูผ้สอน
ู
ผู้ทาให้เกิดความรู้,
ผู้ฝึ ก พีเ่ ลีย
้ งและ ผู้บรรยาย……. ดังนั้น
วิทยากร จึงเป็ นผู้นานักสร้างทีย
่ ง่ิ ใหญกว
่ า่
”
วิทยากร :
ควรเป็ นผู้มีความรู้ความสามารถ
ในหลักสูตรทีจ
่ ด
ั อบรมโดยเฉพาะ
วิทยากรมืออาชีพ
ควรมีหวั ใจของ
"PROFESSIONAL" ดังนี้
P = Presentation Skill (ทักษะในการนาเสนองาน)
R = Reliability (ความน่าไววางใจ)
้
O = Oral Communication (การสื่ อสารดวยวาจา)
้
F = Friendliness (ความเป็ นมิตร)
E = Energetic (ความกระตือรือรน)
้
S = Self Confidence (ความมัน
่ ในใจตนเอง)
S = Strategic Leadership (ผู้นาเชิงกลยุทธ)์
I = Initiative (ความคิดริเริม
่ )
O = Observation (การสั งเกต)
N = Net Working (การสรางเครื
อขาย)
้
่
A = Achievement (การมุงเน
่ ้ นความสาเร็จ)
L = Listening Skill (ทักษะในการรับฟัง)
3. ผู้ให้บริการในการจัดอบรม
จิตบริการ
:
ถือ ว่าเป็ นส่ วนหนึ่ ง ที่ส าคัญ เป็ นอย่างยิ่ง ที่จ ะท าให้
การอบรมประสบความส าเร็ จ
และสร้ างความ
ประทับใจให้ผู้เขาอบรมกลั
บมาใช้บริการในครัง้ ตอไป
้
่
การมีทศ
ั นคติทถ
ี่ ก
ู ต้องตอการให
่
้บริการลูกคา้ ถือ เป็ น
หัวใจสาคัญ
ผู้ให้บริการทีด
่ ต
ี องมี
ความรูเบื
้ งต้นในหลักสูตรทีจ
่ ด
ั
้
้ อ
อบรม
ประโยชนของของการมี
จต
ิ บริการทีด
่ ี
์
• มัดใจลูกค้า
เกิดความภักดี (Loyalty) ตอสิ
่ นค้า
เกิดการซือ
้ ซา้
• ประชาสั มพันธต์ อ่
หรือทีเ่ รียกวา่ “บอกตอ”
่
• สรางภาพลั
กษณที
่ แ
ี กหน
บใจ
้
่ ่ วยงาน ไมเพี
่ ยงแตประทั
่
์ ด
ผู้ให้บริการเทานั
่ ชมไปถึงหน่วยงานของผู้
่ ้น ยังชืน
ให้บริการอีกดวย
้
• สรางรายได
และผลก
าไร
้
้
• ไดรั้ บความชืน่ ชมและความกาวหน
้
้ าในงาน
4. การประชาสั มพันธ ์
• ตองมี
การประชาสั มพันธอย
ว่ ถึง
้
่
์ างทั
โดยเฉพาะ
ควรรูว
มลู
้ ากลุ
่
่ กค้า
กลุมเป
กสูตร
่ ้ าหมายของแตละหลั
่
เป้าหมายของเราคือใคร
• ใช้เทคโนโลยีเขามาช
่ ประหยัดคาใช
E้
่ วยเพือ
่
้จาย
่
mail / แขวน Web
• ตองมี
การจัดเก็บฐานขอมู
นระบบ
้
้ ลลูกค้าอยางเป็
่
(ติดตอใคร/สะดวกให
าอบรม
่
้ติดตอทางไหน/เคยเข
่
้
หลักสูตรใดบาง)
ฉะนั้นการอบรมแตละครั
ง้ ตองมี
การ
้
่
้
เก็บขอมู
้ ลลูกค้าให้ครบถวน
้
เนื้ อ หาหลัก สู ต รที่ใ ช้ ในการประชาสั ม พัน ธ ์
จะต้ องมีเ นื้ อ หาที่อ่านแล้ วน่ าสนใจ “สามารถ
ขายตัว เองได้ ” (ความจาเป็ นในการเข้าอบรม/
ประโยชน์ทีจ
่ ะได้รับ/หัว ข้อการบรรยาย/ประวัต ิ
วิทยากรทีน
่ ่ าสนใจ/โปรโมชัน
่ )
5. การเตรียมการและดาเนินการจัดอบรม
การเตรีย มการก่อนการอบรม
ถือ ว่าเป็ นอีก ปัจ จัย
หนึ่ งที่ จ ะเป็ นจุ ด เริ่ ม ต้ นให้ การอบรมเป็ นไปอย่ าง
ราบรืน
่ และตรงตามเป้าหมายทีว่ างไว้
ซึ่งในขัน
้ ตอนนี้
ถือเป็ นขัน
้ ตอนของการทางานทีม
่ ี
รายละเอียดปลีกยอยมากมาย
ไมว
นการจอง
่
่ าจะเป็
่
ห้ องประชุ ม
อาหาร
เอกสารประกอบการ
บรรยาย
เตรียมพิธก
ี ร
อุปกรณ ์ วัสดุทต
ี่ ้องใช้
ในการอบรม
ป้ายลงทะเบียน เป็ นตน
้
สถานทีจ
่ ด
ั อบรม
: มีผู้เข้าอบรมไมน
่ ้ อยทีใ่ ห้
ความสาคัญกับสถานทีจ
่ ด
ั อบรม สถานทีค
่ วรเป็ น
ห้ องประชุ มที่ ส ามารถสร้ างความรู้ สึ ก สร้ าง
บรรยากาศในการอบรม เพื่อ กระตุ้ นความรู้ สึ ก
ของผูเข
้ าอบรม
้
หัวข้อหลักทีต
่ องให
้
้ความสาคัญการดาเนินงานในวันฝึ กอบรม
1) ลงทะเบียน
แจกเอกสารประกอบการฝึ กอบรม
2) จัดอาหารวาง
่
3) อานวยความสะดวกวิทยากร (ถายเอกสารหั
วขอการบรรยาย
่
้
ตามกาหนดการ อานวยความสะดวกในการใช้สื่ อการบรรยาย
น้าดืม
่ อาหารวาง
อาหารกลางวัน ฯลฯ)
่
4) จด AAR
เพือ
่ ตรวจสอบขอบกพร
องที
ต
่ องน
ามาแกไข
้
่
้
้
5) ตองมี
การถายรู
ป นอกจากจะใช้เป็ นหลักฐานแลว
้
่
้
สามารถนาไปใช้ประชาสั มพันธต
่
้
์ อไปได
6)
จัดเก็บแบบประเมินหลังประชุมเสร็จแลว
้
6. นาผลการประเมินไปพัฒนาการจัดอบรม
การประเมินผลหลังการอบรม เป็ นสิ่ งทีส
่ าคัญอยางยิ
ง่ ที่
่
จะเป็ นตัววัดวาการอบรมประสบความส
าเร็จหรือไม่
และต้อง
่
แก้ไขในส่วนใดบ้าง สาหรับการจัดอบรมในครัง้ ตอไป
ใน
่
การประเมินต้องมีการประเมินในแตละปั
จจัย
่
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
Ralph Tyler
ข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับผูเ้ รียน
ข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับสังคม/ชุมชน
ข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับเนื้ อหาความรู ้
จุดหมายชัว่ คราว
ปรัชญาการศึกษา
จิตวิทยาการเรียนรู ้
เป้าหมายของสถานศึกษา
จุดหมายที่แน่ นอน
เลือกประสบการณ์การเรียนรู ้
จัดประสบการณ์การเรียนรู ้
ประเมินผลที่ได้รบั
Hilda Taba

จัดประสบการณ์การเรียนรู ้

เลือกประสบการณ์การเรียนรู ้

จัดเนื้ อหา

เลือกเนื้ อหา

กาหนดจุดมุง่ หมาย

วินิจฉัยความต้องการ

 Beauchamp
Input
Process
•การศึกษาลักษณะ
ชุมชน บุคลิกภาพ
- เลือกขอบข่ายและ
ขั้นตอนหลักสูตร
- เลือกบุคลากร
- เลือกลาดับดาเนินงาน
-พิจารณาวัตถุประสงค์
หลักสูตร
-ทดลองใช้หลักสูตร
-ตรวจสอบแก้ไข
•พื้นฐานผูเ้ รียน
•แนวทางของแต่ละ
ศาสตร์
•คุณค่าสังคม
วัฒนธรรม
Product
รูปเล่มหลักสูตร
• เพิ่มความรู ้
• เปลี่ยนเจตคติ
• สามารถนาไปใช้
ได้
12. กาหนดวิธ ี
การติดตามผล
11. เรียงลาดับ
หัวข้อวิชา/
กาหนดการ
1. วิเคราะหหา
์
ความตอง
้
การจาเป็ น
2. กาหนด
หลักการ
และเหตุผล
3. กาหนด
วัตถุประสงค ์
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
4. วิเคราะหงาน
์
10. กาหนดวิธก
ี ารวัด
และประเมินผล
5. กาหนด
หัวข้อวิชา
9. กาหนดระยะเวลา
ของหัวขอวิ
้ ชา
และหลักสูตร
8. กาหนด
วิธก
ี ารฝึ กอบรม
7. กาหนด
หลักการ/
ทฤษฎีการเรียนรู้
6. กาหนด
วัตถุประสงค ์
หัวข้อวิชา
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 1 การวิเคราะหหาความต
้องการจาเป็ น ซึ่ง
์
หมายถึ ง สภาพการณ ์ หรื อ ปั ญ หาที่ เ ป็ นอุ ป สรรคต่ อ
ผลสาเร็จของงานทีต
่ ้องแก้ไขดวยการฝึ
กอบรมและความ
้
ตองการฝึ
กอบรม
้
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 2 การกาหนดหลักการและเหตุผล หมายถึง
การน าเอาสรุ ป การหาความต้ องการจ าเป็ นในการ
ฝึ กอบรม ท าการเรีย บเรีย งให้ เห็ น ถึง ความจ าเป็ นที่
ตองด
าเนินการฝึ กอบรมหรือสรางหลั
กสูตร
้
้
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 3 การกาหนดวัตถุประสงค ์ หมายถึง สิ่ งทีก
่ าหนดวา่
ในโครงการฝึ กอบรมนั้นจะเปลีย
่ นแปลงพฤติกรรมของผู้เขารั
้ บการ
ฝึ กอบรมให้เป็ นไปในลักษณะใด จึงจะสามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ ป็ น
ความตองการจ
าเป็ นของหน่วยงานได้
้
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 4 การวิเคราะหงาน
หมายถึง การจาแนก
์
หน้าทีแ
่ ละชิน
้ งานในตาแหน่งเพือ
่ ระบุวธ
ิ ก
ี ารทางานยอย
่
ของแต่ ละชิ้ น งาน มี ข ้ัน ตอนอย่ างไร หรื อ ต้ องท า
อะไรบาง
และตองใช
่ งมืออุปกรณใดบ
าง
้
้
้เครือ
้
์
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 5 การกาหนดหัวข้อวิชา ซึ่งหมายถึง เนื้อหา
สาระในลักษณะเดียวกันของเรือ
่ งทีต
่ ้องการให้ผู้เข้ารับการ
ฝึ ก อ บ ร ม เ กิ ด ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ จ ต ค ติ แ ล ะ
ความสามารถ
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 6 การกาหนดวัตถุประสงคหั
์ วข้อวิชา เป็ นการ
ระบุถงึ สิ่ งทีต
่ ้องการให้ผู้เข้ารับการฝึ กอบรมเกิดการเรียนรู้
หรือเปลีย
่ นแปลงพฤติกรรมไปในลักษณะอยางไร
่
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 7 การกาหนดหลักการ/ทฤษฎีการเรียนรู้
เป็ นการก าหนดว่ าภายในวิช านั้ น จะต้ องใช้ ทฤษฎี
แนวคิด และหลักการอะไรบาง
้
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 8 การกาหนดวิธก
ี ารฝึ กอบรม เป็ นเครือ
่ งมือ
ทีจ
่ ะทาให้ผู้เขารั
้ บการฝึ กอบรมเกิดความรู้ ความ
เขาใจ
เจตคติ และความสามารถอยางมี
ประสิ ทธิภาพ
้
่
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 9 การกาหนดระยะเวลาของหัวข้อวิชาและ
หลักสูตร ทัง้ ระยะเวลาของหัวข้อวิชาและระยะเวลาของ
หลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 10 การกาหนดวิธก
ี ารวัดและประเมินผล เพือ
่
ตรวจสอบคุณลักษณะของผู้เข้ารับการฝึ กอบรมให้เป็ นไป
ตามวัตถุประสงค ์
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 11 การเรียงลาดับหัวข้อวิชา และการ
กาหนดการฝึ กอบรม เป็ นการกาหนดการเรียนรู้เพือ
่ ให้
เกิ ด ประสิ ทธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น ทั้ง ส่ วนย่ อยและส่ วนรวม
ทัง้ หมด
การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรม
ขัน
้ ตอนที่ 12 การกาหนด
วิธ ีก ารติด ตามผล หมายถึ ง
ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ห ลั ง ก า ร
ฝึ ก อ บ ร ม ร ะ ย ะ ห นึ่ ง ว่ า ผู้ ที่
อบรมไปแล้ว สามารถนาเอา
ความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ
และความช านาญที่ไ ด้ รับ จาก
การฝึ กอบรมไปปฏิบ ต
ั ิง านได้
จริงเพียงใด
ตัวอย่างหลักสูตรฝึ กอบรม
การประเมินหลักสูตรการฝึ กอบรม
ความหมายของการประเมินหลักสูตร
จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร
หาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบใน...
องค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตร
ระบบการบริหารและบริการหลักสูตร
งานดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
งานสนับสนุนการใช้หลักสูตร
ทราบคุณภาพของผูเ้ ข้ารับการอบรม
ตัดสินคุณค่าของหลักสูตร
ระยะของการประเมินหลักสูตร
ระยะที่ 1 ก่อนนาหลักสูตรไปใช้
ระยะที่ 2 ระหว่างการดาเนินการใช้หลักสูตร
ระยะที่ 3 หลังการใช้หลักสูตร
ประเมินเอกสารหลักสูตร
ประเมินการใช้
หลักสูตร
สิ่งที่ตอ้ ง
ประเมิน
ประเมินสัมฤทธิผลของหลักสูตร
ประเมินระบบ
หลักสูตร
ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
I
II
กาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน
- ประเมินส่วนใด เรื่องใด
- เพื่ออะไร
การวางแผนการประเมิน
- แหล่งข้อมูล
- เครื่องมือ
- ปฏิทิน
- วิธีการ
- เกณฑ์
การเก็บรวบรวมข้อมูล III
- ความเที่ยงตรง
- ความน่าเชื่อถือ
วิเคราะห์รายงานผล
- ตามวัตถุประสงค์
- เปรียบเทียบเกณฑ์
- รายงานผล
IV
ข้อควรคานึงในการประเมินหลักสูตร
การวางแผนการประเมินหลักสูตร
ด้านเวลา
ความเชี่ยวชาญของคณะกรรมการการประเมิน
ความเที่ยงตรงของข้อมูล
การประเมินหลักสูตรทั้งระบบ
วิธีการประเมิน
ความต่อเนื่อง
ด้านเกณฑ์การประเมิน
การประเมินผลการฝึ กอบรม
Input
- การวิเคราะหความ
์
ตองการจ
าเป็ นใน
้
การฝึ กอบรม
- วัตถุประสงคของ
์
โครงการฝึ กอบรม
- การคัดเลือก
วิทยากร
- การคัดเลือกผู้เข้า
รับการอบรม
Process
- วิทยากร
- ผู้เขารั
้ บการอบรม
- เอกสาร
ประกอบการบรรยาย
- สภาพแวดลอมและ
้
สิ่ งอานวยความ
สะดวกตางๆ
่
Feedback
Output
- การเรียนรู้
- ปฏิกริ ย
ิ า
- พฤติกรรม
- ผลลัพธ ์
ขอบคุณครับ...
ผศ.ดร.สิ ทธิกร สุมาลี
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
ภาควิชาการศึ กษา
คณะศึ กษาศาสตร ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์