กระบวนการ ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ

Download Report

Transcript กระบวนการ ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ

Slide 1

วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ
(Information Analysis and Creativity)
หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ
สุชรี า พลราชม


Slide 2

บทที่ 7
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ


Slide 3

•การวิเคราะห์ (analysis) หมายถึง การ
จาแนกแยกแยะองค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ที่ซบั ซ้อนออกเป็นส่วน ๆ เพื่อก่อให้เกิดความ
เข้าใจว่าสิ่งนัน้ ทามาจากอะไร
มี
ลั ก ษณะส าคั ญ และ มี อ งค์ ป ระกอบอะไร
องค์ป ระกอบเหล่ า นั้น ประกอบขึ้ นมาโดยมี
ความสัม พัน ธ์เ ชื่ อ มโยงกัน อย่า งไร และเมื่ อ
เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ อื่ น ๆ
ที่ ค ล้า ยคลึ ง กัน แล้ว มี ค วามแตกต่ า งกั น
อย่างไร


Slide 4

ความหมายของการการวิ

คราะห์

ารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ (information analysis)
จึงหมายถึง กระบวนการทาความเข้าใจสารสนเทศ
ทัง้ หมดที่ได้จากการคัดเลือกเพื่อจาแนกแยกแยะ
สารสนเทศออกเป็นส่วน ๆ และสกัดเอาเฉพาะ
สารสนเทศที่เด่นและมีลกั ษณะเฉพาะออกจาก
สารสนเทศดังกล่าว โดยยึดเอาความต้องการของ
ผูใ้ ช้ และเกณฑ์การประเมินสารสนเทศเป็นพื้นฐานใน
การดาเนินการ


Slide 5

ความหมายของการสังเคราะห์สารสนเทศ


Slide 6

การสังเคราะห์ (synthesis)
•ซึ่งมักจะเป็ นกระบวนการที่เกิดขึน้ ตามหลัง
การวิเคราะห์ หมายถึง การรวบรวม
ผสมผสานองค์ประกอบที่แตกต่างกันอย่าง
เป็ นระบบ จนกลายเป็ นสิ่งใหม่ตามความ
ต้องการ องค์ประกอบเหล่านี้ อาจเป็ น
ความคิดเรื่องราว หรือสิ่งของก็ได้


Slide 7

• การสังเคราะห์สารสนเทศ โดยเน้นรายละเอียดของ
กิจกรรมที่กระทาว่า เป็ นการนาผลลัพธ์ที่ได้จาก
กระบวนการวิเคราะห์สารสนเทศมาผ่านการเปรียบเทียบ
กลัน่ กรอง ประเมิน อนุมาน และร้อยเรียงเชือ่ มโยงเข้า
ด้วยกัน ในลักษณะใหม่ดว้ ยความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว
อย่างถ่องแท้ การสังเคราะห์สารสนเทศสามารถนาไปสู่
ความสาเร็จของการดาเนินงานต่าง ๆ มากมาย เพราะ
เป็ นการเชือ่ มโยงความสามารถในการรับรูจ้ ากผูเ้ ชี่ยวชาญ
หลาย ๆ คน


Slide 8

กระบวนการ
ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ

หลังจากสารสนเทศถูกคัดเลือก ผูป้ ระมวล
สารสนเทศสาเร็จรูปจะต้องนาสารสนเทศเหล่านัน้ มา
ตรวจสอบ ประเมิน และคัดสรรเอาเฉพาะส่วนสาคัญ
และสอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้ แล้วนามา
เรียบเรียงใหม่ในรูปแบบที่เหมาะสมตรงกับความ
ต้องการของผูใ้ ช้ และเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไว้ กิจกรรมที่กระทาในขัน้ ตอนนีส้ ามารถ
จาแนกได้เป็ น6 ขัน้ ตอนตามลาดับดังนี้


Slide 9

การเตรียมการเบื้องต้น
1. ก่รายละเอี
ยดเกี่ยแวกั
วข้อ /สสารสนเทศที
อนการวิเคราะห์
ละสับงหัเคราะห์
ารสนเทศ ่ได้รบั

มอบหมายให้วิเคราะห์และสังเคราะห์ ทัง้ นีเ้ พราะ ผู้
วิเคราะห์จะเริ่มกระบวนการวิเคราะห์จากการสันนิษฐาน
ข้อมูล และบริบทของข้อมูลที่จะใช้วิเคราะห์
2. รายละเอียดเกี่ยวกับแบบแผนในการจัดระบบ และ
การกาหนดหมวดหมูข่ องสารสนเทศในหัวข้อ /
สาขาวิชาดังกล่าว เพื่อเป็ นเกณฑ์ในการกาหนดหัวข้อ
ในการวิเคราะห์ วิธีการทาความเข้าใจ


Slide 10

การเตรียมการเบื้องต้น
ก่อนการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ (ต่อ)
3. รายละเอียดเกี่ยวกับปัญหาและบริบทของปัญหา เพราะ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ กระทาขึน้ โดยมี
จุดมุง่ หมายที่จะช่วยแก้ปัญหาในการใช้สารสนเทศของผูใ้ ช้
4. รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ควรพิจารณา
▫ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
▫ ทรัพยากรที่จะใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์
▫ ข้อจากัดของระบบในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ


Slide 11

การเตรียมการเบื้องต้น
ก่อนการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ (ต่อ)
5. รายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการในการดึงข้อมูล หรือ
สารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ซึ่งโดยทัว่ ไปมักจะต้องมีเกณฑ์
มาตรฐานเกี่ยวกับเรื่องนัน้ เพื่อใช้เป็ นพื้นฐานในการ
ตัดสินใจเลือก และดึงข้อมูลหรือสารสนเทศ
6. เกณฑ์ในการประเมิน และการตรวจสอบสารสนเทศใน
แต่ละส่วนที่ดงึ ออกมา เพื่อเป็ นพื้นฐานในการวิเคราะห์
และการสังเคราะห์


Slide 12

ขัน้ ตอนในการวิเคราะห์สารสนเทศ
1. การทาความรจ้ ู กั เนื้อหาในสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
ทัง้ หมดจากสารสนเทศ / ทรัพยากรสารสนเทศ
2. การจาแนกแยกแยะสารสนเทศออกเป็นหมวดหมู่
ตามหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยที่ได้ศึกษา และตาม
เกณฑ์ในการประเมิน
3. การคัดเลือกสารสนเทศและดึงเฉพาะประเด็น ที่มี
ความเกี่ยวข้อง หรือส่วนที่มลี กั ษณะเฉพาะที่ตรงกับความ
ต้องการของผูใ้ ช้


Slide 13

ขัน้ ตอนในการวิเคราะห์สารสนเทศ (ต่อ)
4. ในกรณีที่มีหวั ข้อใหญ่ / หัวข้อย่อย หรือ
ประเด็นที่ผใ้ ู ช้มีความต้องการแต่ไม่สามารถ
หาได้จากสารสนเทศ / ทรัพยากร
สารสนเทศที่มีอยู่ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่
• การสารวจ การตีความ หมายถึง การพยายามทา
ความเข้าใจข้อมูลที่มอี ยู่และเกี่ยวข้อง
• การบันทึกข้อมูลจากการสัมภาษณ์
• การบันทึกภาพกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง


Slide 14

ขัน้ ตอนในการวิเคราะห์สารสนเทศ (ต่อ)
4. การตรวจสอบข้อมูล
5. การจัดเรียงส่วนย่อย ๆ หรือ
ประเด็นย่อย ๆ


Slide 15

•การสังเคราะห์สารสนเทศ คือ กระบวน
การบูรณาการ และการปรับแต่งสารสนเทศที่
ผ่านการเลือกสรรและวิเคราะห์ให้อยู่ในรูปแบบที่
มีโครงสร้างใหม่ ซึ่งมีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การสังเคราะห์อาจ
เกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนสัญลักษณ์ รหัส
ช่องทาง และระบบสื่อในการนาเสนอสารสนเทศ
ซึ่งประกอบด้วยขัน้ ตอนต่างๆ ดังนี้


Slide 16

ขั1.น้ ตอนในการสั

เคราะห์

ารสนเทศ
การจัดเรียงข้อมูล
2. การประเมินเชิงเปรียบเทียบ และการแก้ไข
ปัญหา
3. การบีบอัด และผสมผสานข้อมูล
4. การประเมินผลผลิตที่ผา่ นการผสมผสาน
ข้อมูลส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน


Slide 17

ทักษะในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ

การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศเป็ นขัน้ ตอน
สาคัญอีกขัน้ ตอนหนึง่ ในกระบวนการการประมวล
สารสนเทศสาเร็จรูป เพราะหากประสบความสาเร็จใน
การดาเนินกิจกรรมในขัน้ ตอนนี้ ย่อมหมายถึงโอกาส
ในการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของการประมวล
สารสนเทศสาเร็จรูปก็ไม่ใช่เรื่องยาก อย่างไรก็ตาม
การจะเป็ นผูว้ ิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศได้ดี
บุคคลดังกล่าวอาจต้องฝึ กฝน และพัฒนาตนเอง


Slide 18

ทั- กหมั
ษะในการวิ
เคราะห์
น่ ฝึกสังเกต
และสร้างความสงสัย
- ฝึกนิสยั การไม่พอใจสภาพที่รส้ ู ึกว่าคล ุมเครือ
และหมัน่ ซักถาม โดยใช้คาถามเชิงวิเคราะห์
(ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อใด และเพราะเหตุใด)
- ฝึกคิด โดยการจาแนะแยกแยะ และหา
ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของสิ่งต่าง ๆ อยู่เสมอ
- ฝึกขวนขวายหาความรูเ้ พิ่มเติม


Slide 19

ทักษะในการสังเคราะห์
- ฝึกนิสยั การไม่พอใจสิ่งเดิม คอยแสวงหาสิง่ ใหม่ๆ
อยู่เสมอ
- ฝึกนิสยั การสะสมข้อมูล เพื่อให้มวี ตั ถุดบิ ทาง
ความคิดมากพอที่จะนามาใช้ในการสังเคราะห์สิ่งต่าง

- ฝึกนิสยั การผสมผสาน และเชือ่ มโยงประเด็นต่างๆ
- ฝึกใจให้เป็นกลาง ไม่มีอคติ เพื่อช่วยในการนา
ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์มาจัดเรียงเป็ นหมวดหมู่
อย่างเหมาะสม


Slide 20

การปรับโครงสร้างสารสนเทศ


Slide 21

องค์ประกอบในการปรับโครงสร้างสารสนเทศ
1. การกาหนดเป้าหมายของการถ่ายทอด
หรือเผยแพร่สารสนเทศ หมายถึง การปรับ
ผลผลิตสารสนเทศให้มลี กั ษณะที่ตรงกับความ
ต้องการของผูใ้ ช้ในขัน้ ตอนต่าง ๆ ของ
กระบวนการตัดสินใจที่สมั พันธ์กบั การ
เผยแพร่/ ถ่ายทอดสารสนเทศหรือนวัตกรรม
ซึ่งมี 5 ขัน้ ดังนี้


Slide 22

1.1 การรับรู/้ การตระหนักถึง หมายถึง การที่
ผูใ้ ช้ซึ่งอาจเป็ นบุคคล หรือกลุม่ บุคคลรับรู้ หรือ
เรียนรูเ้ กี่ยวกับความคิดใหม่ หรือนวัตกรรมที่
ปรากฏ
1.2 ความสนใจ/ ความรู้ หมายถึง การที่บคุ คล
หรือกลุม่ บุคคลที่เป็ นผูใ้ ช้กลุม่ เป้าหมาย มีความรูส้ ึก
สนใจความคิดใหม่ๆ หรือนวัตกรรมที่ปรากฏ และ
เสาะแสวงหาสารสนเทศที่ให้ความรูเ้ กี่ยวกับเรื่อง
ดังกล่าวเพิ่มเติม


Slide 23

1.3 กาหนดทัศนคติ หมายถึง การที่บคุ คลหรือกลุ่ม
บุคคลที่เป็ นผูใ้ ช้คอ่ ย ๆ สร้างทัศนคติที่ดีหรือไม่ดตี อ่
ความคิดใหม่ ๆ หรือนวัตกรรมที่รบั รู้ และเข้าใจ ซึ่งจะ
ขึน้ อยู่กบั การได้รบั สารสนเทศที่มรี ายละเอียดเกี่ยวกับ
บทบาท และประโยชน์ของความคิดใหม่ ๆ
1.4 การทดลอง/ การตัดสินใจ หมายถึง การที่ผใู้ ช้
ตัดสินใจทดสอบหรือทดลองความคิดใหม่ ๆ หรือ
นวัตกรรมเพื่อนาไปสูก่ ารยอมรับ หรือปฏิเสธ วิธีการที่จะ
อานวยความสะดวกในการทดลองอาจทาได้โดยการสาธิต
หรือการแจกสิ่งที่เป็ นตัวอย่างของความคิดใหม่ ๆ หรือ
นวัตกรรมเหล่านัน้ แก่ผใู้ ช้กลุม่ เป้าหมาย เพื่อเพิ่มอัตรา
การยอมรับ


Slide 24

1.5 การรับไว้/ การยืนยัน หมายถึง การที่ผใู้ ช้
กลุม่ เป้าหมายตัดสินใจ ที่จะรับเอาความคิดใหม่ ๆ หรือ
นวัตกรรมมาใช้ประโยชน์อย่างต่อเนือ่ ง สารสนเทศที่
แสวงหาในขัน้ ตอนนี้ จึงเป็ นสารสนเทศที่จะช่วยยืนยันการ
ตัดสินใจดังกล่าว โดยนาเสนอเนือ้ หาที่ให้ความรูเ้ กี่ยวกับ
การใช้ และผลของการใช้ความคิดใหม่ ๆ หรือนวัตกรรม
เหล่านัน้ ซึ่งอาจเป็ นทัง้ สารสนเทศที่เป็ นทางการ และ
สารสนเทศที่นาเสนอในลักษณะประสบการณ์ของบุคคล
อื่น ๆ เช่น รายงานการตลาด
การประเมิน
และแนวโน้ม และความคิดเห็นของผูน้ าเป็ นต้น


Slide 25

องค์ประกอบในการปรับโครงสร้างสารสนเทศ (ต่อ)

2. การกาหนดแนวทางในการปรับโครงสร้าง
ลักษณะเนื้อหาของสารนิเทศที่ผา่ น
กระบวนการสังเคราะห์แล้ว ต้องกาหนด
ร ูปแบบ วิธีการ และภาษาในการนาเสนอให้อยูใ่ น
ลักษณะที่เหมาะสมสอดคล้องกับเงื่อนไข และ
ความต้องการของผูใ้ ช้มากที่ส ุด เพื่อให้ผใ้ ู ช้เกิด
ความเข้าใจอย่างชัดเจน และสามารถนาความรท้ ู ี่
ได้จากความเข้าใจดังกล่าวไปประย ุกต์ใช้ได้อย่าง
เหมาะสม


Slide 26

2.1 ขอบเขตเนื้อหา (content extent)
อาจพิจารณาได้เป็ น 2 มิติ ได้แก่
- ความกว้างของเนื้อหาที่นาเสนอ
(breadth) กล่าวคือ เนือ้ หาที่นาเสนอเป็ นปั ญหา
ทัว่ ไป หรือ เฉพาะเจาะจง
- ความลึกซึ้งของเนื้อหาที่นาเสนอ (depth)
หมายถึง การพิจารณาว่าควรคัดเลือก กลัน่ กรอง และ
สรุปเฉพาะประเด็นสาคัญ หรือนาเสนอข้อมูลที่เป็ น
รายละเอียดสมบูรณ์ครบถ้วน


Slide 27

2.2 ความซับซ้อนทางวิชาการ (technical sophisitication)
หมายถึง ระดับความซับซ้อนของเนือ้ หาทางวิชาการและ
ระดับความสามารถในการที่ผใู้ ช้จะทาความเข้าใจเนื้อหา
แบ่งได้เป็ น 4 ระดับ ได้แก่
- ระดับต่า หมายถึง การแนะนาแนวคิดเรื่องใดเรื่อง
หนึง่ หรือแง่มมุ ใดแง่มมุ หนึง่ ของเรื่องใดเรื่องหนึง่ และ
ไม่ใช้ศัพท์เทคนิค
- ระดับกลาง หมายถึง การแนะนาหลาย ๆ แนวคิด
ของเรื่องใดเรื่องหนึง่ และใช้ศัพท์เทคนิคบ้าง โดยได้
อธิบายความหมายไว้อย่างละเอียด

(หน้าต่อไป)


Slide 28

2.2 ความซับซ้อนทางวิชาการ (technical sophisitication)
หมายถึง ระดับความซับซ้อนของเนือ้ หาทางวิชาการและ
ระดับความสามารถในการที่ผใู้ ช้จะทาความเข้าใจเนื้อหา
แบ่งได้เป็ น 4 ระดับ ได้แก่ (ต่อ)
- ระดับสูง หมายถึง การนาเสนอแนวคิด หรือแง่มมุ ที่มี
สาระของเรื่องใดเรื่องหนึง่ หลาย ๆ แนวคิดอย่าง
ครอบคลุม และใช้ศัพท์เทคนิคอย่างกว้างขวาง
- ระดับสูงมาก หมายถึง การนาเสนอข้อมูลในลักษณะ
การอภิปรายความสัมพันธ์ของหัวข้อต่าง ๆ ที่ค่อนข้าง
ซับซ้อน รวมทัง้ การอภิปรายผลในระยะยาวของ
ความสัมพันธ์เหล่านัน้ ในระดับนี้ นิยมใช้ศัพท์ และ
แนวคิดต่าง ๆ จากสาขาวิชาอื่น ๆ อย่างเสรี


Slide 29

2.3 ระดับความไม่เปลี่ยนแปลงของสารสนเทศ
และการเพิ่มค ุณค่า (degree of
invariable and value added)
หมายถึง ระดับความคงที่และความสมา่ เสมอของ
สารสนเทศจากต้นฉบับที่ปรากฏในสารสนเทศ เช่น
ทัศนคติ ผลการเปรียบเทียบ ผลการทดสอบที่ถกู
เพิ่มในผลผลิตสารสนเทศรูปแบบใหม่


Slide 30

2.4 การเรียงลาดับเนื้อหา (linearity) หมายถึง
การพิจารณาความเปลี่ยนแปลงของลาดับการนาเสนอ
เนือ้ หาเมือ่ เปรียบเทียบกับเอกสารต้นฉบับ
2.5 ลักษณะที่เกี่ยวกับเวลา (temporal aspects)
หมายถึง การระบุลกั ษณะทางเวลาซึ่งมี 2 มิติ ได้แก่
- ความทันสมัย หมายถึง อายุของสารสนเทศที่นามาใช้ใน
การประมวลให้สาเร็จรูป กล่าวคือ ควรเป็ นสารสนเทศใหม่
ภายในช่วงเวลาเท่าใด เช่น 6 เดือนถึง 1 ปี หรือมากกว่านัน้
เป็ นต้น
- ความถี่ของการผลิต หมายถึง สารสนเทศสาเร็จรูปจะมี
กาหนดออกอย่างไร


Slide 31

2.6 ค ุณภาพทางบรรณาธิการ (editorial
quality) หมายถึง คุณลักษณะที่เกี่ยวกับรูปแบบ
การนาเสนอ ซึ่งจะทาให้เนือ้ หาถูกรสนิยม และง่ายขึน้
สาหรับผูใ้ ช้ ซึ่งได้แก่
▫ ไวยากรณ์ การสร้างประโยค ความสัมพันธ์ระหว่างคาใน
ประโยค
▫ ความชัดเจน และความเป็ นระเบียบ
▫ ความสมดุล และความแตกต่าง
▫ ความต่อเนือ่ ง และความเชือ่ มโยง
▫ การออกแบบ
▫ คุณภาพของกราฟิ ก และสี


Slide 32

2.7 ค ุณภาพของสารสนเทศ
(information quality)
หมายถึง ระดับของความถูกต้อง ความ
สมเหตุสมผล และความน่าเชือ่ ถือ ซึ่งจะเกี่ยวข้อง
การการประเมินสารสนเทศ ก่อนที่จะนามา
ประมวลให้สาเร็จรูป


Slide 33

วิธีการปรับโครงสร้างสารสนเทศ
สามารถทาได้หลายลักษณะ ขึน้ อยู่กบั ความต้องการของ
ผูใ้ ช้ กลุม่ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ในการประมวล
สารสนเทศสาเร็จรูปต้องการให้ผลผลิตใหม่ทาหน้าที่อะไร
เช่น ทาหน้าที่เป็ นเครื่องมือในการเข้าถึง และคัดเลือก
สารสนเทศ (บรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป
ฐานข้อมูล) ทาหน้าที่เป็ นตัวแทนของสารสนเทศดัง้ เดิมที่
ผ่านการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ให้อยู่ในรูปแบบใหม่ที่
เหมาะสมกับความต้องการของผูใ้ ช้กลุม่ เป้าหมาย


Slide 34

ลักษณะวิธีการปรับโครงสร้างสารสนเทศ
1. การรวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้องจากหลายๆ
แหล่ง เช่น รายชือ่ สิ่งพิมพ์ใหม่ บรรณานุกรม
2. การลดทอน และปรับความยาวของเนื้อหา เช่น
สาระสังเขป รายงาน สรุปสาหรับผูบ้ ริหาร เป็ นต้น
3. การรวบรวมสารสนเทศจากต้นฉบับซึ่งมีร ูปแบบ
พร้อมใช้ (ready-made types) เช่น สาระสังเขปทางสถิติ
(statistical abstract) การย่อเรื่อง
(summaries) แผ่นโปสเตอร์ และแผ่นปลิว เป็ นต้น


Slide 35

ลักษณะวิธีการปรับโครงสร้างสารสนเทศ (ต่อ)
4. การตรวจสอบ วิเคราะห์ ปรับแต่ง และสังเคราะห์
สารสนเทศจานวนมาก จากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ
แล้วนามาเปรียบเทียบเพื่อแสดงให้เห็นพัฒนาการ แนวโน้ม
5. การรวบรวมข้อมูลจากสารสนเทศท ุติยภ ูมิ แล้วนามา
วิเคราะห์ เปลี่ยนรูปจากสารสนเทศที่เน้นวิชาการให้อยู่ใน
ลักษณะของการนาเสนอที่ทาให้เข้าใจข้อมูลและตัวเลขได้
ง่ายขึน้ เช่น แผนภูมิ ตาราง เป็ นต้น


Slide 36

ลักษณะวิธีการปรับโครงสร้างสารสนเทศ (ต่อ)
6. การตีความข้อมูล/ สารสนเทศเชิงวิชาการ แล้ว
นาเสนอในรูปแบบที่สนั้ กะทัดรัด และเน้นสารสนเทศที่เด่น
เช่น สรุปนโยบาย แผ่นข้อเท็จจริง (fact sheets) เป็ น
ต้น
7. การปรับแต่ง และการเปลี่ยนรูปสารสนเทศ การ
ปรับแต่ง และการเปลี่ยนรูปสารสนเทศที่มสี าระสาคัญด้าน
เทคนิคให้อยู่ในลักษณะการอธิบายวิธีการทา (howto-do) หรือในลักษณะที่ผใู้ ช้สามารถใช้เป็ นแนวทางใน
การปฏิบตั ไิ ด้งา่ ย เช่น คูม่ อื และมอดูล (module) เป็ น
ต้น


Slide 37

ลักษณะวิธีการปรับโครงสร้างสารสนเทศ (ต่อ)
8. การปรับเปลี่ยนสารสนเทศทัว่ ๆไป ให้อยู่ในรูปของการ
นาเสนอข่าวสารทันสมัยแก่ผใู้ ช้ เช่น จดหมายข่าว แผ่นข่าว
(news sheets) และข่าวแจก เป็ นต้น
9. การแปลสารสนเทศจากภาษาต่างๆ ให้เป็น
ภาษาสากล เช่น ภาษาอังกฤษ หรือภาษาที่ผใ้ ู ช้
คน้ ุ เคย
10. การแปลงสารสนเทศเชิงวิชาการให้อยูใ่ นร ูปแบบ
โสตทัศนวัสด ุเช่น สไลด์ประกอบเสียง วีดิทศั น์ และ
การนาเสนอโดยใช้โปรแกรม (power point)
เป็นต้น


Slide 38

แนวทาง และขัน้ ตอน
การผลิตสารสนเทศสาเร็จร ูปบางประเภท


Slide 39

ข้อความที่ตดั ตอน
หมายถึง ข้อความบางตอนของเอกสาร ซึ่งได้
คัดเลือกเพื่อเป็นตัวแทนของเนื้อหาเอกสาร
ต้นฉบับและสามารถใช้เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
แทนสาระสังเขป หรือเรือ่ งย่อ ตัวอย่างเช่น
การตัดตอนสิ่งพิมพ์ตน้ ฉบับที่เป็นรายงานการ
วิจยั
อาจตัดตอนเฉพาะข้อความที่เกี่ยวกับ
วัตถ ุประสงค์ของ การศึกษา ข้อสร ุป และ
ข้อเสนอแนะในการปฏิบตั ิ


Slide 40

สาระสังเขป
เป็นการนาเสนอเนื้อหาที่มีอยูใ่ นเอกสารอย่าง
กะทัดรัด หรือรวบรัดโดยปราศจากการตีความ
วัตถ ุประสงค์สาคัญของสาระสังเขป คือ การ
ประหยัดเวลาของผูใ้ ช้ในการคัดเลือก และ
รวบรวมสารสนเทศ สาระสังเขปที่จดั ทาอย่างดี
จะช่วยให้ผใ้ ู ช้สามารถระบ ุเนื้อหาหลักของ
เอกสารได้อย่างรวดเร็ว และถ ูกต้อง ซึ่งจะ
นาไปสูก่ ารเป็นเครือ่ งมือช่วยในการตัดสินใจ


Slide 41


Slide 42

รายงานสร ุปสาหรับผูบ้ ริหาร
มักจะมีลกั ษณะยาวกว่าสาระสังเขป และจะ
ครอบคล ุมสารสนเทศที่มีความเกี่ยวข้องกับ
การตัดสินใจ การกาหนดนโยบาย และการ
ปฏิบตั ิ นอกจากนัน้ ยังอาจเน้นหัวข้อที่มีค ุณค่า
และอยูใ่ นความสนใจ มักจะมีความยาว
ประมาณ 3-5 หน้า โดยไม่มีการวิเคราะห์และ
การประเมิน แต่จะต้องกระชับ และเน้นเฉพาะ
เนื้อหาที่สาคัญเท่านัน้


Slide 43


Slide 44

แผนภ ูมิ
แผนภูมิสามารถใช้เพื่อแสดงให้เห็นแนวโน้ม
การกระจาย ความถี่ และความสัมพันธ์ของตัว
แปรนาเสนอได้ชดั เจนยิ่งขึ้น ซึ่งจะทาให้ผอ้ ู ่าน
เข้าใจและซึมซับสารสนเทศที่นาเสนอได้ง่าย
และรวดเร็วขึ้น แผนภูมิสามารถทาได้หลาย
รูปแบบ เช่น แผนภ ูมิแท่ง แผนภูมิเส้น แผนภูมิ
วงกลม และแผนภูมิภาพ เป็นต้น


Slide 45


Slide 46

ตาราง
การนาเสนอสารสนเทศลักษณะของตารางจะช่วย
ให้ขอ้ มูลที่เป็นตัวเลขอ่านได้ง่ายขึ้น และช่วย
อานวยความสะดวกในการเปรียบเทียบระหว่าง
ตัวเลข 2 ช ุด นอกจากนัน้ การใช้ตารางยัง
สามารถแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปร 2 ตัวในลักษณะง่าย ๆ รวมทัง้ จะเป็นวิธีที่
เหมาะสาหรับการนาเสนอสารสนเทศที่มี
รายละเอียดมาก ในขณะที่เนื้อที่ของสื่อที่นาเสนอ
มีจากัด


Slide 47


Slide 48

แผ่นข้อเท็จจริง
มีจ ุดมุง่ หมายเพื่อนาเสนอสารสนเทศที่เป็น
ข้อเท็จจริงหรือเพื่อการประชาสัมพันธ์
โครงการ ประเด็น กลย ุทธ์ หรือผลิตภัณฑ์ให้
เป็นที่ยอมรับ แผ่นข้อเท็จจริงมักนาเสนอเฉพาะ
ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและข้อค้นพบที่ไม่ผา่ นการ
ประเมิน และการวิเคราะห์ การนาเสนออาจจะ
ใช้ร ูปแบบของจุดนา และหัวข้อย่อย หรือ
รูปแบบการถามและคาตอบ


Slide 49

ความรท้ ู นั สมัย
มีขอบเขตเนื้อหาเฉพาะสารสนเทศที่ทนั สมัย โดยมี
จ ุดมุ่งหมายเพื่ออธิบายสถานการณ์ลา่ ส ุดของสิ่ง
ใดสิ่งหนึ่ง เป็นกิจกรรมการประมวลสารสนเทศที่
เพิ่มความสาคัญเป็นอัตราส่วนกับการขยาย
ฐานความรท้ ู ี่ปรากฏในขณะนัน้ วัตถ ุประสงค์
สาคัญของการจัดทา คือเพื่อทาให้ผใ้ ู ช้ที่เป็นนัก
ธ ุรกิจ และนักวิชาการสามารถติดตาม
ความก้าวหน้าพัฒนาการ และแนวโน้มที่เกิดขึ้นใน
สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง


Slide 50

คู่มือ
เป็นผลผลิตสารสนเทศสาเร็จร ูปที่มีวตั ถ ุประสงค์
เพื่อให้ผป้ ู ฏิบตั ิ นักวิจยั และนักวิชาชีพอื่น ๆ ใช้เป็น
เครือ่ งมืออ้างอิงในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น มักจะเป็นการรวบรวม
สารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศหลายแหล่งมา
ปรับแต่งและนาเสนอในลักษณะให้ผอ้ ู ่านเข้าใจ
สารสนเทศ ลักษณะวิธีการ (how-to-do)
เพื่อให้ง่ายที่จะปฏิบตั ิตาม เช่น การรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับวิธีการทดลอง เทคนิค วิธีการ และ
มาตรฐานต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์


Slide 51


Slide 52

จดหมายข่าว
เป็นสื่อนาส่งสารสนเทศที่สนั้ กระชับ และบรรจุ
ข้อมูลที่ทนั สมัยเกี่ยวกับกิจกรรม เหต ุการณ์
สิ่งพิมพ์ งานวิจยั นโยบาย และบ ุคลากร ใน
บรรดาสารสนเทศสาเร็จรูปประเภทต่าง ๆ
จดหมายข่าวด ูเหมือนจะมีผอ้ ู ่านกว้างขวางที่ส ุด
เพราะสามารถดึงด ูดความสนใจจากบ ุคคลได้ดี
ดังนัน้ ศูนย์สารสนเทศส่วนใหญ่จึงนิยมจัดทา
เพื่อเผยแพร่ขา่ วสารที่น่าสนใจ โดยมีกาหนด
ออกอย่างสม่าเสมอ


Slide 53


Slide 54