ข้อเสนอแนะ

Download Report

Transcript ข้อเสนอแนะ

ข้ อเสนอแนะ
แนวทางการแก้ ปัญหายางพาราระยะเร่ งด่ วนและอย่ างยัง่ ยืน
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
เลขานุการ โฆษก และผู้ชานาญการคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการเกษตร
สภาปฏิรูปแห่ งชาติ
วันที่ 7 มกราคม 2557
1
www.tanitsorat.com
ข้ อมูลทัว่ ไป (1)
1.
2.
3.
4.
5.
2
www.tanitsorat.com
ยางพาราเป็ นพืชเศรษฐกิจที่ไม่ได้เป็ นพืชอาหาร
ผลผลิ ต ของยางถู ก น าไปใช้ ใ นอุ ต สาหกรรม
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมชิ้นส่ วนยาน
ประเทศไทยมี พ้ืนที่ ปลูกยางประมาณ 20 ล้านไร่
เปิ ดกรี ดแล้วประมาณ 17.4 ล้านไร่ มีผลผลิต 4-4.3
ล้านตัน
เกษตรกรชาวสวนยาง 1.6 ล้านครัวเรื อน มีรายได้
เฉลี่ย 5,128 บาท/ไร่
พื้นที่ ปลูกยางมากที่ สุด อยู่ที่ภ าคใต้เ นื้ อ ที่ 11.576
ล้านไร่ มีผลผลิต 3.232 ล้านตันคิดเป็ นร้อยละ 75
ของผลผลิตทั้งประเทศ
ข้ อมูลทัว่ ไป (2)
ประเทศไทยเป็ นผู้ ส่งออกยางรายใหญ่ เป็ น
อันดับ 1 ของโลกด้วยในปี 2556 ส่ งออกยางในรู ป
วัตถุดิบกึ่ งสิ นค้าสาเร็ จรู ปปริ มาณ 3.664 ล้านตัน
คิดเป็ นมูลค่า 249,296.4 ล้านบาทและส่ งออกในรู ป
ของผลิ ตภัณฑ์ยางแปรรู ป 257,204.5 ล้านบาท มี
มูลค่า 506,800.9 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 73 ของ
มูลค่าส่ งออกสิ นค้าเกษตรและปศุสตั ว์
ประเทศไทยส่ งออกยางในรู ปของวัตถุดิบกึ่ง
สิ นค้าสาเร็ จรู ปในรู ปของยางแท่ง (STR) ยางแผ่น
รมควัน (RSS) และน้ ายางข้นร้อยละ 85.2 และเป็ น
ผลิตภัณฑ์ยางสาเร็จรู ปร้อยละ 14.8
3
www.tanitsorat.com
ปัญหายางทีต่ ้ องการการปฏิรูปทั้งระบบ
1. ปัญหาราคาตกต่าขาดเสถียรภาพ
2. ราคายางเป็ นพืชที่อิงกับการเมือง
3. มติ ครม.วันที่ 21 ตุลาคม 2557 ได้อนุมตั ิโครงการแก้ปัญหาราคายางตกต่าโดยการ
แทรกแซงราคายางผ่านกองทุนมูลภัณฑ์กนั ชน (Buffer Fund)
4. ต้นทุนการผลิตยางสู งแข่งขันไม่ได้
5. การวิจยั เพื่อแปรรู ปเพิ่มมูลค่าไม่สามารถขับเคลื่อนสู่ เชิงพาณิ ชย์ได้
6. ปั ญหาการขาดการโซนนิ่ งพื้นที่การปลูกยาง
7. ภาครั ฐขาดนโยบายที่ เป็ นรู ปธรรมในการนายางพาราเพื่อผสมยางแอสฟั ลต์ ทา
ถนน
8. หน่วยงานของรัฐขาดความเป็ นบูรณาการในการสนองตอบนโยบายของรัฐบาล
4
www.tanitsorat.com
หน่ วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้ องกับยางซึ่งต้ องปฏิรูป
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
5
สานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง (สกย.)
องค์กรสวนยาง (อสย.)
กรมส่ งเสริ มการเกษตร
สถาบันวิจยั ยาง กรมวิชาการเกษตร
สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (สวก.)
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
ฯลฯ
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (1)
3.1 การแก้ ปัญหายางระยะเร่ งด่ วน (Quick Win)
3.1.1 นโยบายการแทรกแซงราคาให้ ทาต่ อเนื่อง
1) รัฐบาลได้เริ่ มใช้นโยบายแทรกแซงราคายางผ่านกองทุนมูลภัณฑ์กนั ชนมาตั้งแต่
กลางเดือนธันวาคม 2557
2) ราคายางแผ่นรวมควัน RSS-3 มีการปรับราคาจากเดือนพฤศจิกายน 48 บาท/
กิโลกรัม เป็ น 60.75 บาท/กิโลกรัม (30 ธ.ค. 57)
3) ราคาน้ ายางดิบปรับตัวสูงขึ้นจาก 37 บาท/กิโลกรัม เป็ น 45 บาท/กิโลกรัม
ขณะที่ยางตกเกรดซึ่งขายนอกตลาดกิโลกรัมละ 51.55 บาท
4) ราคานีเ้ กษตรกรพอใจอยู่ในระดับหนึ่งโดยต้ องการให้ รัฐบาลทาต่ อเนื่อง เพราะ
มีแนวโน้ มที่พ่อค้ ารับซื้อยางเริ่มไล่ ซื้อราคาสู งขึน้ ให้ ทันกับราคาของรัฐบาล
6
www.tanitsorat.com
การเคลื่อนไหวราคายางตลาดกลางหาดใหญ่ ต ค - ธ ค
หลังกองทุนมูลภัณ ์ กันชนแทรกแซงราคา
ราคารับซื้อยางแผ่ นชั้ น ยังสูงกว่ าราคา FOB)
80
70
60
50
40
30
20
10
0
ตค
พย
พย
พย
พย
ธค
ธค
ธค
ธค
ธค
43
49
49
48
38
42.5
37
38
42
45
46
ยาง RSS-3 48.39
52.7
51.62
49.33
50
49.27
51
56
57.75
60.75
61
FOB
54
53.75
53.25
51.65
51.85
51.65
51.95
55.55
56
56.75
น้ ายางดิบ
7
49.6
www.tanitsorat.com
มค
เหตุผลทีต่ ้ องการให้ มีนโยบายแทรกแซงราคายาง
1.
2.
3.
8
ราคายางในตลาดต่ างประเทศยังไม่ ปรับราคาตามราคาในประเทศ เนื่องจากราคารับซื้ อ
ยางในตลาดกลาง (หาดใหญ่) ณ วันที่ 30 ธ.ค. 57 โดยยาง RSS-3 มีราคารับซื้ อ 60.75
บาท/กิโลกรัม ขณะที่ราคา FOB (Bangkok) ราคา 56.25 บาท/กิโลกรัม และยางตลาด
AFET ส่ งมอบเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยูท่ ี่ 56.50-56.95 บาท/กิโลกรัม แสดง
ให้เห็นถึงตลาดล่วงหน้าว่าราคายางยังไม่ขยับปรับตัวสูงขึ้นตามราคายางในประเทศ
ผู้ซื้อยางในต่ างประเทศเห็นว่ าราคายางอาจสู งขึ้นเพียงระยะสั้ นๆ ตลาดล่วงหน้าใน
ต่างประเทศวิเคราะห์วา่ มาตรการพยุงราคาของรัฐบาลไทยสามารถหมุนราคายางได้ใน
ระยะสั้นโดยอาศัยกองทุ นมูลภัณฑ์กนั ชนเป็ นปั จจัย อาจทาให้ราคายางในระยะสั้น
ปรับตัวสูงขึ้น
ราคายางในตลาดโลกได้ รับแรงกดดันจากราคาน้ามันที่ลดลง ซึ่ งจะส่ งผลต่อต้นทุนการ
ผลิตยางสังเคราะห์ให้ต่าลง รวมทั้งเศรษฐกิจโลกซึ่ งมีแนวโน้ม “Slow Grow” เป็ น
ปั จจัยลดราคายาง
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (2)
3.1.2 ขอให้ เร่ งขับเคลือ่ นโครงการเร่ งด่ วนซึ่งไม่ คบื หน้ า
1) รั ฐ บาลได้ก าหนดมาตรการแก้ปั ญ หายางทั้ง ระบบโดยมี ม าตรการ 16
มาตรการซึ่ ง ครม.ได้มี ม ติ เ ห็ น ชอบแต่ ค วรจะมี ก ารจัด เรี ย งความส าคัญ
เร่ งด่วน
2) พบว่าขาดความคืบหน้า ติดปั ญหาในการขับเคลื่อนของหน่วยงานรัฐ ส่ งผล
กระทบต่อความเดือดร้อนของเกษตรกรชาวสวนยาง
3) ควรมีการตั้งคณะทางานติดตามการทางาน ทาหน้าที่ เป็ นพี่เลี้ ยงในการให้
ข้อมูล กากับและการแก้ปัญหาอย่างบูรณาการ
9
www.tanitsorat.com
โครงการเร่ งด่ วน (Quick Win) ซึ่งไม่ คบื หน้ า
1.
2.
3.
4.
10
โครงการชดเชยรายได้ เกษตรติดปัญหาจ่ ายเงินล่ าช้ า จะต้องแก้ปัญหาอย่างเร็ วที่สุด จาก
ข้อมูล ธกส.สามารถชดเชยรายได้เกษตรกรในช่วงกลางเดือนธันวาคมได้ไม่ถึงร้อยละ
3.0
โครงการสนับสนุ นสิ นเชื่ อเกษตรกรสวนยางรายย่ อยไม่ คืบหน้ า เพื่อประกอบอาชี พ
เสริ มครัวเรื อนละไม่เกิน 100,000 บาท ยังขาดแนวทางในการดาเนิ นงานและระเบีย บ
รองรับ
โครงการสนับสนุนสิ นเชื่อผู้ประกอบการผลิตภัณ ์ ยางขาดความคืบหน้ า เนื่องจากติด
ระเบียบหลักเกณฑ์ของหน่ วยราชการซึ่ งไม่อานวยต่อความสะดวกและประสิ ทธิ ภาพ
ขาดการประสานงาน
โครงการสนั บ สนุ น เงิ น สิ น เชื่ อ เพื่ อ เป็ นทุ น หมุ น เวี ย นแก่ ผู้ ป ระกอบการยางมี ก าร
ดาเนิ นการคืบหน้ าเพียงเล็กน้ อย เป็ นโครงการวงเงิ น 10,000 ล้านแต่ติดปั ญหาด้าน
เทคนิคเนื่องจากจะมีการตรวจสต๊อกทุกรอบเดือน ซึ่ งข้อเท็จจริ งสต๊อกมีการหมุนเวียน
เพราะซื้ อเข้ามาแล้วก็ตอ้ งขาย หากไม่ตรงกับเงินที่ปล่อยสิ นเชื่ อจะไม่ได้รับชดเชยค่า
ดอกเบี้ย ควรมีการปรับแก้ในรายละเอียดเพื่อให้โครงการนี้ดาเนินการต่อไปได้
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (3)
3.1.3 ขอให้ พจิ ารณาการช่ วยเหลือและชดเชยกลุ่มที่ไม่ มีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดนิ ปั จจุบนั ยังติดปั ญหาด้านเทคนิ คใน
การตรวจสอบคุณสมบัติ ขอให้เร่ งดาเนิ นการซึ่ งรัฐบาลกาหนดว่าจะจ่ายให้เสร็ จในกลางเดือนมกราคม
และควรจะพิจารณาถึงเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยซึ่ งไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ทากิน ซึ่ งปลูกยางมาเป็ น
ระยะเวลาเป็ น 7-10 ปี ควรจะได้รับสิ ทธิ การชดเชยด้วย
3.1.4 นโยบายส่ งเสริ มให้ หน่ วยงานของรัฐใช้ ผลิตภัณ ์ ยางระยะเร่ งด่ วน ควรให้หน่วยงานของรัฐเป็ นผูน้ า
ร่ อง
1) ควรมีมติ ครม.สั่งการให้ทุกกระทรวงและรัฐวิสาหกิจจัดทาแผนสนับสนุนผลิตภัณฑ์จากยางพารา
และมีการกาหนดสัดส่ วนการใช้จ่ายต่องบประมาณ
2) กระทรวงคมนาคม จะต้องกาหนดให้หน่วยงานของกระทรวงคมนาคม
3) กรมชลประทาน ควรจัดทาแผนในการนาแผ่นยางมาทาฝายกันน้ าหรื อทาแผ่นรองบ่อน้ าหรื อการนา
ยางข้นมาเคลือบบนผ้าใบเพื่อการกักเก็บน้ า
4) ควรมีนโยบายให้ กทม. เทศบาล อบจ. อบต. นายางบล็อกปูสะพานหรื อยางตัวหนอนเป็ นทางเดิน ทางเท้า
5) กระทรวงศึ กษาธิการ สั่งการโรงเรี ยนในสังกัดให้จดั ทาสนามฟุตซอล ที่ทาจากยางให้กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ส่งเสริ มให้ภาคเอกชนและเกษตรกร ใช้แผ่นปูพ้ืนทาจากยางพาราในฟาร์ มปศุ
สัตว์
11
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (4)
3.1.5 การขึน้ ทะเบียนชาวสวนยางซึ่งไม่ มีเอกสารสิ ทธิ์ในที่ดินทากิน จากตัวเลขปี 2556 มีเกษตรกรเข้าไปทา
สวนยางในพื้นที่ป่าสงวนประมาณ 33 ล้านไร่ และเขตอุทยานแห่ งชาติอีกประมาณ 1 ล้านไร่ ซึ่ งจะต้อง
มีการทาแผนที่ทางอากาศและขึ้นทะเบียนเกษตรกรเหล่านั้นเพื่อไม่ให้มีการรุ กล้ าที่ เพิ่มเติม โดยการ
แยกหากเป็ นเกษตรกรที่ ทากิ นในที่ ดินเกิ น 7-10 ปี ควรให้เ อกสารสิ ท ธิ์ เพื่ อให้เข้าถึ งแนวทางการ
ช่วยเหลือของรัฐและสามารถควบคุมปริ มาณยางในตลาด ส่ วนเกษตรกรนอกเหนื อจากนี้ เป็ นกลุ่มที่ไม่
ควรได้รับสิ ทธิ์ เพราะจะเป็ นการส่ งเสริ มให้เกิดการทาลายป่ าเพิ่มมากขึ้น
3.1.6 ขอให้ สนับสนุนศู นย์ ข้อมูลกลางและแก้ ปัญหายางพารา (Rubber War Room) เพื่อให้เป็ นศูนย์ขอ้ มูล
ข่าวสารและสถานการณ์ความเคลื่อนไหวของตลาดยางพาราไทยรวมทั้งเป็ นศูนย์กลางในการรับปั ญหา
และแก้ปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรยาง โดยให้มีการจัดตั้งนาร่ องใน 4 ภาคของประเทศไทย
ประกอบด้วย
1) ศูนย์กลางข้อมูลกลางและแก้ปัญหายางพาราภาคกลาง/ภาคตะวันออก จัดตั้งที่จงั หวัดระยอง
2) ศูนย์กลางข้อมูลกลางและแก้ปัญหายางพาราภาคเหนือ จัดตั้งที่จงั หวัดพิษณุโลก
3) ศูนย์กลางข้อมูลกลางและแก้ปัญหายางพาราภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ จัดตั้งที่จงั หวัดหนองคาย
4) ศูนย์กลางข้อมูลกลางและแก้ปัญหายางพาราภาคใต้ จัดตั้งที่จงั หวัดสงขลา
12
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (5)
3.1.7 ขอให้ สนับสนุนกองทุนอีทีเอฟ (ETF : Exchange Traded Fund) จากการที่ กนย.
เห็นชอบให้ต้ งั กองทุนรวมอีทีเอฟยางพาราประกอบด้วย สปอตมาร์ เก็ตซึ่ งเป็ นตลาด
ซื้ อ-ขายยางจริ ง (Real Market) เพื่อสนับสนุนการซื้ อ-ขายยางในตลาดสิ นค้าเกษตร
ล่วงหน้าแห่งประเทศไทย (AFET) ซึ่ งปั จจุบนั มีการซื้ อ-ขายค่อนข้างน้อยโดยให้เป็ น
ตลาดซื้ อ-ขายน้ ายาง ยางก้นถ้วย ยางแผ่นดิ บ โดยจะพัฒนาให้เป็ นตลาดราคายาง
แบบราคาเดียวทัว่ ประเทศซึ่ งจะส่ งเสริ มต่อการสร้างเสถียรภาพราคายาง
3.1.8 การแก้ ปัญหายางจะต้ องนาองค์ กรเอกชนและองค์ กรเกษตรกรเข้ ามามีส่วนร่ ว ม การ
แก้ปัญหายางเกี่ยวข้องโดยตรงกับเกษตรกรชาวสวนยางและผูป้ ระกอบการตั้งแต่
ผลิตภัณฑ์กลางน้ าจนถึงปลายน้ า ที่ผ่านมาหน่ วยงานของรัฐคิดและแก้ปัญหาแบบ
แยกส่ วน จาเป็ นที่จะต้องนาผูป้ ระกอบการเข้ามาเป็ นส่ วนร่ วมในการแก้ปัญหา
13
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (6)
3.2 ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายางอย่ างยัง่ ยืน (1)
3.2.1 ควรปฏิ รู ป บทบาทและหน้ า ที่ ข องหน่ ว ยงานรั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ยางทั้ ง ระบบ
นโยบายแก้ปัญหายางเกี่ยวข้องกับหลายกระทรวง แต่ในทางปฏิบตั ิต่างใช้ขอ้ มูลของตนเอง
และไม่ได้ใช้แนวทางที่นายกรัฐมนตรี มีบญั ชาในการแก้ปัญหาเกษตรกร มีขอ้ เสนอดังนี้
1) การปฏิรูปเพือ่ ให้ เกิดการบูรณาการของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องกับยาง ปั จจุบนั มี
หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับยางมากกว่า 10 หน่วยงาน เกี่ยวข้องอยูก่ บั หลาย
กระทรวง ขาดการเชื่อมโยงทั้งด้านข้อมูลข่าวสาร การดาเนิ นงาน งบประมาณ
และเป้ าหมาย บางหน่วยงานหน้าที่-พันธะกิจมีการทับซ้อน
2) การจัดตั้งคณะกรรมการส่ งเสริ มและพัฒนาผลิตภัณ ์ ยางแห่ งชาติ โดยนา
หน่ วยงานของรั ฐและเอกชนรวมทั้งองค์กรเกษตรกรชาวสวนยางเข้ามาอยู่
ภายใต้คณะกรรมการชุ ดนี้ ซึ่ งนายกรั ฐมนตรี ควรเป็ นประธานโดยจะต้องมี
ยุทธศาสตร์และแผนงานการแก้ปัญหายางแบบบูรณาการทั้งระบบ
14
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (7)
3.2.2 มาตรการด้ านการตลาด
1) การสนับสนุนและพัฒนาตลาดกลางยาง ปั จจุบนั ตลาดชี้นาราคายางมีเพียงตลาดกลางหาดใหญ่ ควร
ส่ งเสริ มการพัฒนาตลาดให้เพิ่มขึ้น โดยสนับสนุนให้องค์กรเกษตรกรยางในพื้นที่เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการ
เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะราคายางทั้งในตลาดจริ ง (Spot Market)
และตลาดล่วงหน้า (Future Market)
2) โครงการนาร่ องตลาดกลางเชื่อมโยงกับเกษตรกร โดยให้มีการเชื่อมโยงกับสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและ
วิสาหกิจชุมชนที่ทาธุรกิจยางพาราให้มีศกั ยภาพเพิ่มขึ้น
3) การเร่ งรัดโครงการพัฒนาตลาด สาหรับตลาดสานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง ซึ่ งปั จจุบนั มี
อยู่ 108 แห่ ง ให้มีการเชื่ อมโยงโครงข่ายตลาดกลางยางพาราเพื่อให้เกษตรกรสามารถนาไปขายใน
แหล่งใกล้บา้ น
4) โครงการพัฒนาตลาดและระบบตลาดยางพารา ซึ่ ง มี ค วามขัดแย้งกัน ในหลักการที่ ไม่ต ้องการให้
ยางพาราเป็ นตลาดล่วงหน้า
5) โครงการจัดหาตลาดใหม่ เพื่อส่ งออกยางพารา การส่ งออกยางในรู ปของยางแผ่นรมควันและยางแท่ง
เป็ นการส่ งออกให้กบั ตลาดจีนสู งถึงร้อยละ 47 ควรพิจารณาตลาดที่มีศกั ยภาพ โดยเฉพาะประเทศซึ่ ง
เป็ นฐานการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น ประเทศอินเดีย ประเทศเกาหลี
15
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (8)
3.2.3 มาตรการทางด้ านการคลัง
1) กระทรวงการคลัง ให้มีการพิจารณาหักลดหย่อนภาษีสาหรับภาคธุรกิจซึ่ งมีการนา
ผลิตภัณฑ์จากยางพาราไปใช้ในธุรกิจโดยต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีการขึ้นทะเบียนไว้
ชัดเจน
2) กระทรวงอุตสาหกรรม โดยบีโอไอ (BOI) ควรจัดโรดโชว์ส่งเสริ มการลงทุน
ผลิตภัณฑ์ยางโดยให้สิทธิ ประโยชน์สูงสุ ด กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมควรให้การ
สนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมผลิ ต ภัณ ฑ์ ย างแปรรู ปประเภทต่ า งๆ กรมโรงงาน
อุตสาหกรรมจะต้องผ่อนคลายกฎระเบียบในการจัดตั้งโรงงานแปรรู ปผลิตภัณฑ์
ยางพารา แต่ตอ้ งคงมาตรฐานด้านสิ่ งแวดล้อม
3) แนวทางการส่ งเสริมการลงทุนผลิตภัณ ์ ยางของ BOI
(ก) ควรทบทวนการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมยางพาราขั้นต้น
(ข) ควรส่ งเสริ มการลงทุนผลิตภัณฑ์จากยางพาราในลักษณะที่เป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ป
16
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (9)
3.2.4 โครงการจั ดตั้ง สถาบันพัฒนาอุ ต สาหกรรมยางและศู นย์ ทดสอบมาตรฐานผลิต ภั ณ ์ ย าง
แนวคิ ดเกี่ ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมยางควรนาต้นแบบ เช่ น สถาบันยานยนต์ สถาบัน
อาหาร สถาบันเครื่ องนุ่งห่มซึ่งขับเคลื่อนโดยเอกชน โดยมีภาครัฐเป็ นผูส้ นับสนุน
3.2.5 โครงการควบคุมปริมาณการผลิตยางและการโซนนิ่ง การลดพื้นที่การปลูกยางต้องมีนโยบาย
ชัดเจนไม่ใช่ทาช่วงยางลงราคา แต่ตอ้ งกาหนดเป้ าหมายพื้นที่ที่จะลดจานวนการผลิต
3.2.6 โครงการถ่ ายทอดเทคโนโลยีและลดต้ นทุนการผลิตยาง
1) ด้ านลดต้ นทุนยางระยะเร่ งด่ วน ควรพิจารณางดการจัดเก็บเงินสงเคราะห์การทาสวนยาง
(CESS) เป็ นการชัว่ คราวและควรพิจารณาให้มีอตั ราคงที่ใกล้เคียงกับประเทศเพื่อนบ้าน
2) ด้ านการถ่ ายถอดเทคโนโลยี การให้กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม, กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
และ สกว.กาหนดแนวทางในการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมแปรรู ปยางทั้งในระดับสหกรณ์
และในระดับประเทศเพื่อให้เกิดการพัฒนาการแปรรู ปยางเป็ นผลิตภัณฑ์ยาง เป็ นการเพิ่ม
สัดส่ วนการใช้ยางในประเทศและมูลค่าเพิ่ม
17
www.tanitsorat.com
ข้ อเสนอแนะแนวทางการแก้ ปัญหายาง (10)
3.2.7 ควรปฏิรูปหน่ วยงานรั ฐที่เกี่ยวข้ องกับงานวิจัยยาง ควรมีการทบทวนบทบาทหน้าที่
ของหน่ วยงานเหล่านี้ และจะต้องมี ดชั นี ช้ ี วดั ในการที่ ผูว้ ิจยั จะต้องนาผลการวิจยั ไป
เผยแพร่ เพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลต่อการส่ งเสริ มพัฒนายางตั้งแต่ระดับ
ต้นน้ า กลางน้ าจนถึงการแปรรู ปผลิตภัณฑ์ยางขั้นสุ ดท้ายในเชิงพาณิ ชย์
3.2.8 ควรทบทวนแนวทางการควบคุมคุณภาพและถ่ ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับยางทั้งระบบ
จะต้องมีกระบวนการในการถ่ายทอดเทคโนโลยีต้ งั แต่ระดับการผลิตและการแปรรู ป
ยางพาราไปสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม
3.2.9 การส่ งเสริ ม ระบบการแบ่ ง ปั น ผลประโยชน์ ระหว่ า งเกษตรกรชาวสวนยางกับ
อุตสาหกรรมแปรรู ปยาง โดยมีการจัดตั้งกองทุนยาง มีสานักงานยางและผลิตภัณฑ์จาก
ยาง เพื่อให้มีระบบการเก็บเงินเข้ากองทุนสาหรับใช้ในการพัฒนาพันธุ์ยาง การดูแลยาง
รวมถึงชดเชยกรณี ยางราคาตกต่าซึ่งจะทาให้เป็ นการแก้ปัญหายางได้อย่างเบ็ดเสร็ จและ
ยัง่ ยืน
18
www.tanitsorat.com
END
19
www.tanitsorat.com