8. ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ) - บริษัท แม็ส มีเดีย แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด

Download Report

Transcript 8. ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ) - บริษัท แม็ส มีเดีย แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด

โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัท
สุนทรเมทัลอินดัสทรี ส้ ์ จำกัด
และ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรี เคลม
โดย บริษัทแม็ส มีเดีย แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด
Mass Media and construction Co.,Ltd.
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
หน้ า
1.
ที่มำและควำมจำเป็ น
1.1 รายละเอียดเบื ้องต้ นของโครงการ
2. วัตถุประสงค์ กำรดำเนินงำน
3. แนวควำมคิดที่เกี่ยวข้ องกับกำรดำเนินงำนประชำสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์
และกำรมีส่วนร่ วมของประชำชน
4. เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน
5. หลักกำรดำเนินงำน
6. ยุทธศำสตร์ กำรดำเนินงำน
7. กลยุทธ์ กำรดำเนินงำน
8. ขอบเขตกำรดำเนินงำน
8.1 พื ้นที่การดาเนินงาน
8.2 หลักการกาหนดกลุม่ เป้าหมาย (Stakeholders)
8.3 ระยะเวลาดาเนินงาน
8.4 ความรับผิดชอบของบริษัทที่ปรึกษา
8.5 การจัดเตรี ยมบุคลากร สานักงาน ยานพาหนะ และวัสดุอปุ กรณ์ของโครงการฯ
8.6 การจัดทารายงาน
9. แผนกำรดำเนินงำนประชำสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และกิจกรรมกำรมีส่วนร่ วม
ของประชำชน
10. ผลที่คำดว่ ำจะได้ รับ
1
2
3
4
9
10
11
12
13
13
14
15
17
23
25
27
29
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
ก๊ าซธรรมชาติ ทางเลือกของการลดการนาเข้ าพลังงาน เพราะก๊ าซที่ใช้ ในประเทศกว่า 70% มา
จากอ่าวไทย เพราะมีราคาถูกกว่าน ้ามัน สามารถทดแทนในภาคการผลิตกระแสไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรม
ภาคการคมนาคมขนส่ง อีกทังยั
้ งเป็ นพลังงานสะอาดช่วยลดมลภาวะ ขณะเดียวกันด้ วยคุณลักษณะที่ต้อง
ขนส่งก๊ าซธรรมชาติทางท่อ ทาให้ ลดปั ญหาด้ านจราจร และลดภาระต้ นทุนของผู้ประกอบการในการจั ดเก็บ
เชื ้อเพลิงลงอีกทาง
ประเทศไทยได้ พัฒนาการใช้ ก๊าซธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง ตามที่ภาครัฐได้ มีแนวนโยบายในการ
ส่งเสริ มให้ ภาคการผลิต ภาคบริ การ และภาคประชาชน มีทางเลือกในการใช้ พลังงานทดแทนควบคู่กบั การ
ดูแลและรักษาสภาพสิ่งแวดล้ อม ก๊ าซธรรมชาติถกู จัดเป็ นตัวเลือกที่สามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ดงั กล่าว
ได้ อย่างมี ประสิทธิ ภ าพ ด้ วยคุณสมบัติที่เ หมาะสมสาหรับโลกในวันนีแ้ ละในอนาคต ซึ่ง ไม่ เพี ยงแต่เป็ น
พลังงานที่ใช้ ขบั เคลื่อนการดารงชีวิตเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นพลังงานที่เป็ นมิตรกับสิ่ง แวดล้ อมอีกด้ วย โดยก๊ าซ
ธรรมชาติ เ ป็ นเชื อ้ เพลิ ง ที่ ใ ห้ ทั ง้ ความร้ อนและแสงสว่ า ง ใช้ เป็ นเชื อ้ เพลิ ง ในการคมนาคมขนส่ ง
ภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรื อเป็ นวัตถุดิบตังต้
้ นในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี และยังสามารถนามาใช้ ใน
ระบบทาความเย็นได้ ด้วย
คุณสมบัตทิ ่ วั ไปของก๊ ำซธรรมชำติ
- เป็ นเชื ้อเพลิงปิ โตรเลียมชนิดหนึง่ เกิดจากการทับถมของสิ่งมีชีวิตนับล้ านปี
- เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ประกอบด้ วยก๊ าซมีเทนเป็ นหลัก
- ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ปราศจากพิษ ( ส่วนมากกลิ่นที่เราคุ้นเคยจากก๊ าซธรรมชาติเป็ นผลมาจาก การเติม
สารเคมีบางประเภทลงไปเพื่อให้ ผ้ ใู ช้ ร้ ูได้ ทนั ท่วงทีเมื่อเกิดเหตุการณ์ก๊าซรั่ว)
- เบากว่าอากาศ (ความถ่วงจาเพาะ 0.5-0.8 เท่าของอากาศ)
- ติดไฟได้ โดยมีชว่ งของการติดไฟที่ 5-15% ของปริมาตรในอากาศ และอุณหภูมิที่สามารถติดไฟได้
เองคือ 537-540 องศาเซลเซียส
คุณประโยชน์ ของก๊ ำซธรรมชำติ
- เป็ นเชื ้อเพลิงปิ โตรเลียมที่นามาใช้ งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูง มีการเผาไหม้ สมบูรณ์
- ลดการสร้ างก๊ าซเรื อนกระจก ซึง่ เป็ นสาเหตุของภาวะโลกร้ อน
- มีความปลอดภัยสูงในการใช้ งาน เนื่องจากเบากว่าอากาศ จึงลอยขึ ้นเมื่อเกิดการรั่ว
- มีราคาถูกกว่าเชื ้อเพลิงปิ โตรเลียมอื่นๆ เช่น น ้ามัน น ้ามันเตา และก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว
- สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่ม ช่วยขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
- ก๊ าซธรรมชาติสว่ นใหญ่ที่ใช้ ในประเทศไทยผลิตได้ เองจากแหล่งในประเทศ จึงช่วยลดการนาเข้ าพลังงาน
เชื ้อเพลิงอื่นๆ และประหยัดเงินตราต่างประเทศได้ มาก
หน้ ำ 1
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
เพื่อให้ การดาเนินงานโครงการในส่วนการประชาสัมพันธ์และมวลชนสัมพันธ์พื ้นที่โ ครงการ เป็ นไป
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย จึงจาเป็ นต้ องมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสารของโครงการให้ ประชาชน
ได้ รับทราบอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ชัดเจน รวมทังการด
้
าเนินงานด้ านการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อรับฟั ง
ข้ อเสนอแนะ ตลอดจนส ารวจทัศนคติของประชาชนที่ มี ต่อโครงการ ตามแนวทางของรั ฐ ธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจัก รไทย พ.ศ.2550 พระราชบัญ ญั ติ สิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ.2535 และระเบี ย บส านัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 ทังนี
้ ้ เพื่อให้ การดาเนิ นงานโครงการ
สอดคล้ องตามบทบัญญัติของกฎหมาย ประชาชนให้ การยอมรับ และโครงการสามารถดาเนินงานได้ ตาม
เป้าหมาย
1.1 รำยละเอียดเบือ้ งต้ นของโครงกำร
โครงการวางท่อส่งก๊ าซธรรมชาติไ ปยังบริ ษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรี ส้ ์ จ ากัดและ โรงงานอาจิ ณ
อุตสาหกรรมยางไทยรี เ คลม มี เ ส้ น ผ่า นศูนย์ กลางท่อส่ง ก๊ าซธรรมชาติขนาด 6 นิ ว้ ความดัน 200 Psig
ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร โดยมีจดุ เริ่มต้ นจากสถานีควบคุมแรงดันที่ 4 โครงการท่อส่งก๊ าซธรรมชาติไทร
น้ อย-พระนครใต้ (Black Value SB#4) วางตามแนวถนนมนธาตุราชศรี พิจิตร และมีการทิ ้งวาล์วไว้ ปลายทาง
ของโครงการ บริ เวณหน้ าโรงงานอาจิ ณอุตสาหกรรมยางไทยรี เคลม ซึ่ง อยู่ในพื น้ ที่ เขตบางบอน จัง หวัด
กรุงเทพทังหมด
้
ด้ วยที่ มาและความจ าเป็ นข้ างต้ น บริ ษัท แม็ ส มี เดีย แอนด์ คอนสตรั คชั่น จ ากัด (Mmac) ซึ่ง
ดาเนินงานด้ านที่ปรึ กษาประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และกิจกรรมการมีส่วนร่ วมของประชาชน จึงขอ
เสนอแผนการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน โครงการ
วางท่อส่งก๊ าซธรรมชาติไปยังบริ ษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรี ส้ ์ จากัดและ โรงงานอาจิณอุตสาหกรรมยางไทย
รี เคลม
หน้ ำ 2
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 ศึกษารายละเอียดและขันตอนการด
้
าเนินงานของโครงการฯ พร้ อมทังวิ
้ เคราะห์ปัญหาที่อ าจเกิดขึ ้น
โดยมีผลกระทบต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้ อม และสุขภาพ เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการเสนอแนวทาง
ป้องกันและลดปั ญหาต่างๆ ตังแต่
้ ก่อนเริ่ มดาเนินโครงการฯ รวมถึงกาหนดแนวทางในการแก้ ปัญหา
ติดตามสถานการณ์ วางแผนกลยุทธ์ และเสนอแนวทางป้องกัน เพื่อยุติปัญหาไม่ให้ ลุกลาม ทังใน
้
ระยะก่อนการก่อสร้ าง ระยะก่อสร้ าง และระยะฟื น้ ฟูสภาพหลังการก่อสร้ าง
 ศึกษารายละเอียดเส้ นทางเลือกทังหมด
้
ที่จะใช้ ในการวางท่อส่งก๊ าซธรรมชาติ พร้ อมกับ วิเคราะห์
ความเป็ นไปได้ ในการดาเนินงาน และเปรี ยบเที ยบข้ อมูลแต่ละเส้ นทางเลื อก เพื่ อใช้ เป็ นข้ อมูล
ประกอบการตัดสินใจดาเนินการ
 ศึกษากลุ่มเป้าหมาย และสภาพพื ้นที่เขตปกครองทังหมดที
้
่อยู่ในรัศมีโครงการฯ ในระยะ 500 เมตร
เพื่อประเมินจานวนบุคคล ชุมชน ครัวเรื อนและอาชีพ (ค้ าขาย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ฯลฯ) ที่
คาดว่าจะได้ ระบบผลกระทบจากโครงการฯ
 ศึกษาปั ญหา ความขัดแย้ งดังเดิ
้ มที่มีอยูใ่ นพื ้นที่ก่อนที่ ปตท. จะเข้ ามาดาเนินงานโครงการฯ เพื่อที่จะ
ได้ นามาใช้ ประกอบการพิจารณาว่าปั ญหาความขัดแย้ งดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อการดาเนินงาน
โครงการของ ปตท. หรื อไม่ และเป็ นข้ อมูลช่วยในการตัดสินใจในการดาเนินงานโครงการต่อไป
 ศึกษาและประเมินทัศนคติของชุมชน ประเด็นอ่อนไหวทางสังคม ชุมชน ที่มี ผลกระทบจากการ
ดาเนินงานโครงการฯ ทัง้ ในระยะก่อนการก่อสร้ าง ระยะก่อสร้ าง และระยะฟื ้นฟูสภาพหลัง การ
ก่ อ สร้ าง เพื่ อ น ามาประเมิ น หาแนวทางหรื อ กลยุท ธ์ ใ นการด าเนิ น งาน เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ นงาน
โครงการฯ เป็ นที่ยอมรับของประชาชนและสาเร็จลุลว่ งตามเป้าหมาย
 ศึก ษาและเผยแพร่ ข้ อ มูล ข่ า วสารที่ ถูก ต้ อ งอย่ า งเป็ นระบบ ทัง้ ในส่ ว นของข้ อ มูล รายละ เอี ย ด
โครงการฯเบือ้ งต้ น วิธี การก่อ สร้ าง ผลกระทบและมาตรการลดผลกระทบสิ่ง แวดล้ อมที่ ไ ด้ จ า ก
การศึกษาและจัดทารายงาน EIA ในแต่ละระยะ และสามารถเสริ มสร้ างความรู้ ความเข้ าใจอย่าง
ต่อเนื่องและโปร่งใส เพื่อเป็ นการสร้ างความร่วมมือจากประชาชนในการดาเนินงานโครงการ
 ศึกษาและรวบรวมรายชื่อสถาบันการศึกษาทังของรั
้
ฐบาลและเอกชนที่อยู่ในพื ้นที่โครงการฯ รวมทัง้
รายชื่อกลุม่ องค์กรพัฒนาเอกชน และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นข้ อมูลในการจัดทาแผนงาน
ในการให้ ความรู้ ความเข้ าใจต่อโครงการฯ
 ศึกษาและวิเ คราะห์ข้อมูลทางสัง คมและชุม ชนเพื่ อเสนอแนะแนวทางการดาเนินกิ จ กรรมที่ เป็ น
ประโยชน์ตอ่ โครงการฯ และชุมชน
 ศึกษาและวิเ คราะห์ ผ ลกระทบทางด้ า นสุขภาพของประชาชนที่ อาจเกิ ดขึน้ จากการดาเนิน งาน
โครงการฯ
หน้ ำ 3
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
ความหมายของการมีสว่ นร่วมของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปตามบริ บททางสังคมและการเมือง ใน
อดีตการมีส่วนร่วมของประชาชนมักหมายถึงกระบวนการมีส่วนร่วมในทางการเมืองโดยให้ ความสาคั ญกับ
การใช้ สิทธิเลือกตัง้ ซึง่ เป็ นไปตามหลักการของ “ประชาธิปไตยแบบเป็ นตัวแทน” ที่ประชาชนเลือกผู้แทนหรื อ
ตัวแทนเป็ นผู้ตดั สินใจและแก้ ไขปั ญหาแทนตน หากแต่ด้วยลักษณะของสังคมสมัยใหม่ที่สลั บซับซ้ อน ความ
คิดเห็นและความต้ องการของประชาชนมีความหลากหลาย ทาให้ การมีส่วนร่วมโดยผ่านตัวแทนมีข้ อจากัด
และไม่มีหลักประกันว่าการตัดสินใจของตัวแทนจะตอบสนองต่อปั ญหาและความต้ องการของประชาชน
ปั จ จุบันสัง คมหันมาให้ ความส าคัญ กับ ระบบ “ประชาธิ ป ไตยแบบมี ส่วนร่ ว ม” ซึ่ง เป็ นระบบที่
นอกจากประชาชนเลือกผู้แทนเข้ าไปปกครองและบริ หารแล้ ว ยังมีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการตัดสิ นใจ
ของรัฐบาลที่จะมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็ นอยู่ ของประชาชนอีกด้ วย การเปลี่ยนแปลงดังกล่ าวปรากฏใน
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 และ 2550 มาเป็ นลาดับ ซึ่งส่งผลให้ ความหมายของการมีส่วนร่ วมกว้ างขวางขึน้
ครอบคลุม ถึง การร่ ว มรั บรู้ ร่ วมให้ ค วามคิดเห็ นในกระบวนการตัดสิ นใจของหน่ว ยงานของรั ฐ และร่ วม
สนับสนุนติดตามการดาเนินงานของรัฐ เพื่อให้ เกิดการตัดสินใจที่ดีขึ ้นและได้ รับการสนับสนุนจากประชาชน
ดัง นัน้ อาจสรุ ปว่าความหมายของการมี ส่วนร่ วมของประชาชนในปั จ จุบนั คือ กระบวนการซึ่ ง
ประชาชน หรื อ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียได้ มีโอกาสแสดงทัศนะ แลกเปลี่ยนข้ อมูลและความคิดเห็ น เพื่อแสวงหา
ทางเลือก และการตัดสินใจต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็ นที่ยอมรับร่วมกัน ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง
จึงควรเข้ าร่วมในกระบวนการนี ้ตังแต่
้ เริ่มจนกระทัง่ ถึงการติดตามและประเมินผล เพื่อให้ เกิ ดความเข้ าใจและ
การรับรู้-เรี ยนรู้ การปรับเปลี่ยนโครงการร่วมกัน ซึง่ จะเป็ นประโยชน์กบั ทุกฝ่ าย
จำกนิยำมดังกล่ ำว องค์ ประกอบสำคัญของกำรมีส่วนร่ วมของประชำชน คือ
 การมีส่วนร่ วมของประชาชนเป็ นกระบวนการที่มีความต่อเนื่อง มีการเรี ยนรู้ร่ว มกันของผู้ที่
เกี่ ยวข้ องทัง้ ฝ่ ายรัฐ องค์กร เอกชน และประชาชนทั่วไป โดยเน้ นการสื่อสารสองทาง ทัง้
ช่องทางที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ตลอดการดาเนินโครงการ
 เป้าหมายของการมีสว่ นร่วมไม่ใช่เพียงการจัดให้ มีการรับฟั งความคิดเห็นตามกฎหมายหรื อ
การทาให้ ไม่มีความขัดแย้ ง หากแต่กระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชนควรมุ่งให้ ประชาชน
เข้ ามามีสว่ นร่วมอย่างกว้ างขวางและเป็ นวิธีการเพื่อการทาให้ การตัดสินใจของโครงการดีขึ ้น
และเป็ นที่ยอมรับร่วมกัน
หน้ ำ 4
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 กำรบริหำรจัดกำรกระบวนกำรมีส่วนร่ วมของประชำชน
การตระหนั ก ถึ ง ความส าคัญ และความจ าเป็ นของการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนใน
กระบวนการตัดสิ นใจ ไม่เ ป็ นหลักประกัน ว่าจะประสบความส าเร็ จ เสมอไป ความส าเร็ จ ของ
กระบวนการมีส่วนร่วมมิใช่เพียงการจัดให้ มีการมีส่วนร่ วมเท่านัน้ หรื อการจัดการมี ส่วนร่ วมแล้ ว
ประชาชนเห็นด้ วยกับโครงการ เพราะมีกลุ่มบางกลุ่มที่ไม่เห็นด้ วยไม่ได้ อยู่ในกระบวนการมีส่วน
ร่วม ดังนัน้ ความสาเร็ จของกระบวนการมีส่วนร่ วมคือ ความสามารถในการจัดการให้ ประชาชนมี
ส่วนร่วมอย่างกว้ างขวาง โดยเฉพาะผู้ที่ได้ รับผลกระทบจากโครงการหรื อการตัดสินใจ ซึ่งการมีส่วน
ร่วมอย่างกว้ างขวางนามาซึ่งข้ อตกลงร่วมกันและการตัดสินใจที่รอบคอบมากขึ ้น ความสาเร็ จของ
การมีสว่ นร่วมขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการบริ หารจัดการ
กระบวนการมีส่วนร่ วมซึ่งเกี่ยวข้ องกับคาถามว่า การมีส่วนร่ วมของประชาชนควรเกิด เมื่อไร ใคร
ควรเข้ ามามีสว่ นร่วมในกระบวนการ และในรูปแบบใด
 แนวทำงกำรบริ ห ำรจั ด กำร กำรมี ส่ วนร่ วมที่ ป ระสบผลส ำเร็ จ มี ส่ ิ ง ที่ ต้ อง ให้
ควำมสำคัญอยู่ 2 ส่ วน คือ
• หัวใจหรื อหลักการพื ้นฐานของการบริหารจัดการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผ้ ู บริ หาร
โครงการการมีสว่ นร่วมต้ องยึดถือประกอบด้ วยหลัก 4S
• กระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชนควรดาเนินการอย่างเป็ นระบบ มีการวิเคราะห์
สถานการณ์ และการเตรี ยมการล่วงหน้ าดังนันการวางแผนโครงการมี
้
ส่วนร่วมจะ
เป็ นกลไกหรื อเป็ นเครื่ องมือช่วยให้ การมีส่วนร่ วมประสบความสาเร็ จประกอบด้ วย
3 ขันตอน
้
 หลัก 4 S : หัวใจของกำรบริหำรกระบวนกำรมีส่วนร่ วม
• การบริหารจัดการกระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชนควรยึดหลัก 4S คือ
- Starting Early หรื อการเริ่ มต้ นเร็ ว : กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
จะต้ องเริ่ มต้ นตังแต่
้ ระยะแรก มีการให้ ข้อมูล กระตุ้นให้ เกิดความคิดเห็น
และให้ มีการรั บฟั ง ความคิดเห็นจากประชาชนก่อนการตัดสินใจ ความ
ล้ ม เหลวของกระบวนการมี ส่วนร่ ว มของประชาชนมัก เกิ ด จากเข้ า ของ
โครงการเริ่มกระบวนการมีส่วนร่วมล่าช้ า หลังจากมีการตัดสินใจเรี ยบร้ อย
แล้ ว หรื อ มี ข้ อ ผูก มัด อื่ น ๆ จนเปลี่ ย นแปลงไม่ไ ด้ หรื อหลัง จากมี ค วาม
ขัดแย้ งเกิดขึ ้น อย่างไรก็ตาม การจัดให้ มีการรับฟั งความคิดเห็น ก่อนการ
ตัดสินใจ มิได้ หมายความว่าก่อนการตัดสินใจไม่กี่วนั หรื อไม่กี่ สปั ดาห์ มี
มิ ติ เ วลาเป็ นปั จจั ย ที่ ส ะท้ อนความจริ งใจของเจ้ าของโครงการใน
กระบวนการมีสว่ นร่วมควรให้ มีเวลาเพียงพอในการับฟั งความคิดเห็นอย่าง
กว้ างขวางเพื่อทาให้ การตัดสินใจสะท้ อนความคิดเห็นของชุมชน
หน้ ำ 5
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
-
-
นอกจากนี ก้ ารให้ ป ระชาชนเข้ า มี ส่ว นร่ ว มในกระบวนการตัง้ แต่ต้ น มี
ประโยชน์ช่วยให้ ประชาชนมีเวลาคิดถึงทางเลือกที่เหมาะสมมากขึ ้น และ
เป็ นข้ อมูลพัฒนาโครงการ ดังนันการบริ
้
หารการมีส่วนร่ วมที่ดีนั น้ ควรให้
ประชาชนเข้ ามามีส่วนร่วมตังแต่
้ ต้นในการตระหนักถึงเหตุผลความจาเป็ น
ของโครงการ หรื อ ในขัน้ ของการหาข้ อ มู ล พื น้ ฐาน เช่ น หากเป็ นกรณี
โครงการท่ อ ส่ ง ก๊ าซฯ ควรต้ อ งปรึ ก ษาหารื อ ถึ ง ความจ าเป็ นของการมี
โครงการฯ ก่อนจะถามว่าตังที
้ ่นี่ได้ หรื อไม่
Stakeholders หรื อครอบคลุมผู้ที่เกี่ยวข้ อง : หลักการสาคัญของการมีส่วน
ร่ ว มอี ก ประการหนึ่ง คื อ การมี ส่ว นร่ ว มเป็ นกระบวนการที่ ต้ อ งการให้ มี
ประชาชนเข้ ามามีส่วนร่ วมอย่างกว้ างขวางผู้ที่ได้ รับผละกระทบหรื อผู้มี
ส่วนได้ เสียทุกฝ่ ายไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้ อมถือว่าเป็ นผู้มีส่วนได้ เสีย ควรมี
โอกาสเข้ าสู่กระบวนการมีส่วนร่ วม แต่กลุ่มที่ได้ รับผลกระทบโดยตรงอาจ
ถื อ ว่า ต้ อ งรั บ ฟั ง ข้ อ มูล หรื อ ปรึ ก ษาหารื อ เป็ นอัน ดับ แรก ๆ หน่ว ยงานที่
รับผิดชอบต้ องให้ ความสาคัญในการระบุผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสีย ระมัดระวังมิ
ให้ เ กิ ดการผิ ดกลุ่ม เป้าหมาย ต้ องตะหนักว่าประชาชนแต่ละกลุ่ม ได้ รั บ
ผลกระทบจากประเด็น การตัด สิ น ใจไม่เ ท่า กัน บ่อ ยครั ง้ ที่ เ รามัก คิด ว่า
ประชาชนเป็ นคนกลุ่มเดียวกัน ทัง้ ที่ในความเป็ นจริ งผู้ได้ รับผลกระทบมี
หลากหลายกลุ่ม การบริ หารจัดการมีส่วนร่วมต้ องมัน่ ใจว่ากลุ่มผู้ มีส่วนได้
ส่วนเสียที่สาคัญทุกกลุ่มได้ มีโอกาสเข้ ามามีส่วนร่วม และแต่ ละกลุ่มอาจมี
รูปแบบการมีส่วนร่วมที่แตกต่างกัน เพื่อเอื ้ออานวยให้ กลุ่มผู้ มีส่วนได้ ส่วน
เสียเข้ ามามีส่วนร่ วมได้ เช่น กาหนดเวลารับฟั งความคิดเห็นที่ช าวบ้ าน
มาร่ วมได้ หรื อ การใช้ ภาษาท้ องถิ่ น รวมทัง้ การอานวยความสะดวกให้
ชาวบ้ านในการเดินทางไปร่วมแสดงความคิดเห็น
Sincerity หรื อความจริ งใจ : การมีส่วนร่ วมเป็ นกระบวนการที่มีความ
ละเอียดอ่อน และความสัมพันธ์ ระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัด
กระบวนการมีส่วนร่ วมและประชาชนถือว่าเป็ นมิติที่มีความสาคัญ ในการ
บริ หารการมีส่วนร่ วมให้ ประสบผลสาเร็ จหน่วยงาน ของรัฐที่เป็ นเจ้ าของ
โครงการหรื อมีอานาจอนุมัติต้องจัดกระบวนการมี ส่วนร่ วมอย่างจริ งใจ
เปิ ดเผย สื่อสัตย์ ปราศจากอคติให้ เกี ยรติซึ่งกันและกัน มีการสื่ อสารสอง
ทางอยู่ ต ลอดเวลา โดยเฉพาะการให้ ข้ อมู ล ที่ ถู ก ต้ องและพอเพี ย ง
ตอบสนองต่อความสงสัยขอผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย รวมทังแจ้
้ งความก้ าวหน้ า
หน้ ำ 6
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
-
หรื อการเปลี่ยนแปลงของโครงการอย่างต่อเนื่อง อธิบายกระบวนการต่างๆ
อย่างชัดแจ้ ง ลดข้ อสงสัยต่างๆ ที่อาจก่อให้ เกิดข่าวลือ ให้ ประชาชนเข้ ามา
มีสว่ นร่วมในระยะเริ่ มต้ น ขณะเดียวกันตังใจรั
้ บฟั งข้ อมูลและความคิดเห็น
และนาไปเป็ นข้ อมูลส าหรั บการตัด สินใจ ซึ่ง สิ่ง เหล่านี เ้ ป็ นพื น้ ฐานของ
ความน่าเชื่อถือและความไว้ วางในซึ่งกันและกัน ความไว้ วางใจและความ
น่าเชื่อถือนามาชื่อความร่วมมือ ความเข้ าใจและการสื่อสารที่ดีขึ ้น
Suitability หรื อวิธีการที่เหมาะสม : หลักการมีที่สาคัญประการสุดท้ าย
ของการบริหารจัดการการมีส่วนร่วมคือ การเลือกเทคนิคหรื อรูปแบบการมี
ส่ว นร่ วมของประชาชนต้ องคานึง ถึ ง ความเหมาะสมโดยพิ จ ารณาจาก
ประเภทและขนาดของโครงการ ความหลากหลายและลักษณะที่แตกต่าง
กันของพื ้นที่และของกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ตลอดจนความแตกต่างด้ าน
วัฒนธรรม สังคม และค่านิยม ระดับความสนใจของชุมชนในประเด็นหรื อ
โครงการ ความสามารถและความพร้ อมรวมทัง้ ข้ อจากัดของหน่วยงานที่
รับผิดชอบในการจัดกระบวนการมีส่วนร่ วม เช่น ด้ านระยะเวลา บุคลากร
และงบประมาณ ความสาเร็ จของการมีส่วนร่วมอยู่ที่ความสามารถในการ
วิเคราะห์สถานการณ์ และเลือกกระบวนการมีส่วนร่ วมที่เหมาะสมการมี
ส่วนร่วมที่สร้ างสรรค์ต้องประกอบด้ วยกระบวนการย่อยหลายรูปแบบทั ง้ ที่
เป็ นทางการ และไม่เป็ นทางการ นอกจากนันต้
้ องตระหนักว่าการให้ ข้อมู ล
ข่าวสารและข้ อเท็จจริงเป็ นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ ของการปรึกษาหารื อที่
มีประสิทธิผล
หน้ ำ 7
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
หน้ ำ 8
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 โครงการฯ สามารถดาเนินการแล้ วเสร็ จด้ วยความโปร่ งใส และปราศจากข้ อขัดแย้ งทางด้ านสังคม
โดยแนวทางการบริ หารจัดการโครงการฯ สอดรับกับการบริ หารจัดการองค์การภายใต้ หลัก ธรรมาภิ
บาล (Good Governance)
 เพิ่มคุณภาพในการตัดสินใจ ช่วยให้ เกิดการพิจารณาทางเลือก ทาให้ การตัดสินใจดาเนิ นโครงการฯ
รอบคอบขึ ้น
 ลดค่าใช้ จ่ายและการสูญเสียเวลา เมื่อการตัดสินใจนันได้
้ รับการยอมรับ และช่วยลดความขัดแย้ ง
ระหว่างการก่อสร้ างโครงการฯ
 สามารถสร้ างฉัน ทามติ ลดความขัด แย้ ง ทางการเมื อ ง ประชาชน กลุ่ม องค์ ก รต่า งๆ และเกิ ด
ความชอบธรรมในการตัดสินใจดาเนินงานโครงการฯ
 ประชาชนเกิดความรู้สกึ เป็ นเจ้ าของและมีกระตือรื อร้ นในการช่วยให้ โครงการเกิดผลในทางปฏิบตั ิ
 การดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และการมีสว่ นร่วมของประชาชนตังแต่
้ ต้นสามารถลด
การเผชิญหน้ าและความขัดแย้ งที่รุนแรงได้
 เจ้ าหน้ าที่โครงการฯมีความใกล้ ชิดกับประชาชนและไวต่อความรู้สกึ ห่วงกังวลของประชาชน และเกิด
ความตระหนักในการตอบสนองต่อความกังวลของประชาชน
 เป็ นการพัฒนาความเชี่ยวชาญและความคิดสร้ างสรรค์ของสาธารณะชน ถือเป็ นการให้ การศึก ษา
ชุมชน เพื่อเรี ยนรู้กระบวนการตัดสินใจ เป็ นเวทีฝึกผู้นาชุมชน
 ช่วยทาให้ ประชาชนสนใจประเด็นสาธารณะมากขึ ้น เป็ นการเพิ่มทุนทางสังคม และช่วยเสริ มสร้ างให้
ประชาชนเป็ นพลเมืองที่มีความกระตือรื อร้ น สอดคล้ องกับการปกครองตามหลักประชาธิปไตยแบบ
มีสว่ นร่วม
หน้ ำ 9
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
หน้ ำ 10
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
ยุทธศาสตร์ ในการดาเนินงานมวลชนสัมพันธ์ และงานกระบวนการมีส่วนร่ วมของโครงการ คื อ
โครงการสามารถดาเนินงานก่อสร้ างแล้ วเสร็จด้ วยความโปร่งใสและปราศจากข้ อขัดแย้ งทางด้ านสังคม
• โปร่ งใส ชอบธรรม กาหนดแผนงานกระบวนการมี ส่วนร่ วมให้ สอดคล้ องกับข้ อกาหนด
กฎหมายและระเบียบต่างๆ เพื่อนาผลที่ได้ จากการดาเนินงานนาเสนอกับหน่วยงานต่างๆ ที่
เกี่ยวข้ องกับกับตัดสินใจดาเนินงานโครงการตามขันตอนอย่
้
างถูกต้ อง
• ปรำศจำกข้ อขัดแย้ งทำงด้ ำนสังคม กาหนดแผนงานมวลชนสัมพันธ์ ตามผลการศึกษา
และรวบรวมข้ อมู ล พื น้ ที่ เพื่ อ การก าหนดเทคนิ ค วิ ธี ก ารด าเนิ น งานที่ ส อดคล้ องกั บ
กลุม่ เป้าหมายสามารถสร้ างฉันทามติ ลดความขัดแย้ งทางการเมือง ประชาชน กลุ่มองค์กร
ต่างๆ และเกิดความชอบธรรมในการตัดสินใจดาเนินงานโครงการฯ ประชาชนเกิดความรู้ สึก
เป็ นเจ้ าของและมีกระตือรื อร้ นในการช่วยให้ โครงการเกิดผลในทางปฏิบตั ิ
หน้ ำ 11
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
หน้ ำ 12
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
บริ ษัท แม็ ส มี เ ดีย แอนด์ คอนสตรัคชั่น จากัด จะดาเนินการจัดหาบุคลากรที่ เป็ นผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้ าน มีความชานาญและมีประสบการณ์ในการดาเนินงานมวลชนสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ และการมี
ส่วนร่ วมของชุมชน พร้ อมทังมี
้ จานวนที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยจะจัดให้ มีอุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ดี ใช้
วิทยาการ เทคนิค และข้ อมูลที่ทนั สมัย มีประสิทธิภาพ มีจานวนข้ อมูลที่ถกู ต้ องตามหลั กสถิติที่เพียงพอ เพื่อ
ใช้ ในการจัดทาฐานข้ อมูลในการดาเนินงาน โดยมีแนวทางในการดาเนินงาน วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล และ
รู ป แบบการรายงาน ตามกรอบของรั ฐ ธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย พ.ศ.2550 และระเบี ย บส านัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548
8.1 พืน้ ที่กำรดำเนินงำน
แผนที่ทางกายภาพของโครงการวางท่อส่งก๊ าซธรรมชาติไปยังบริ ษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรี ส้ ์ จากัดและ
โรงงานอาจิณอุตสาหกรรมยางไทยรี เคลม
หน้ ำ 13
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
8.2 หลักกำรกำหนดกลุ่มเป้ำหมำย (Stakeholders)
การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย หรื อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (Stakeholders) เป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ ซึ่ง
หมายถึงบุคคล หรื อกลุ่มคนที่ไ ด้ รับผลกระทบทัง้ ทางด้ านบวกและด้ านลบ จากการตัดสินใจดาเนินงาน
โครงการฯ ซึ่งโดยปกติควรยึดหลักการคานึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้ องให้ มากที่สดุ (Inclusiveness) เหตุผลที่ประชาชน
คิดว่าตัวเขาเป็ นผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย คือ
• ใกล้ ชิดกับโครงการฯ เช่น ตังบ้
้ านเรื อนอยูใ่ กล้ โครงการฯ
• มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น นักธุรกิจมองว่าโครงการฯช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง
และชุมชน
• มีประโยชน์ใช้ สอย เช่น ประชาชนจะได้ ใช้ ก๊าซธรรมชาติแทนน ้ามันหลังโครงการฯเสร็ จ
• มีความสนใจมิตทิ างด้ านสังคม/ สิ่งแวดล้ อมที่เป็ นผลจากการดาเนินโครงการฯ
• มี ค่านิยมและความเชื่ อทางศาสนา หรื อมาตรฐานทางศีล ธรรมที่ เกี่ ยวข้ องกับเรื่ องของ
โครงการฯ
• มีอานาจที่ได้ รับมอบหมายตามกฎหมาย เช่น องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น หรื อหน่ วยงาน
อื่นๆของรัฐ
ในการดาเนินโครงการฯ จึงกาหนดกลุม่ เป้าหมายหลัก ดังต่อไปนี ้
1.
ประชาชนและชุมชนที่ได้ รับผลกระทบทังทางตรงและทางอ้
้
อม
กลุ่มผู้เสียประโยชน์ เป็ นกลุ่มที่ได้ รับผลกระทบจากโครงการฯ ในด้ านลบ เช่น เป็ นผู้เสียที่ทากิน
เป็ นกลุม่ ที่จะต้ องให้ น ้าหนักมากที่สดุ ในการศึกษาผลกระทบ และการจัดการมีสว่ นร่วม
กลุ่ ม ผู้ ไ ด้ รับ ประโยชน์ เป็ นกลุ่ม ที่ ไ ด้ รั บผลกระทบจากโครงการฯ ในด้ านบวก เช่น โรงงาน
อุตสาหกรรม โรงแรม ปั๊ มน ้ามัน ฯลฯ
2.
หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ รวมถึงส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้ องถิ่นที่เกี่ยวข้ อง เช่นองค์กร
ปกครองส่วนท้ องถิ่น
3.
องค์กรเอกชนด้ านสิ่งแวดล้ อม องค์กรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษา ศาสนสถานภายในท้ องถิ่น
และนักวิชาการอิสระ
กลุ่มองค์ กรเอกชนและสิ่งแวดล้ อม ส่วนใหญ่จะเป็ นองค์กรที่ได้ ขึ ้นทะเบียนกับทางกรมส่งเสริ ม
คุณภาพสิ่งแวดล้ อม เช่น โครงการฯ ฟื น้ ฟูชีวิตและธรรมชาติ มูลนิธิค้ มุ ครองสัตว์ป่าและพันธ์พืชแห่ง
ประเทศไทย จากัด
องค์ กรพัฒนำเอกชน (NGO) ในที่นี ้หมายถึง กลุม่ หรื อองค์กรต่างๆ ที่อยูใ่ นเขตพื ้นที่ หรื อ
เข้ าไปใช้ ประโยชน์ในพื ้นที่ เช่น หอการค้ า ชมรมดูนก กลุม่ องค์กรเอกชนในระดับรากหญ้ า เช่น
ศูนย์ข้อมูลท้ องถิ่นเพื่อการพัฒนา
หน้ ำ 14
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
สถำบันกำรศึกษำ หมายถึง สถาบันการศึกษาภายในพื ้นที่โครงการฯ
ศำสนสถำน หมายถึง วัด มัสยิด หรื อสถานที่ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อของคนในชุม ชน
นักวิชำกำรอิสระ หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน และนักวิชาการอิสระ
4.
สื่อมวลชน หมายถึง สื่อมวลชนในแขนงต่างๆ ทังระดั
้ บท้ องถิ่นและส่วนกลาง ซึ่งมีบ ทบาทในการ
นาเสนอข้ อมูลข่าวสารเกี่ ยวกับโครงการฯ ผลกระทบของโครงการฯ และความก้ าวหน้ าในการดาเนิน
โครงการ
5.
ประชาชนทัว่ ไป หมายถึง สาธารณชนที่มีความต้ องการและสนใจโครงการฯ
8.3 ระยะเวลำดำเนินงำน
ดาเนินงานด้ านมวลชนสัมพันธ์ และประชาสัมพันธ์ ตามขอบเขตงานที่กาหนด โดยมีช่ว งเวลา
ดาเนินการ 16 เดือน ตังแต่
้ วนั ที่ 1 มีนาคม 2553 ถึง 30 มิถนุ ายน 2554
 กำรคัดเลือกเส้ นทำงวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติ
เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น โครงการฯ ส่ ง ผลกระทบต่อ ชุม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ มน้ อ ยที่ สุด จึ ง ได้ มี ก าร
ดาเนินงานเพื่อสนับสนุนการพิจารณาแนวทางเลือก โดยคณะผู้ดาเนินงานได้ ดาเนินการให้ ส อดคล้ องกับ
นโยบายของ ปตท. คือ
•
หลี ก เลี่ ย ง พื น้ ที่ ที่ มี ผ ลกระทบกับ ชุม ชน โดยเฉพาะชุม ชนดัง้ เดิ ม ชุ ม ชนที่ มี
ประชากรอาศัยอยูห่ นาแน่น
•
หลีกเลี่ยง พื ้นที่ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชน
•
หลีกเลี่ยง พื ้นที่ที่มีผลต่อวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ฯลฯ
•
หลีกเลี่ยง พื ้นที่ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม เช่น พื ้นที่ป่าสงวน
•
หลีกเลี่ยง พื ้นที่ที่มีผลกระทบต่อการคมนาคมขนส่ง การจราจรหนาแน่น
•
ใช้ พื ้นที่เขตทางของหน่วยงานราชการต่างๆ เช่น เขตระบบทางหลวง เขตระบบ
สายส่งไฟฟ้าแรงสูง
เพื่อประสิทธิผลสูงสุดในการคัดเลือกแนววางท่อส่งก๊ าซธรรมชาติ และอยูบ่ นพื ้นฐานของประโยชน์
ที่เกื ้อกูลต่อประชาชนในพื ้นที่เป็ นหลัก การกาหนดเกณฑ์ในการพิจารณาแนวทางเลือกจึงมุง่ เน้ นการมี
ส่วนร่วมของชุมชนเป็ นสาคัญ
หน้ ำ 15
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 ระยะก่ อนกำรก่ อสร้ ำง
ในช่ว งก่ อ นการก่ อ สร้ างวิ ธี ก ารด าเนิ น งานในภาพรวมจะเน้ น การด าเนิ น งานประชาสัม พัน ธ์
มวลชนสัม พันธ์ และการมีส่วนร่ วมของชุม ชน ให้ สอดคล้ องกับข้ อเท็จจริ ง ในขัน้ ตอนการจัดทารายงาน
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้ อม (EIA) โดยสนับสนุนการดาเนินงาน และข้ อมูลที่ครบถ้ วนสมบูรณ์ เพื่ อ
รวบรวมนาเสนอรายละเอียดการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้ อมต่อคณะผู้ชานาญการ สานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม (สผ.) พิจารณาอนุมตั ิ โดยดาเนินงานเน้ นการมีส่วนร่ ว มกับชุมชน
ประสานงาน พบปะแนะนาตัว สร้ างความคุ้นเคยพร้ อมทัง้ ชีแ้ จงข้ อมูลเบื ้องต้ น เหตุผลความจาเป็ นของ
โครงการฯ แก่กลุม่ เป้าหมาย เพื่อสร้ างการรับรู้ข้อมูลความรู้ความเข้ าใจ รับฟั งความคิดเห็ น พร้ อมทังตอบข้
้
อ
สงสัยต่างๆ เพื่อเป็ นการคลี่คลายความวิตกกังวลของชุมชนเกี่ยวกับโครงการฯ
 ระหว่ ำงกำรก่ อสร้ ำง
ในการก่อสร้ างโครงการฯ การดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ ในภาพรวมจะเน้ นการ
ดาเนินงานให้ ส อดคล้ องกับแผนปฏิ บัติการด้ านสัง คมและการมี ส่วนร่ วมของประชาชน ซึ่ง ได้ ร ะบุไ ว้ ใ น
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมของโครงการฯ เพื่อป้องกัน ลด ติดตาม และแก้ ไขผลกระทบที่
อาจจะเกิดขึ ้นต่อชุมชน ซึ่งโดยปกติ กิจกรรมการก่อสร้ างจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพ สุ ขภาพกาย
สุขภาพจิต และปั ญหาด้ านสิ่งแวดล้ อม เช่น ฝุ่ นละออง เสียง การจราจร และความปลอดภัย ดังนั น้ จึงต้ อง
กาหนดแผนงานมวลชนสัมพันธ์ ระยะก่อสร้ าง เพื่อติดตาม ตรวจสอบ เฝ้าระวังผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ ้นจาก
กิจกรรมการก่อสร้ างของโครงการฯ อย่างใกล้ ชิด

หลังกำรก่ อสร้ ำง
ขัน้ นีจ้ ะเป็ นช่วงการดาเนินงานซึ่ง จะคาบเกี่ ยวระหว่างการก่อสร้ าง จนถึงเสร็ จ สิ น้ การก่อสร้ าง
โครงการฯ (หลังการก่อสร้ าง) การดาเนินงานนอกเหนือจากการประสานงาน ป้องกันและร่วมทากิจกรรมเพื่อ
คลี่คลายปั ญหา และลดผลกระทบอันเนื่องมาจากการก่อสร้ างแล้ ว ยังเน้ นการเกาะติดชุมชน เพื่ อช่วยเหลือ
และฟื น้ ฟูบริเวณพื ้นที่ตลอดแนววางท่อส่งก๊ าซธรรมชาติที่มีการก่อสร้ างให้ กลับสูส่ ภาพเดิมโดยเร็ว
หน้ ำ 16
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
8.4 ควำมรับผิดชอบของบริษัทที่ปรึกษำ แม็ส มีเดีย แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จากัด
 นาเสนอแผนการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และกิจกรรมการมีส่วนร่ วมของ
ชุมชน (Action Plan) ในระยะก่อนการก่อสร้ าง ระยะก่อสร้ าง และหลังการก่อสร้ าง ในแต่ละ
ปี ให้ ชดั เจน และสอดคล้ องกับแผนการดาเนินโครงการฯ ของ ปตท.
 เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโครงการฯ ที่เหมาะสมและชัดเจน ให้ เข้ าถึงกลุม่ เป้าหมาย
 เสนอแนวทางและดาเนินการผลิตสื่อด้ านกว้ าง (Mass Media) สื่อสิ่งพิมพ์ จดหมายข่าว
วารสาร จุลสาร แผ่นพับ หรื อสื่ออื่นๆ ที่สอดคล้ องกับวิถีการชีวิตประจาวัน ของคนในชุมชน
เพื่อให้ ข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสมกับระยะเวลา และเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมาย
 ประสานงานกับสื่อมวลชนแขนงต่างๆ ทังในท้
้ องถิ่นและส่วนกลาง
 เสนอแนวทางและด าเนิ น การจัด กิ จ กรรมการมี ส่ว นร่ ว มของชุม ชนตามระเบี ย บส านัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน 2548 เช่น การปรึ กษาหารื อ
อย่างเป็ นทางการ การปิ ดประกาศก่อนเปิ ดเวทีชี ้แจง 15 วัน ตามระเบียบสานักนายกฯ การ
จัดประชุมอย่างเป็ นทางการร่ วมกับหน่วยงานราชการในระดับต่างๆ การจัดเวทีสาธารณะ
ฯลฯ
 เสนอแนวทางและด าเนิ น งานจัด กิ จ กรรมพิ เ ศษเพื่ อ การประชาสัม พัน ธ์ กิ จ กรรมตาม
ประเพณี หรื อกิ จ กรรมอื่ นๆที่ ส อดคล้ องกับวิถีการใช้ ชีวิตประจาวันของคนในชุ มชน เพื่ อ
สนับสนุนงานมวลชนสัมพันธ์ โดยใช้ สื่อและกิจกรรมต่างๆ สร้ างความร่ วมมือ ร่ ว มใจ ให้
เกิดขึ ้นในชุมชนด้ วยความเต็มใจ
 เสนอแนวทางและสนับสนุนเจ้ าหน้ าที่ ปตท. ในการดาเนินงานพัฒนาสังคม (Corporate
Social Responsibility : CSR) ควบคูไ่ ปกับการดาเนินงานโครงการฯ เช่น การพัฒนาอาชีพ
ชุมชน กิจกรรมเพื่อเยาวชน กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้ อม
 สนับสนุนและดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และกิจกรรมการมีส่วนร่ วมของ
ชุมชนให้ สอดคล้ องกับการดาเนินงานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้ อม (EIA) ตามแนวทางของ
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม (สผ.)
 จัดทาหลักฐานอ้ างอิง โดยบันทึกข้ อมูลผลการดาเนินงานเป็ นรายงานเอกสาร รายงา น
ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว กิจกรรมและผู้ร่วมงานที่สาคัญ
 สารวจความคิดเห็น ทัศนคติ และประเมินผลการดาเนินงานทุกกิจกรรม โดยแบบ
ประเมินจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจาก ปตท. พร้ อมทังรวบรวม
้
วิเคราะห์จดั ทาเป็ น
หลักฐานเสนอต่อ ปตท.
หน้ ำ 17
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 จัดเจ้ าหน้ าที่ปฏิบตั งิ านมวลชนสัมพันธ์ ภาคสนามประจาพื ้นที่ โดยมีบทบาทหน้ าที่ ดังนี ้
• ทาหน้ าที่ ประสานงาน ติดต่อ และอานวยความสะดวกแก่เจ้ าหน้ าที่ ปตท. เพื่ อ
ติดต่อกับเจ้ าของที่ดิน/ทรัพย์สิน หรื อมวลชนในพื ้นที่ตลอดแนวท่อ รวมทังองค์
้ กร
เอกชน หน่วยงานท้ องถิ่น อาเภอ จังหวัด หรื อหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้ อง
• ทาหน้ าที่เกาะติดสถานการณ์ รับรู้ ความรู้ สึก รวบรวมข้ อเสนอแนะของชุ มชน รับ
เรื่ องร้ องเรี ยน และชี ้แจงข้ อมูลเบื ้องต้ นแทน ปตท.
• สร้ างความสัมพันธ์อนั ดีกับประชาชนในพื ้นที่เป็ นประจาอย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้ าง
ความคุ้นเคย และช่วยเหลือชุมชนในพื ้นที่เมื่อมีโอกาส โดยปฏิบตั ิตนให้ เสมือนเป็ น
สมาชิกของท้ องถิ่นนันๆ
้
• เกาะติดสถานการณ์ และวิเคราะห์สถานการณ์ที่อาจจะก่อให้ เกิดปั ญหา และหา
แนวทางป้องกัน พร้ อมทังรายงานให้
้
ปตท. ทราบเป็ นระยะ
• ประสานงานและสนับสนุนเจ้ าหน้ าที่ ปตท. ในกรณีที่จดั กิจกรรมเพื่อประโยชน์แก่
ชุมชนในพื ้นที่
• ติดต่อประสานงาน และอานวยความสะดวกในกรณี ที่มีกิจกรรมการร่ วมประชุม
ชี ้แจง หรื อให้ ข้อมูลข่าวสารแก้ ชมุ ชนในพื ้นที่
• สารวจทัศนคติ และประเมินทัศนคติของประชาชนที่มีตอ่ โครงการฯ
 จัดให้ มีเจ้ าหน้ าที่ปฏิบตั งิ านส่วนสานักงาน โดยมีบทบาทหน้ าที่ ดังนี ้
• รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินความคิดเห็นของชุมชน สังคม ที่ได้ รับผลกระทบทัง้
ทางตรงและทางอ้ อม เพื่ อ จั ด ท าเป็ นรายงานประกอบการวางแผนงาน
มวลชนสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์
• จัดทาผังบุคคลในชุมชน สังคม ที่มีบทบาทต่อความสาเร็จในการดาเนินโครงการฯ
• จัดทาผังผู้นาในหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ อง รวมถึงการวิเคราะห์ ประเมินความ
คิดเห็น ทัศนคติของผู้นา เพื่อการจัดเตรี ยมข้ อมูลที่จะนาเสนอต่อไป
• สรุปกิจกรรมรายครัง้ โดยรายละเอียดการดาเนินกิจกรรมจะประกอบด้ วย วัน เวลา
สถานที่ กลุม่ เป้าหมาย รูปแบบการดาเนินกิจกรรม สื่อที่ใช้ รูปภาพประกอบ
• สรุปกิจกรรมรายเดือน ภายใต้ รูปแบบกระบวนการการมีส่วนร่ วม และรับฟั งความ
คิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสานักนายก พ.ศ.2548
• สรุปงานประจาปี ในรูปแบบการนาเสนอสรุปภาพรวมสรุปผลการปฏิบตั งิ าน
• จัดทารายงานสรุปประเด็นสาคัญอันอาจนาไปสูเ่ หตุวิกฤต หรื อผลกระทบต่อ
ความสาเร็จของโครงการฯ ต่อผู้บริหาร ปตท.. พร้ อมทังเสนอแนวทางแก้
้
ไข ที่
เหมาะสม โดยเห็นความสาเร็จของโครงการเป็ นที่ตงั ้
หน้ ำ 18
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
•
จัดทาเอกสารแจ้ งต่อ ปตท.. ทันที เมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรงในพื ้นที่โครงการฯ (กรณี
เหตุสดุ วิสยั ต้ องแจ้ งโดยสื่ออื่นๆ โดยทันที)
• รวบรวมหลักฐานการดาเนินงาน เก็บเป็ นเอกสารอ้ างอิง เพื่อใช้ ประโยชน์ เมื่ อมีการ
ติดต่อขอข้ อมูลจากหน่วยงานภายนอก หรื อหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยได้ รับ
ความเห็นชอบจาก บริษัท ปตท..จากัด (มหาชน)
 ขอบเขตการดาเนินงานกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ และประชาสัมพันธ์
 รวบรวมกลุม่ เป้าหมายและจัดทาแบบประเมินทัศนคติหรื อข้ อคิดเห็นเพื่อเสนอเป็ นแผนงาน
ในการวิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ การทางานมวลชน ซึง่ ประกอบด้ วย
• หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ ได้ แก่ จังหวัด อาเภอ/เขต ตาบล/แขวงและหมูบ่ ้ าน
• หน่วยงานปกครองระดับท้ องถิ่น ได้ แก่ อบจ. อบต. และเทศบาล
• กลุม่ ผู้นาชุมชน ผู้นาตามธรรมชาติ และกลุม่ อาชีพต่างๆ
• ประชาชนในพื ้นที่โครงการฯ และพื ้นที่ใกล้ เคียง
• กลุม่ สถาบันการศึกษาทังภาครั
้
ฐและเอกชน และองค์กรทางศาสนา
• หน่วยงานเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน
• สื่อมวลชนส่วนกลางและท้ องถิ่น
• สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
• กลุม่ ผู้ที่ได้ รับผลประโยชน์จากการดาเนินโครงการฯ
• กลุ่ม ผู้ที่อาจสูญเสี ยผลประโยชน์หรื อกลุ่มที่อาจได้ รับผลกระทบทั ง้ ทางตรงและ
ทางอ้ อม ซึง่ มีทศั นคติในเชิงลบต่อโครงการฯ
 ออกแบบงานมวลชนสัมพันธ์ ให้ สอดคล้ องกับสภาพพื ้นที่โดยเน้ น การรับฟั งความคิ ดเห็น
เช่น
• รูปแบบในการดาเนินการมีหลายวิธีไม่จากัด ขึ ้นอยูก่ บั สถานการณ์
• เทคนิคที่ใช้ ในการดาเนินงานมวลชน
• ขันตอนที
้
่เหมาะสมกับแต่ละสภาพพื ้นที่ของชุมชน
หน้ ำ 19
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
เอกสารข้ อเท็จจริ ง
จดหมายข่าว
รายงานการศึกษา
เทคนิค
การมี
ส่วน
ร่วมใน
การให้
ข้ อมูล
การจัดทาวิดีทศั น์
การจัดตังศู
้ นย์ข้อมูลข่าวสาร
การแถลงข่าว
เวทีการนาเสนอข้ อมูล
การสือ่ สารผ่านวิทยุกระจายเสียง
การจัดสัมมนาวิชาการให้ แก่สอื่ มวลชน
หอกระจ่ายข่าวชุมชน
ทัศนศึกษาการเยี่ยมชมโครงการ
การนาเสนอ
การชี ้แจงให้ ประชาชนในการประชุมของทางราชการ
การสัมภาษณ์รายบุคคล
เทคนิค
การมี
ส่วนร่วม
ในการ
รับฟั ง
ความ
คิดเห็น
เทคนิ ค
ก า ร มี
ส่วนร่วม
แ บ บ
ปรึ กษา
หารื อ
การสนทนากลุม่ ย่อย
การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์
การสารวจความคิดเห็น
สายด่วนสายตรง
การปรึ ก ษาหารื อ อย่ า งเป็ นทางการ
(ประชาพิจารณ์)
เวทีสาธารณะ
การพบปะแบบไม่เป็ นทางการ
คณะทางานเพื่อแลกเปลีย่ นข้ อมูล
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ
คณะที่ปรึกษา
หน้ ำ 20
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม

ให้ แนวทางในการจัดทาข้ อมูลสื่อในการเผยแพร่ข้อมูลให้ ความรู้กบั ชุมชนอย่ างเหมาะสม
ดังนี ้
แผ่ นพับ
ชุมชนที่มีควำมอ่ อนไหวทำงควำมขัดแย้ ง สูง
ภำพ,โปสเตอร์
ชุมชนที่มีควำมรู้ ไม่ สูงมำกนัก
กำรนำเสนอ Presentation
หน่ วยงำนรำชกำร ,สถำบันกำรศึกษำ
วิทยุชุมชน, เสียงตำมสำย
ชุมชนในท้ องถิ่น
หนังสือพิมพ์ ท้องถิ่น,หนังสือพิมพ์ ส่วนกลำง
ประชำชนทั่วไป
โทรทัศน์
ประชำชนทั่วไป
Internet
ประชำชนทั่วไป
จดหมำยข่ ำว
ชุมชนในพืน้ ที่โครงกำรฯ
 จัดหามาตรการแก้ ไ ขปั ญ หาอย่า งเหมาะสม ในกรณี ที่เ กิ ดเหตุการณ์ ใด ๆ ที่ อาจส่ง ผล
กระทบต่อการดาเนินงานในพื ้นที่โครงการ เช่น
• การชุมชุมต่อต้ านโครงการ
• การปลุกระดมประชาชน
• การเผยแพร่ข้อมูลโครงการที่ไม่ถกู ต้ อง
• การร้ องเรี ยนโครงการผ่านสื่อต่าง ๆ
หน้ ำ 21
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 ดาเนินกิจกรรมให้ ข้อมูลโครงการที่ถูกต้ องโดยมุ่งเน้ นการรับฟั งความคิดเห็น ของบุคคลที่
เกี่ยวข้ องในรูปแบบต่างๆ เช่น
• การพบปะอย่างเป็ นทางการ / ไม่เป็ นทางการกับกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อ งเพื่อ
สร้ างความสัมพันธ์อนั ดีและทัศคติในเชิงบวกต่อโครงการ
• จัดเวทีกลุม่ ย่อย
• การชี ้แจงอย่างเป็ นทางการ
• การประชุมกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ อง
• การติดประกาศทังก่
้ อนและหลังการชี ้แจงอย่างน้ อย 15 วัน
• การนัดหมายชุมชนที่เกี่ยวข้ องกับโครงการก่อนการเปิ ดเวทีชี ้แจง
• การจัดเวทีเพื่อชี ้แจงข้ อมูลข่าวสารโครงการ ในระดับต่างๆ
• การจัดนิทรรศการ เพื่อเผยแพร่ ความรู้ เรื่ องก๊ าซธรรมชาติ และโครงการวางท่ อส่ง
ก๊ าซฯ
• การศึกษาดูงานในเรื่ องที่ชมุ ชนมีความกังวลห่วงใย เช่น เรื่ องความปลอดภัย
• การจัดกิจกรรมให้ ความรู้ในเรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับโครงการ หรื อ ปตท.
 ดาเนินกิจกรรมเสริ มสร้ างทัศนคติ และภาพลักษณ์ที่ดีต่อโครงการ และช่วยสนั บสนุนงาน
มวลชนสัมพันธ์ เช่น
• กิจกรรมประเพณีวฒ
ั นธรรมดังเดิ
้ มของท้ องถิ่น
• กิจกรรมประเพณีตามเทศกาล
• กิจกรรมการให้ ความช่วยเหลือด้ านการพัฒนาอาชีพของชุมชน
• กิจกรรมการให้ การสนับสนุนด้ านสุขภาพ ความเป็ นอยู่ การศึกษา และศาสนา
• กิจกรรมอื่น ๆที่สอดคล้ องกับการใช้ ชีวิตประจาวันของชุมชนแล้ วแต่กรณี
 สารวจทัศคติและประเมินทัศนคติของประชาชนที่มีตอ่ โครงการ โดย
• เตรี ยมการและนัดหมายชุมชน เพื่อรับการประเมินทัศคติ
• รับฟั งความคิดเห็น ข้ อเสนอแนะของชุมชนที่มีตอ่ โครงการ
• วิ เ คราะห์ ทัศ นคติ ข องประชาชนเพื่ อ สัง เคราะห์ เ ป็ นแนวทางการด าเนิ น งานที่
เหมาะสม
• สรุปผลการสารวจและประเมินทัศนคติของประชาชนให้ แล้ วเสร็จภายใน 15 วัน
นับจากการสารวจเสร็จสิ ้นลง
 รวบรวมและแสดงผลของข้ อมูลโดยใช้ รูปแบบและเครื่ องมือที่เหมาะสม และแบ่ง
หมวดหมูอ่ ย่างชัดเจน
หน้ ำ 22
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
8.5 กำรจัดเตรียมบุคลำกร สำนักงำน ยำนพำหนะ และวัสดุอุปกรณ์ ของโครงกำรฯ
 บุคลากร
ผู้จดั การโครงการฯ
พนักงานมวลชนสัมพันธ์
เจ้ าหน้ าที่วิเคราะห์ข้อมูล
พนักงานมวลชนสัมพันธ์
 สานักงาน /ยานพาหนะ
• แบ่งเป็ น 1 ที่ คือ Center office /กรุงเทพฯ
• ยานพาหนะ ใช้ สาหรับพนักงานภาคสนามลงพื ้นที่โครงการฯ จานวน 1 คัน
หน้ ำ 23
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 รายการเช่าอุปกรณ์สานักงาน
ลำดับ
1.
รำยละเอียด
จำนวน
อุปกรณ์ ตดิ ต่ อสื่อสำรภำยในสำนักงำน
ตู้สาขา (PABX)
Center office /กรุงเทพฯ
1 ตู้
2 เบอร์
2.
อุปกรณ์ตดิ ต่อสื่อสารเคลื่อนที่ (โทรศัพท์มือถือ)
4 เครื่ อง
3.
อุปกรณ์การประชุม LCD Projector
Center office (1)
4.
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ โน้ ตบุ๊ค
คอมพิวเตอร์ ตงโต๊
ั้ ะ
เครื่ องปริน้
Internet Center office (1)
1 ชุด
2 ชุด
2 ชุด
1 ชุด
อุปกรณ์ บันทึกภำพ
กล้ องภาพนิ่งดิจิตอล
กล้ องภาพเคลื่อนไหวดิจิตอล
2 ชุด
1 ชุด
6.
เครื่ องถ่ายเอกสาร Center office
เครื่ องเข้ าเล่ม Center office
1 ชุด
1 ชุด
7.
Fax Center office
1 ชุด
8.
วัสดุสานักงาน /วัสดุสิ ้นเปลือง
5.
Center office
1 ชุด
1 ชุด
หน้ ำ 24
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
8.6 กำรจัดทำรำยงำน
 การจัดทารายงานผลกระทบทางด้ านสังคม ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ ยวข้ อง โครงการฯ
จะต้ องนาเสนอข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับโครงการฯ อย่างน้ อยควรประกอบด้ วย
• กลุม่ เป้าหมาย
- รวบรวม วิ เ คราะห์ ประเมิ น ความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชนสั ง คม ที่ ไ ด้ รั บ
ผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้ อม เพื่อจัดทาเป็ นรายงานประกอบการ
วางแผนงาน
มวลชนสัมพันธ์
- จัดทาแผนผังบุคคลสาคัญในชุมชนที่อาจมีบทบาทต่อความสาเร็ จ ในการ
ดาเนินโครงการฯ
- จัดทาแผนผัง ผู้นาในหน่วยงานราชการที่ เกี่ ยวข้ อง รวมถึงการวิเ คราะห์
ประเมินความคิดเห็น ทัศนคติ ของผู้นาเพื่อการจัดเตรี ยมข้ อมูล นาเสนอ
ต่อไป
• รายละเอียดการดาเนินงาน
- สรุ ป กิ จ กรรมรายครั ง้ โดยระบุ ร ายละเอี ย ดการด าเนิ น กิ จ กรรม อั น
ประกอบด้ วย วัน เวลา สถานที่ รูปแบบการดาเนินกิจกรรม สื่อที่ใช้ รูปภาพ
ประกอบ กับกลุม่ เป้าหมาย
- สรุ ปกิ จ กรรมรายเดือ น ภายใต้ รู ป แบบขบวนการมี ส่ว นร่ วม และรั บ ฟั ง
ความคิดเห็นของประชาชน ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการ
รับฟั งความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
- จัดทารายงาน การมีสว่ นร่วมของประชาชน เพื่อประกอบรายงานวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม(EIA) ตามประกาศกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์
เทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ฉบับ ที่ 3 พ.ศ. 2539 ซึ่ง ออกตามความใน
พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
- จัดทารายงานสรุปประเด็นสาคัญอันอาจนาไปสู่เหตุวิกฤต หรื อผลกระทบ
ต่ อ ความส าเร็ จ ของโครงการฯ ต่ อ ผู้ บริ ห าร ปตท . พร้ อมทั ง้ เสนอ
แนวทางแก้ ไขที่เหมาะสม โดยเห็นความสาเร็จของโครงการเป็ นที่ตงั ้
- จัดทาเอกสารแจ้ งต่อ ปตท. ทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรงในพื ้นที่
โครงการฯ (กรณีเหตุสดุ วิสยั ต้ องแจ้ งโดยสื่ออื่นใดก็ได้ โดยทันที)
หน้ ำ 25
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 รูปแบบการศึกษาและจักทารายงาน
รู ปแบบการดาเนินงานการจัดทารายงาน /และการจัดส่งรายงาน บริ ษัทที่ปรึ กษาจะต้ อง
รวบรวมแนวทางต่างๆ ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และระเบียบสานักนายกว่า
ด้ วยการรับฟั งความคิดเห็น ของประชาชน พ.ศ. 2548 ได้ กาหนดไว้ พร้ อมทังด
้ าเนินงานศึกษาและ
จัดทารายงานตามรูปแบบดังกล่าวให้ ครบถ้ วนและถูกต้ องประกอบด้ วย
• จัดทาฐานข้ อมูลบุคคล,ชุมชน,แผนที่,ประเด็นปั ญหา,ทัศนคติ,การเข้ าร่วมกิจกรรม
และอื่น ๆลงในแบบฟอร์ มตามที่ ปตท. กาหนด
• รวบรวม วิเคราะห์ ประเมินทัศนคติเพื่อประกอบการดาเนินกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์
• รวบรวมหลักฐานการดาเนินงาน เก็บเป็ นเอกสารอ้ างอิง เพื่อใช้ ประโยชน์เมื่ อมีการ
ติดต่อขอข้ อมูล จากหน่วยงานภายนอก หรื อหน่วยงานอื่นที่ เกี่ ยวข้ อง โดยได้ รับ
ความเห็นชอบจาก ปตท.
 การส่งมอบรายงาน
• การส่งมอบงานประจาเดือน (Monthly Report) ทุก ๆ 30 วันนับถัดจากวันที่ได้ รับ
หนังสือสนองการจ้ างจาก ปตท. ประกอบด้ วย
รูปเล่มรายงาน (Paper Report ) จานวน 5 เล่ม
แผ่น CD (Electric Report) เนื ้อหารายงาน จานวน 5 แผ่น
รายงานสรุ ป เนื อ้ หาสาระส าคัญ และประเด็น ที่ น่า สนใจ เพื่ อ น าเสนอ
ผู้บริหาร จานวน 3 ชุด
 การส่ ง มอบรายงาน กรณี ส ถานการณ์ เ ร่ ง ด่ว น บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาจะต้ อ งจัด ท ารายงาน
สถานการณ์ เ ร่ ง ด่วนในกรณี ที่เกิ ดประเด็น ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการแก้ ไ ขปั ญหา
ดังกล่าว ในกรณีที่มีเหตุการณ์พิเศษเกิดขึ ้นในพื ้นที่โครงการฯตามแต่ปตท.จะแจ้ งให้ ทราบ
หน้ ำ 26
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
 กาหนดบุคลากรประจาโครงการ
เตรียม
 จัดเตรี ยมอุปกรณ์/วัสดุสานักงาน
การ
 จัดเตรี ยมยานพาหนะ
 จัดเตรี ยมสานักงานสนาม
 ตรวจสอบสถานการณ์ภายในหน่วยงานที่มีอานาจต่อการตัดสินใจโครงการ
 ประเมินสถานการณ์สาธารณะชุมชน
 ฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ (กาหนดทิศทางการดาเนินงานรวมถึงขอบเขตประเด็นการเปิ ดตัวโครงการให้ เป็ นไปในลั กษณะ
เดียวกัน)
วางแผน
 สารวจพื ้นที่ศกึ ษาข้ อมูลบริ บทชุมชน (เพศ , อายุ , อาชีพ , การศึกษา ฯลฯ)
 สรุปข้ อมูลทางกายภาพจัดทาแผนที่เดินดิน
 สรุปเขตการปกครองในพื ้นที่โครงการ
 สรุปข้ อมูลหน่วยงานราชการในพื ้นที่โครงการ (ผังบุคคล/ตาแหน่ง/ที่อยู/่ เบอร์ โทร ในแต่ละหน่วยงาน ราชการ)
 สรุ ปข้ อมูลชุมชน/สถานที่สาคัญ(โรงเรี ยน วัด มัสยิด อื่น ๆ ) ที่โครงการพาดผ่าน(ผังชุมชน / สถานที่สาคัญ ผังบุคคล/
ตาแหน่ง/ที่อยู/่ เบอร์ โทร ในแต่ละสถานที่)
 สรุปความสัมพันธ์บคุ คลสาคัญและผู้มีอิทธิพลในพื ้นที่โครงการ
 สรุปข้ อมูลโครงการตามระเบียบสานักนายก 2548
 ศึกษารายละเอียดเส้ นทางเลือกพร้ อมวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ ในการดาเนินงาน
 สรุปผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย (Stakeholders)
ปฏิบต
ั ิ
 กาหนดแผนการดาเนินงาน (Action Plan)
 ยื่นหนังสือขออนุญาตปฏิบตั ิงานในพื ้นที่
 สารวจทัศนคติกลุม่ เป้าหมายต่อการงานโครงการ
 ดาเนินงานมวลชนสัมพันธ์
 ดาเนินงานการมีสว่ นร่ วมของชุมชน (Public Participation :PP) เช่น การจัดชี ้แจงอย่างเป็ นทางการ การจัดเวที
สาธารณะ
 ดาเนินงานงานประชาสัมพันธ์ (Public Relations : PR) เช่นการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อต่าง ๆ การจัดกิจกรรมพิเศษ
เพื่อการประชาสัมพันธ์
 นาเสนอการดาเนินงานพัฒนาสังคม(Corporate Social Responsibility : CSR ) การเข้ าไปสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ
หรื อเข้ าไปจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคม แยกเป็ น การศึกษา กีฬาและสันทนาการ ประเพณีวฒ
ั นะธรรมและวันสาคัญ
สาธารณสุข และความปลอดภัย สิง่ แวดล้ อม อาชีพการงาน อื่นๆ
หมำยเหตุ การกาหนดรูปแบบ เนื ้อหา เทคนิค วิธีการดาเนินงานที่เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมายสามารถสรุปได้ จากข้ อมูลที่ ได้ จากขันตอนการ
้
วางแผนงาน
หน้ ำ 27
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
รำยละเอียดงำนโครงกำร
ปี 2552
ปี 2553
ปี 2554
จัดเตรี ยมสื่อที่ใช้ ในการเผยแพร่ข้อมูลโครงการฯ
งานมวลชนในพื ้นที่โครงการฯ
จัดสัมมนาและศึกษาดูงานระบบท่อส่งก๊ าซธรรมชาติ
จัดนิทรรศการในพื ้นที่โครงการฯ
จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ให้ สอดคล้ อง
กับกลุม่ เป้าหมาย
ระหว่างการก่อสร้ าง
PP4 ติดตามตรวจสอบผลกระทบจากการก่อสร้ าง (รับ
ข้ อร้ องเรี ยน) ให้ เป็ นไปตามมาตรการ ป้องกัน แก้ ไข
ผลกระทบจากการก่อสร้ าง ร่วมกับคณะกรรมการท้ องถิ่น
ประสานงานแก้ ไขปั ญหาหน้ างานต่างๆ ที่อาจเกิดตามมา
ในระหว่างการก่อสร้ างซึง่ มีผลต่อชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน
กากับดูแลมาตรการป้องกันแก้ ไขผลระทบทาชุมชน
สังคม และสิ่งแวดล้ อมให้ เป็ นไปตามพันธะสัญญาอย่าง
เคร่งครัดและต่อเนื่อง
หลังงานก่อสร้ าง
PP5 -ฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อมและดูแลข้ อร้ องเรี ยน
-สรุปบทเรี ยนจากการดาเนินโครงการฯ
-ประเมินผลการแก้ ไขผลกระทบจากการก่อสร้ าง
(Opinion survey)
ศึกษาทัศนคติ ความคิดเห็น ความพึงพอใจของชุมชนและ
สังคมที่มีตอ่ โครงการ
หน้ ำ 28
โครงกำรวำงท่ อส่ งก๊ ำซธรรมชำติไปยังบริษัทสุนทรเมทัลอินดัสทรีส้ ์ จำกัดและ โรงงำนอำจิณอุตสำหกรรมยำงไทยรีเคลม
1.
กลุ่มเป้ำหมำยได้ รับข้ อมูลอย่ ำงละเอียด เกิดควำมเข้ ำใจ ยอมรั บ และสนับสนุนกำร
ดำเนินโครงกำรฯ
2.
ได้ รับควำมร่ วมมือจำกชุมชน ซึ่งตระหนักถึงควำมสำคัญของโครงกำรฯ ที่จะเกิดขึน้ และ
ผลประโยชน์ ต่อกำรพัฒนำประเทศ ท้ องถิ่น และชุมชนโดยรวม
3.
ได้ รับข้ อมูลในเชิงลึกเกี่ยวกับผลกระทบที่อำจเกิดขึน้ กับสิ่งแวดล้ อมและชุมชน รวมทัง้
ข้ อเสนอแนะแนวทำงป้องกันแก้ ไข / ลดผลกระทบดังกล่ ำว
4.
รวบรวมข้ อคิดเห็นของชุมชน เพื่อประกอบกำรวำงแผน / ปรับปรุงกำรดำเนินโครงกำรฯ
5.
สร้ ำงภำพลักษณ์ ท่ ดี ีของโครงกำรฯ ต่ อสำธำรณชน โดยเฉพำะกำรดำเนินโครงกำรฯ อย่ ำง
เปิ ดเผยและโปร่ งใสในทุกขัน้ ตอน
6.
ได้ รับทรำบควำมต้ องกำรและบทบำทของประชำชน โดยเฉพำะกลุ่มประชำชนในชุมชนที่
คำดว่ ำจะได้ รับ ผลกระทบทัง้ ทำงตรงและทำงอ้ อม เกี่ยวกับกำรมีส่วนร่ วมในกำรพั ฒนำ
โครงกำรขัน้ ตอนต่ ำงๆ รวมถึงกำรติดตำม ตรวจสอบ เพื่อให้ ประชำชน / ชุมชนเกิดกำร
ยอมรับ ลดควำมขัดแย้ งและทัศนคติเชิงลบต่ อโครงกำรฯ
7.
กลุ่มเป้ำหมำยยอมรับโครงกำรฯ และมีทัศนะคติเชิงบวกกับบริษัท ปตท. จำกัด (มหำชน)
หน้ ำ 29