ระบบสารสนเทศ

Download Report

Transcript ระบบสารสนเทศ

Introductory Information System
ระบบสารสนเทศ
วิวฒ
ั นาการของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ระยะที่ 1 การประมวลผลข้ อมูลจากศูนย์ กลายในปี 1954 ถือเป็ นจุดเริ่มต้ น
ในการใช้ ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการมาจนถึงปัจจุบันนี้
ระยะที่ 2 การจัดการเกีย่ วกับการประมวลผลข้ อมูลในช่ วงปี 1965 และ
1979 การประมวลผลข้ อมูลจากศูนย์ กลางได้ ถูกขยายโดยมี
การจัดหาสารสนเทศต่ าง ๆ มาช่ วยในด้ านการจัดการและด้ าน
กิจกรรมต่ าง ๆ
ระยะที่ 3 การกระจายงานไปให้ ผู้ใช้ เป็ นขั้นตอนในการกระจายการควบคุม
สารสนเทศ ข้ อมูลจากส่ วนกลางจะถูกส่ งไปให้ ส่วนต่ าง ๆ ใน
องค์ กรเพือ่ ให้ มีการนาไปใช้ ในการทางาน
วิวฒ
ั นาการของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (ต่ อ.)
ระยะที่ 4 การจัดการทางด้ านเครือข่ าย เป็ นระยะที่ระบบสารสนเทศ
เพือ่ การจัดการได้ มีการพัฒนาโดยการนาเอาโปรแกรมสาเร็จรู ป
ทางด้ านการสื่ อสารมาใช้ เพือ่ ให้ ระบบได้ ประสบความสาเร็จ
ระยะต่ อไป ระบบผู้เชี่ยวชาญ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การ
จัดการทีจ่ ะมีต่อไปข้ างหน้ านั้นจะเป็ นการใช้ โปรแกรมในลักษณะที่
เรียกว่ า ปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence : AI) เพือ่ นามาใช้
ในการตัดสิ นใจ
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (MIS)
 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information
Systems [MIS] )
• เป็ นระบบที่ทำกำรรวมรวมข้อมูลเพื่อนำมำประมวลผล
วิเครำะห์ เพื่อสร้ำงสำรสนเทศสำหรับวัตถุประสงค์เฉพำะด้ำน
และนำเสนอสำรสนเทศให้กบั ผูท้ ี่ตอ้ งกำร
• ระบบสำรสนเทศถูกจัดทำเพื่อให้ตอบสนองควำมต้องกำรที่
หลำกหลำยแตกต่ำงกันไปโดยแต่ละระบบจะมีคุณสมบัติ
คุณลักษณะเฉพำะแตกต่ำงกันออกไปขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์
เฉพำะของระบบนั้นๆ
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (MIS) (ต่ อ)
 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information
Systems [MIS] )
• เป็ นระบบทีเ่ กีย่ วกับการจัดหาคนหรือข้ อมูล ทีม่ ีสัมพันธ์ กบั
ข้ อมูล เพือ่ การดาเนินงานขององค์ กร
• เพือ่ ช่ วยเหลือกิจกรรมต่ างๆของพนักงานในองค์กร เช่ น ลูกจ้ าง
เจ้ าของกิจการ ลูกค้ า และบุคคลทีเ่ ข้ ามาเกีย่ วข้ องในองค์ กร
• การประมวลผลของข้ อมูลจะช่ วยแบ่ งภาระการทางานและยัง
สามารถนาสารสนเทศมาช่ วยในการตัดสิ นใจของผู้บริหาร
• MIS เป็ นระบบซึ่งรวมความสามารถของผู้ใช้ งานและ
คอมพิวเตอร์ เข้ าด้ วยกัน
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 3 ประการ คือ
1. เครื่องมือในการสร้ าง MIS หมายถึงส่ วนประกอบหรือโครงสร้ าง
พืน้ ฐานทีร่ วมกันเข้ าเป็ น MIS และช่ วยให้ ระบบสารสนเทศ
สามารถดาเนินงานอย่ างมีประสิ ทธิภาพ โดยสามารถจาแนกได้ 2
ส่ วน ได้ แก่
1.1 ฐานข้ อมูล (Database) เป็ นหัวใจของ MIS เพราะว่ า
สารสนเทศทีม่ ีคุณภาพจะมาจากข้ อมูลทีด่ ี เชื่อถือได้ ทันสมัย และ
ถูกจัดเก็บอย่ างเป็ นระบบ ซึ่งผู้ใช้ สามารถเข้ าถึงและใช้ งานได้ อย่ าง
สะดวกและรวดเร็ว
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
1.2 เครื่องมือ (Tools) เป็ นเครื่องมือที่ใช้ จัดเก็บและประมวลผล
ข้ อมูล ได้ แก่
- อุปกรณ์ (Hardware) คือ เครื่องมือหรือส่ วนประกอบของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ที่
ช่ วยให้ การประมวลผลและการจัดการข้ อมูล มีความสะดวก รวดเร็ว
และถูกต้ อง
- ชุ ดคาสั่ ง (Software) คือ ชุ ดคาสั่ งทีท่ าหน้ าทีร่ วบรวมและ
จัดการเก็บข้ อมูล เพือ่ ใช้ ในการบริหารงานหรือการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผลข้ อมูล ปัจจุบันธุรกิจต้ อง
สามารถสั งเคราะห์ สารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้ งาน โดย
จัดลาดับและวิธีการของการประมวลผลข้ อมูล เพือ่ ให้ ได้ สารสนเทศ
ที่ต้องการ
3. การแสดงผล ปกติการแสดงผลจะอยู่ในรูปของรายงานต่ างๆ
ข้ อมูล (Data)
ข้อมูล หมำยถึง ข้อมูลดิบ (Raw data) ที่ถูกเก็บรวบรวมจำก
แหล่งต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอกองค์กร โดยข้อมูลดิบจะ
ยังไม่มีควำมหมำยในกำรนำไปใช้งำน หรื อตรงตำมควำม
ต้องกำรของผูใ้ ช้ เช่น รำยรับ- รำยจ่ำยที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
สารสนเทศ (Information)
สำรสนเทศ หมำยถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจำกกำรประมวลผลข้อมูล
ดิบ ที่ถูกจัดเก็บไว้อย่ำงเป็ นระบบ โดยผลลัพธ์ที่ได้สำมำรถ
นำไปประกอบกำรทำงำนหรื อสนับสนุนกำรตัดสิ นใจของ
ผูบ้ ริ หำร
เรำสำมำรถกล่ำวได้วำ่ สำรสนเทศเป็ นข้อมูลที่มีควำมหมำย
หรื อตรงตำมควำมต้องกำรของผูบ้ ริ หำร เช่น ยอดงบดุล
รำยงำนสรุ ปผลกำรดำเนินงำน รำยได้ เป็ นต้น
ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data & Information)
.
ข้ อมูล
1.5
1.1
1.2
1.8
….
ประมวลผล
สารสนเทศ
ยอดขายในงวด
สุ ดท้ายของปี
2546 นี้ คือ $1.8
ล้านบาท
ระบบสารสนเทศ (Information Systems)
ผู้จัดจาหน่ าย
สิ่ งแวดล้อม
องค์กร
ลูกค้ า
ระบบสารสนเทศ
ข้ อมูล
ประมวลผล
สารสนเทศ
Feedback
กฎ ข้ อบังคับ
ผู้สนับสนุน
คู่แข่ งขัน
รู ปแบบของสารสนเทศทีจ่ ัดหาให้ ผ้ จู ัดการ ซึ่งเป็ นผลมาจากการประมวลผลข้ อมูล
รูปแบบการแปลง
ข้ อมูล
•การเรียกข้ อมูล
•การวิเคราะห์
•การเก็บข้ อมูล
•การสาธิต
รูปแบบสารสนเทศ
•รายงาน
•แฟ้มใหม่
•แสดงกราฟิ ก
รู ปแบบของการแปลงข้ อมูลให้ อยู่ในรู ปสารสนเทศ



การเก็บข้ อมูล (Capture)
การวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis)
การเรียกข้ อมูลทีเ่ ก็บขึน้ มาใช้ (Retrieval)
รู ปแบบของสารสนเทศ



รูปของรายงาน (Report)
แฟ้มข้ อมูลใหม่ (New File)
แสดงผลลัพธ์ ในรูปแบบของกราฟ (Graphical Dispaly)
คุณสมบัตขิ องข้ อมูลทีด่ ี
1. ถูกต้ อง (accurate) ข้อมูลที่ดีจะต้องมีควำมถูกต้องและ
ปรำศจำกควำมคลำดเคลื่อน โดยข้อมูลที่ควำมถูกต้องจะช่วย
ส่ งเสริ มให้สำรสนเทศที่ได้มำเกิดควำมน่ำเชื่อถือมำกขึ้น แต่
ถ้ำข้อมูลเกิดควำมผิดพลำดหรื อมีขอ้ บกพร่ อง อำจจะส่ งผลให้
สำรสนเทศที่ได้มีควำมผิดพลำดหรื อไม่สำมำรถนำไปใช้
ประโยชน์ได้อย่ำงสมบูรณ์
คุณสมบัตขิ องข้ อมูลทีด่ ี (ต่ อ)
2. ทันเวลา (Timeliness) ข้อมูลจะต้องทันต่อเหตุกำรณ์และไม่
ล้ำสมัย ควำมล้ำสมัยของข้อมูลทำให้สำรสนเทศที่ได้มี
ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้นอ้ ยลง หรื อไม่เป็ นประโยชน์ต่อกำรใช้งำน
เลย เช่น ธุรกิจเกี่ยวกับกำรค้ำหลักทรัพย์ยอ่ มต้องกำรข้อมูลที่มี
ควำมทันต่อเวลำในระดับสูง ขณะที่ธุรกิจค้ำปลีกอำจไม่
ต้องกำรข้อมูลในรอบระยะเวลำสั้นๆ เป็ นต้น
คุณสมบัตขิ องข้ อมูลทีด่ ี (ต่ อ)
3. สอดคล้ องกับงาน (relevance) สำรสนเทศที่เป็ นประโยชน์ต่อ
ผูบ้ ริ ห ำรต้อ งได้ม ำจำกกำรประมวลผลของข้อ มู ล ที่ มี ส ำระ
ตรงกั น หรื อสั ม พั น ธ์ กั บ ปั ญหำของงำน ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ มี
ควำมสั ม พัน ธ์ กับ งำนถึ ง แม้จ ะเป็ นข้อ มู ล ที่ มี ค วำมถู ก ต้อ ง
เชื่ อ ถื อ ได้ และทั น ต่ อ เหตุ ก ำรณ์ แต่ ก็ จัด ว่ ำ ไม่ มี คุ ณ ภำพ
เนื่ อ งจำกไม่ ส ำมำรถน ำไปประกอบกำรตัด สิ น ใจหรื อไม่
สอดคล้องกับควำมต้องกำรของงำน
คุณสมบัตขิ องข้ อมูลทีด่ ี (ต่ อ)
4. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ข้อมูลบำงประเภทอำจมำ
จำกแหล่งข้อมูลที่ซับซ้อนและหลำกหลำยทั้งจำกภำยในและ
ภำยนอกองค์กำร ซึ่ งผูใ้ ช้ตอ้ งทำกำรตรวจสอบควำมถู กต้อง
และควำมน่ำเชื่อถือได้ของสำรสนเทศก่อนกำรนำมำใช้งำน มิ
เช่นนั้นอำจก่อให้เกิดผลเสี ยขึ้นกับองค์กำร เช่น ข้อมูลลวงจำก
คู่แข่ง ข้อมูลที่ เบี่ ยงเบน และข้อมูลที่ขำดควำมสมบูรณ์ เป็ น
ต้น
คุณสมบัตขิ องระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (MIS)
1. ความสามารถในการจัดการข้ อมูล (Data manipulation)
ระบบสำรสนเทศที่ดีตอ้ งสำมำรถปรับปรุ งแก้ไขและจัดกำร
ข้อมูล เพื่อให้เป็ นสำรสนเทศที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งำน
อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ
2. ความปลอดภัยของข้ อมูล (Data security) สำรสนเทศเป็ น
ทรัพยำกรที่สำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งขององค์กำร ถ้ำ
สำรสนเทศบำงประเภทรั่วไหลออกไปสู่บุคคลภำยนอก
โดยเฉพำะคู่แข่งขัน อำจทำให้เสี ยโอกำสทำงกำรแข่งขัน
หรื อสร้ำงควำมเสี ยหำยแก่ธุรกิจ
คุณสมบัตขิ องระบบสารสนเทศ (IS) (ต่ อ)
3. ความยื ด หยุ่ น (Flexibility) ระบบสำรสนเทศที่ ดี ต้ อ งมี
ควำมสำมำรถในกำรปรั บตัว เพื่อให้สอดคล้องกับกำรใช้งำน
หรื อปั ญหำที่เกิดขึ้น โดยที่ระบบสำรสนเทศที่ถูกสร้ำงหรื อถูก
พัฒนำขึ้นต้องสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของผูบ้ ริ โภค
ได้อยูเ่ สมอ โดยมีอำยุกำรใช้งำน กำรบำรุ งรักษำ และค่ำใช้จ่ำย
ที่เหมำะสม
คุณสมบัตขิ องระบบสารสนเทศ (IS) (ต่ อ)
4. ความพอใจของผู้ใช้ (user satisfaction) กำรพัฒนำระบบ
จะต้อ งใช้เงิ น ลงทุ นสู ง จึ ง ต้องใช้งำนให้คุม้ ค่ ำ ดังนั้น ธุ ร กิ จ
สมควรที่จะพัฒนำระบบให้ตรงกับควำมต้องกำรของผูใ้ ช้ และ
ทำให้ผใู้ ช้เกิดควำมพอใจต่อระบบ เพรำะถ้ำระบบไม่สำมำรถ
ให้สิ่งที่ ผูใ้ ช้ต้องกำร โอกำสที่ ร ะบบจะถูก ใช้งำนและได้รับ
ควำมนิ ย มก็ จ ะน้ อ ยลง ซึ่ งส่ ง ผลให้ ร ะบบสำรสนเทศไม่
สำมำรถช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ ำพในกำรด ำเนิ น งำนได้ต ำม
คำดหวัง และเป็ นผลให้เกิ ดควำมสู ญเสี ยหรื อไม่คุม้ ค่ำในกำร
ลงทุน
เป้าหมายของระบบสารสนเทศ





เพิ่มประสิ ทธิภำพกำรทำงำน เพราะเมื่อภาระงานของพนักงานมาก
ขึน้ ทาให้ การทางานไม่ ดีจึงต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วย
เพิ่มผลผลิต เพราะสามารถควบคุมการผลิต วัตถุดิบ สิ นค้ าคงคลัง
เพิ่มคุณภำพในกำรบริ กำรลูกค้ำ องค์ กรทีม่ ีธุรกิจเป็ นลักษณะบริการ
สามารถนาระบบสารสนเทศมาช่ วยอานวยความสะดวกได้
ผลิตสิ นค้ำใหม่และขยำยผลิตภัณฑ์ เราสามารถนาข้ อมูลสารสนเทศ
มาพยากรณ์ ความต้ องการของลูกค้ าได้
สำมำรถที่จะสร้ำงทำงเลือกในกำรแข่งขันได้ ผู้บริหารสามารถนา
สารสนเทศมาสร้ างกลยุทธ์ ในการแข่ งขันได้
เป้าหมายของระบบสารสนเทศ (ต่ อ.)


กำรสร้ำงโอกำสทำงธุรกิจ หากองค์ กรมีสารสนเทศทีถ่ ูกต้ องและ
รวดเร็ว ทาให้ ผู้บริหารสามารถทีจ่ ะลงทุนในธุรกิจทีม่ อี นาคตสดใส
ก่อนคูแข่ งได้ ซึ่งถือว่ าเป็ นการเพิม่ โอกาสในการลงทุน
กำรดึงดูดลูกค้ำไว้และป้ องกันคู่แข่งขัน การพัฒนาสารสนเทศให้
ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เหนือกว่ าคู่แข่ งขัน ลูกค้ าก็จะมาใช้ บริการและ
ประทับใจ
ประโยชน์ ของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
1. ช่ วยให้ ผ้ ูใช้ สามารถเข้ าถึงสารสนเทศทีต่ ้ องการได้ อย่ าง
รวดเร็วและทันต่ อเหตุการณ์
2. ช่ วยผู้ใช้ ในการกาหนดเป้าหมายกลยุทธ์ และการวางแผน
ปฏิบัตกิ าร สามารถที่จะบ่ งชี้แนวโน้ มของการดาเนินงานว่ าจะ
เป็ นไปในลักษณะใด
3. ช่ วยผู้ใช้ ในการตรวจสอบผลการดาเนินงาน โดยนาข้ อมูล
บางส่ วนมาประมวลผลเพือ่ ประกอบการประเมินสารสนเทศที่ได้
จะแสดงให้ เห็นผล การดาเนินงานว่ าสอดคล้ องกับเป้าหมายที่
ต้ องการเพียงไร
ประโยชน์ ของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
4. ช่ วยผู้ใช้ ในการศึกษาและวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหาโดย
ผู้บริหารสามารถค้ นหาสาเหตุและข้ อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ ในการ
ดาเนินงานได้ เพือ่ นามาจัดรู ปแบบใหม่
5. ช่ วยลดค่ าใช้ จ่าย ระบบสารสนเทศที่มีประสิ ทธิภาพจะช่ วย
ให้ ธุรกิ
บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ(ต่ อ)
1. หัวหน้ างานระดับต้ น เป็ นบุคลที่มีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรดูแลกำร
ปฏิบตั ิงำนแบบวันต่อวัน ได้แก่ หัวหน้ำงำน หัวหน้ำหน่วย และ
หัวหน้ำแผนก โดยหัวหน้ำงำนระดับต้นจะปฏิบตั ิงำนเกี่ยวข้องกับ
พนักงำนและลูกค้ำอย่ำงใกล้ชิด
2. ผู้จัดการระดับกลาง เป็ นบุคคลที่ทำหน้ำที่ควบคุมและประสำนงำน
ระหว่ำงหัวหน้ำงำนระดับปฏิบตั ิกำรและผูบ้ ริ หำรระดับสู ง เพื่อให้กำร
ประสำนงำนในองค์กำรรำบรื่ น งำนของผูจ้ ดั กำรระดับกลำงจะ
เกี่ยวข้องกับกำรนำผลสรุ ปของข้อมูลที่เกิดจำกกำรปฏิบตั ิงำนของ
พนักงำนระดับปฏิบตั ิกำรมำวิเครำะห์ปัญหำและหำแนวทำงกำร
ปรับปรุ งกำรดำเนินงำนเพื่อให้ได้ผลงำนตรงตำมเป้ ำหมำยและมี
ประสิ ทธิภำพ
บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ(ต่ อ)
3 ผู้บริหารระดับสู ง เป็ นกลุ่มบุคคลที่ทำกำรกำหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทำง วำง
นโยบำย และแผนงำนระยะยำวขององค์กำร โดยอำศัยข้อสรุ ปและ
สำรสนเทศจำกกลุ่มผูจ้ ดั กำรระดับกลำง และผลกำรปฏิบตั ิงำนของ
องค์กำร ตลอดจนนำข้อมูลสำคัญจำกภำยนอกองค์กำรเข้ำมำร่ วมใน
กำรวิเครำะห์ ตัวอย่ำงของผูบ้ ริ หำรระดับสูงได้แก่ คณะผูบ้ ริ หำร
ระดับสูง ประธำนบริ ษทั กรรมกำรผูจ้ ดั กำร หรื อผูว้ ำ่ กำร
บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ความสั มพันธ์ ของระบบสารสนเทศกับระดับผู้บริหาร
ระดับของผู้ใช้
ลักษณะของระบบ
• ที่มาของสารสนเทศ
•วัตถุประสงค์ของการใช้
สารสนเทศ
•ความถี่ของการใช้
สารสนเทศ
•ขอบเขตของสารสนเทศ
•ความละเอียดของ
สารสนเทศ
•การรายงานเหตุการณ์
•ความถูกต้ องของ
สารสนเทศ
ผู้จดั การระดับ
ปฏิบัตกิ าร
- ภายใน
- ปฏิบตั ิงาน
- สูง
ผู้จดั การระดับกลาง
- ภายใน
- ควบคุมผล
ปฏิบตั ิงาน
- ปานกลาง
ผู้จดั การระดับสู ง
- ภายในและภายนอก
- วางแผน
- ไม่แน่นอน
-แคบแต่ชดั เจต - ค่อนข้ างกว้ าง
-- มาก
- สรุปกว้ างๆ
- กว้ าง
- สรุปชัดเจน
- ที่เกิดขึ ้นแล้ ว
- สูง
- อนาคต
- ตามความเหมาะสม
- เกิดแล้ ว/กาลัง
จะเกิด
- ปานกลาง
บุคลากรในหน่ วยงานสารสนเทศ
1) หัวหน้ าพนักงานสารสนเทศ เป็ นบุคลำกรระดับสูงขององค์กำรที่ทำ
หน้ำที่และมีควำมรับผิดชอบในกำรควบคุมดูแลเกี่ยวกับกำร
บริ หำรงำนระบบสำรสนเทศของธุรกิจ หรื อบุคคลที่เป็ นหัวหน้ำของ
ทั้งหน่วยงำนวิเครำะห์และออกแบบระบบ เขียนชุดคำสัง่ ปฏิบตั ิกำร
และให้บริ กำรสำรสนเทศแก่องค์กำร
2) นักวิเคราะห์ และออกแบบระบบ มีหน้ำที่วิเครำะห์และออกแบบ
ระบบงำนในลักษณะต่ำงๆ ให้เป็ นไปตำมวัตถุประสงค์ขององค์กำร
และตรงตำมควำมต้องกำรของผูใ้ ช้
บุคลากรในหน่ วยงานสารสนเทศ (ต่ อ)
3) ผู้เขียนชุ ดคาสั่ ง เป็ นบุคคลที่ทำหน้ำที่เขียนชุดคำสัง่ เพื่อควบคุมและ
สัง่ งำนให้คอมพิวเตอร์ทำงำนตำมที่ผใู ้ ช้ตอ้ งกำร มี 2 กลุ่ม
- ผู้เขียนชุ ดคาสั่ งสาหรับระบบ (System Programmer) ทำหน้ำที
ดูแล ปรับปรุ งและแก้ไขชุดคำสัง่ สำหรับควบคุมและใช้งำนระบบ
- ผู้เขียนชุ ดคาสั่ งสาหรับใช้ งาน (Application Programmer) ทำ
หน้ำที่ควบคุม ดูแล และเก็บเอกสำร ตลอดจนบำรุ งรักษำและพัฒนำ
ชุดคำสัง่ ให้ดำเนินงำนอย่ำงมีประสิ ทธิภำพ
บุคลากรในหน่ วยงานสารสนเทศ (ต่ อ)
4) ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำหน้ำที่ดูแลและควบคุมกำรทำงำนของ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยผูค้ วบคุมเครื่ องคอมพิวเตอร์ควรมีควำมรู ้
เกี่ยวกับกำรทำงำนของอุปกรณ์ในส่ วนต่ำงๆ ของระบบคอมพิวเตอร์
และระบบเครื อข่ำย
5) ผู้จัดตารางเวลา ทำหน้ำที่จดั ตำรำงเวลำกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้กบั งำน
แต่ละชนิดภำยในห้องคอมพิวเตอร์ เช่น ช่วงเวลำใดจะใช้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ทำงำนอะไร เพื่อให้งำนทั้งหมดดำเนินไปอย่ำงสะดวก
รวดเร็ ว และไม่เกิดปัญหำระหว่ำงผูใ้ ช้
บุคลากรในหน่ วยงานสารสนเทศ (ต่ อ)
6) พนักงานจัดเก็บและรักษา เป็ นบุคคลที่ทำหน้ำที่เก็บรักษำและจัดทำ
รำยกำรของอุปกรณ์ และจัดทำเอกสำรที่เกี่ยวข้องชุดคำสัง่ ที่ใช้งำน
ตลอดจนทำดัชนีสำหรับข้อมูล เพื่อสะดวกในกำรค้นหำ ตลอดจน
ช่วยให้ระบบข้อมูลมีควำมปลอดภัย
7) พนักงานจัดเตรียมข้ อมูล ทำหน้ำที่ในกำรนำข้อมูลจำกเอกสำร
เบื้องต้นมำจัดให้อยูใ่ นรู ปแบบที่เครื่ องคอมพิวเตอร์สำมำรถทำควำม
เข้ำใจได้
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรม หมำยถึงควำมถูกต้องหรื อไม่ถูกต้องที่เป็ นตัวแทนศีลธรรมที่
เป็ นอิสระในกำรเลือกที่เป็ นกำรชักนำพฤติกรรมบุคคล กำรใช้
เทคโนโลยีสำรสนเทศใหม่ๆ สำมำรถทำให้เกิดกำรกระจำยอำนำจใน
องค์กร กำรบุกรุ กสิ ทธิส่วนบุคคลของผูอ้ ื่นหรื อของคู่แข่งขัน สิ่ งที่
ควรคำนึงถึงและถือเป็ นมิติของจรรยำบรรณสำหรับผูท้ ำงำนกับระบบ
สำรสนเทศ แบ่งได้เป็ น 4 ส่ วน คือ
1. ความเป็ นส่ วนตัว (Privacy) เป็ นควำมเกี่ยวข้องกับกำรรวบรวม
และใช้ขอ้ มูลส่ วนบุคคลและเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ เช่น ข้อมูล
ส่ วนตัวของผูใ้ ช้บตั รเครดิต
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ความถูกต้ อง (Accuracy) กำรเก็บข้อมูลไว้ในรู ปของอิเล็กทรอนิกส์
อำจมีขอ้ ผิดพลำดได้ อำจจะเก็บรวบรวมข้อมูลไม่ถูกต้อง หรื อมีกำร
แอบเข้ำมำแก้ไขข้อมูลที่ถูกต้องได้
3. ความเป็ นเจ้ าของ (Property) เป็ นเรื่ องของทรัพย์สินทำงปัญญำ
กำรมีสิทธิอนั ชอบธรรมในกำรถือครองซอฟต์แวร์ กำรคัดลอก
ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ และกำรลักขโมยซอฟต์แวร์
4. การเข้ ามาใช้ ข้อมูล (Access) เป็ นกำรมีระบบรักษำควำมปลอดภัยที่
ดีพอของข้อมูลในอันที่จะป้ องกันคลังข้อมูลส่ วนตัวและขององค์กร
และระดับชั้นของกำรเข้ำถึงข้อมูลของพนักงำน
ผลกระทบทางบวกของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. เพิม่ ความสะดวกสบายในการสื่ อสาร การบริการ และการผลิต ทำ
ให้ชีวิตคนในสังคมได้รับควำมสะดวกสบำย
2. เกิดสั งคมแห่ งการสื่ อสารและสั งคมโลก ทำให้มนุษย์สำมำรถติดต่อ
สื่ อกันได้อย่ำงรวดเร็ ว
3. ระบบผู้เชี่ยวชาญต่ างๆ ในฐานข้ อมูลความรุ้ เกิดกำรพัฒนำคุณภำพ
ชีวิตในด้ำนที่เกี่ยวกับสุ ขภำพและกำรแพทย์
4. เทคโนโลยีสารสนเทศสร้ างโอกาสให้ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาสจาก
การพิการทางร่ างกาย เกิดกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์ช่วยเหลือคนพิกำร ให้
สำมำรถพัฒนำทักษะและควำมรู ้ได้ เพื่อให้คนพิกำรสำมำรถช่วยเหลือ
ตนเองได้
ผลกระทบทางบวกของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
5. พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ กระตุน้
ควำมสนใจแก่ผเู ้ รี ยน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสื่ อในกำรสอน
6. การทางานเปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ีขนึ้ ช่วยลดเวลำในกำรทำงำน
ให้นอ้ ยลงและได้ผลผลิตมำกขึ้น เช่น ใช้โปรแกรมประมวลผลคำเพื่อ
ช่วยในกำรพิมพ์เอกสำร กำรใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในกำรออกแบบ
7. ผู้บริโภคได้ รับประโยชน์ จากการบริโภคสิ นค้ าทีห่ ลากหลายและมี
คุณภาพดีขนึ้ เช่นกำรเลือกซื้อสิ นค้ำผ่ำนอินเตอร์เน็ต
ผลกระทบทางลบของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ก่อให้ เกิดความเครียดขึน้ ในสั งคม เทคโนโลยีสำรสนเทศทำให้เกิด
ควำมเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงในองค์กรด้ำน วิถีกำรดำเนินชีวิต และ
กำรทำงำน ผูท้ ี่รับต่อกำรเปลี่ยนแปลงไม่ได้จึงเกิดควำมวิตกกังวล อีก
ทั้งกำรดำเนินธุรกิจในยุคเทคโนโลยีสำรสนเทศได้ก่อให้เกิดสภำวะ
กำรแข่งขันที่รุนแรง กำรทำงำนที่รวดเร็ ว เพื่อให้ชนะคู่แข่ง
2. ก่อให้ เกิดการรับวัฒนธรรมหรือแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมของคนใน
สั งคมโลก กำรสร้ำงค่ำนิยมใหม่ให้กบั สังคมก่อให้เกิดค่ำนิยมที่ไม่พึง
ประสงค์ข้ ึนในสังคมนั้น เช่นค่ำนิยมกำรแต่งกำย
ผลกระทบทางลบของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ก่อให้ เกิดผลด้ านศีลธรรม กำรเผยแพร่ ภำพหรื อข่ำวสำรที่ไม่ดีไปยัง
ประเทศต่ำงๆ จะมีผลกระทบต่อควำมรู ้สึกของคนในประเทศนั้นที่นบั
ถือศำสนำแตกต่ำงกัน และมีค่ำนิยมที่ต่ำงกัน
4. การมีส่วนร่ วมของคนในสั งคมลดน้ อยลง กิจกรรมทำงสังคมที่มี
กำรพบปะสังสรรค์กนั จะมีนอ้ ยลง สังคมเริ่ มห่ำงเหิ นจำกกัน เช่น
ทำงำนอยูท่ ี่บำ้ น กำรศึกษำทำงไกล
5. การละเมิดสิ ทธิเสรีภาพส่ วนบุคคล กำรนำเอำข้อมูลบำงอย่ำงที่
เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นไปเผยแพร่ ต่อสำธำรณชน ซึ่งข้อมูลบำงอย่ำง
อำจไม่เป็ นจริ ง ก่อให้เกิดควำมเสี ยหำยต่อบุคคล
ผลกระทบทางลบของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. เกิดช่ องว่ างทางสั งคม กำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศจะเกี่ยวข้องกับ
กำรลงทุน ผูใ้ ช้จึงเป็ นชนชั้นในอีกระดังหนึ่งของสังคม ขณะที่ผู ้
ยำกจนก็ไม่มีโอกำสใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ
7. เกิดการต่ อต้ านเทคโนโลยี เมื่อเทคโนโลยีเข้ำมำมีบทบำทต่อกำรใช้
งำนมำกขึ้น ทำให้คนที่ใช้วิธีในกำรทำงำนแบบเก่ำต้องเรี ยนรู ้
วิธีกำรใช้งำนใหม่ ก็เกิดกำรต่อต้ำนกำรนำเอำเทคโนโลยีเข้ำมำใช้
8. อาชญากรรมบนเครือข่ าย เช่น กำรขโมยควำมลับ กำรขโมยข้อมูล
สำรสนเทศ กำรบริ กำรสำรสนเทศที่มีกำรหลอกลวง บ่อนกำรพนัน
ผลกระทบทางลบของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
9. ก่อให้ เกิดปัญหาด้ านสุ ขภาพ กำรใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเวลำนำน ทำให้
สำยตำผิดปกติ เวียนศรี ษะ นอกจำกนี้ยงั มีผลต่อสุ ขภำพจิตเกิดโรค
ทำงจิตประสำท เช่น โรคคลัง่ อินเตอร์เน็ต นอกจำกนี้อำจทำให้เกิด
โรคอำรเอสไอ (Repetitive Strain Injury;RSI) ซึ่งเกิดจำกกำรใช้
แป้ นพิมพ์เป็ นเวลำนำน ทำให้มือและนิ้วเกิดกำรอักเสบ
ระบบสารสนเทศในมุมมองของธุรกิจ
องค์ กร
ระบบ
สารสนเทศ
การบริหาร/
จัดการ
เทคโนโลยี
แนวทางการใช้ระบบสารสนเทศในยุคปัจจุบนั
กลุ่มเทคนิค
คอมพิวเตอร์
ศาสตร์
ทฤษฎีการ
บริหารจัดการ
การวิจัยเพือ่
การจัดการ
ระบบ
สารสนเทศ สั งคมศาสตร์
จิตวิทยา
เศรษฐศาสตร์
กลุ่มพฤติกรรม
Sociotechnical system
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศ
 ระบบ ATMs ของธนาคาร
 ระบบจองตัว่ เครื่องบิน (airline reservation systems)
 ระบบลงทะเบียนเรียน (enrolments systems)
 ระบบทะเบียนคนไข้