Aircraft Maintenance Planning & Control - Introduction Section 1 By Samrit Ratanachena

Download Report

Transcript Aircraft Maintenance Planning & Control - Introduction Section 1 By Samrit Ratanachena

Section 1
Aircraft Maintenance Planning &
Control - Introduction
By Samrit Ratanachena
Mobile 084 3224277
e-mail address [email protected]
Introduction




The meaning of “Planning”
Planning มาจากภาษาลาตินว่า “Planum” หมายถึง พืน
้ ราบ (flat
surface)
่ แผน
ในภาษาอังกฤษหมายถึง การกาหนดแบบฟอร์มในทางราบ เชน
ทีแ
่ ละแบบพิมพ์เขียว (blueprint) ของสงิ่ ก่อสร ้างต่างๆ
Planning means;
- Looking ahead and chalking out future courses of action to
be followed.
- It is a preparatory step. It is a systematic activity which
determines when, how and who is going to perform a specific
job.
- Planning is a detailed programme regarding future courses
of action.
Definition of Planning

Koonttz and O’Donnell (คูณต์และโอดอลเนลส ์ 1968) ได ้นิยาม
ิ ใจล่วงหน ้าว่าจะทาอะไร ทาอย่างไร ทาเมือ
การวางแผน คือ การตัดสน
่ ใด
ื่ มชอ
่ งว่างจากปั จจุบน
และใครเป็ นผู ้กระทา การวางแผนเป็ นสะพานเชอ
ั ไปสู่
อนาคตตามทีต
่ ้องการ และทาให ้สงิ่ ต่างๆ เกิดขึน
้ ตามต ้องการ

Kast and Rosenveing (คาสต์และโรเซนเวน 1970)
ิ ใจล่วงหน ้าว่า จะทา
การวางแผน คือ กระบวนการของการพิจารณาตัดสน
อะไร อย่างไร มีการเลือกวัตถุประสงค์นโยบายโครงการและ วิธป
ี ฏิบต
ั เิ พือ
่
บรรลุวัตถุประสงค์นัน
้

AcRobb (แอคคอร์ป,1970)
ิ ใจก ้าวหน ้าและเป็ น
การวางแผน คือ วิธก
ี ารทีจ
่ าเป็ นของการทาให ้การตัดสน
สงิ่ ทีจ
่ ะต ้องมีอยูก
่ อ
่ นการกระทา การวางแผนจะต ้องหาคาตอบ 2 ประการนีใ้ ห ้
ได ้คือ
(1)
ความมุง่ หมายขององค์การหรือแผนงานคืออะไร
(2)
อะไรคือวิธก
ี ารทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ ทีจ
่ ะทาให ้บรรลุผลสาเร็จของความมุง่ หมายนั น
้
Definition of Planning (con’t)


Soon Wu (ซุนวู , 400 ปี กอ
่ นคริสตกาล)
“รู ้เรารู ้เขา รบร ้อยครัง้ ชนะร ้อยครัง้
รู ้เราแต่ไม่รู ้เขา เจ ้าจะชนะหนึง่ ครัง้ แพ ้หนึง่ ครัง้
ไม่รู ้เราไม่รู ้เขา รบร ้อยครัง้ แพ ้ร ้อยครัง้ .
It is rightly said;
“Well plan is half done”
“การวางแผนทีด
่ ี ประสบความสาเร็จไปกว่าครึง่ ”
Definition of Planning (con’t)
 สรุ ป การวางแผน คือ 5W+H
- “What” การกาหนดว่าจะทาอะไร?
- “Why” ทาไมจึงต้องทา?
- “Who” ใครบ้างที่จะเป็ นผูก้ ระทา?
- “When” จะกระทาเมื่อใด?
- “Where” จะทากันที่ไหนบ้าง?
- “How” กระทาอย่างไร?
 “Whom” ทาเพื่อใคร? – 6W+H
 ความสาค ัญของการวางแผน
1.
2.
3.
4.
5.
ชว่ ยในการกาหนดแนวทาง/ทิศทางการทางาน
ิ ใจ
ชว่ ยในการตัดสน
ชว่ ยให ้รู ้ โอกาส อุปสรรค
ชว่ ยในการควบคุมการทางาน
เป็ นหน ้าทีข
่ องการจัดการ
 ว ัตถุประสงค์ของการวางแผน
1.
2.
3.
4.
ชว่ ยกาหนดทิศทาง
ชว่ ยลดความไม่แน่นอน
ิ้ เปลืองของทรัพยากร
ชว่ ยลดความความสน
ชว่ ยในการควบคุม


ประโยชน์ของการวางแผน
ั เจน
1. ผู ้บริหารได ้ทบทวนขอบเขต หน ้าที่ ความรับผิดชอบได ้อย่างชด
2. ชว่ ยกาหนดวัตถุประสงค์และทิศทางการดาเนินงาน
3. เป็ นเครือ
่ งมือใชวั้ ดความสาเร็จ
4. ชว่ ยให ้หน่วยงานต่างๆ เห็นขอบเขตของปั ญหาและหน ้าที่
ิ ธิภาพและทิศ
5. เป็ นหลักในการดาเนินงาน สามารถตรวจสอบประสท
ทางการปฏิบต
ั งิ านได ้ตลอดเวลา
ล ักษณะของแผนทีด
่ ี
1. ปฏิบต
ั ไิ ด ้จริงและมุง่ ความสาเร็จตามเป้ าหมาย
ั เจน+มีรายละเอียด
2. ชด
ิ ธิภาพ
3. ประหยัด+มีประสท
4. ยืดหยุน
่ และปรับเปลีย
่ นได ้
5. เป็ นทีย
่ อมรับ
คุณสมบัตขิ องนักวางแผน
1. ประสบการณ์ด ้านการปฏิบต
ั งิ านภายในองค์การ
2. สามารถพิจารณาองค์การในภาพรวม
3. ควรมีความรู ้และความสนใจด ้านสงั คม การเมือง
เทคโนโลยี และด ้านเศรษฐกิจ
4. สามารถทางานร่วมกับผู ้อืน
่ ได ้ดี
้ ฐาน
กระบวนการวางแผนพืน
พันธกิจ
(Mission)
เป้ าหมาย
(Goal)
แผนงาน
(Plans)
พ ันธกิจ (Mission)
เหตุผลและขอบเขตในการดาเนินงานขององค์กร
เป้าหมาย (Goal)
ผลลัพธ์ซงึ่ องค์กรมุง่ ประสงค์จากการดาเนินงาน โดยต ้อง
สอดคล ้องกับพันธกิจ
- แบ่งตามระยะเวลา :- ระยะยาว กลาง และยาว
- แบ่งตามระดับการบริหารงาน (ระดับสูง-ระดับกลาง-ระดับต ้น)
แผนงาน (Plans)
วิธก
ี ารให ้บรรลุจด
ุ มุง่ หมาย หรือหมายถึง ข ้อความทีแ
่ สดงการ
กระทาทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะเฉพาะเจาะจงซงึ่ นาเสนอเพือ
่ ชว่ ยให ้
องค์การประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์
Type of Plans
Business Plans vs Operation Plans
Business Plans Operation
Plans
 Short-term planning
(<1 Y)
(1-3 M)
 Mid-term planning
(3-5 Y)
(3-18 M)
 Long-term planning
(>5 Y)
(>1 Y)
Levels of Management
vs
Levels of Planning
Levels of Management

“Levels of Management’ refers to a line of demarcation
between various managerial positions in an organization. The
number of levels in management increases when the size of
the business and work force increases and vice versa.

The levels of management can be classified in Three broad
categories: - Top level
-Middle level
- Operating level (Low)
Levels of Management in Airlines business
Levels of Planning

In management theory, it is usual
to consider that there are THREE
basic levels of planning, though in
practice there may be more than
three levels of management and to
an extent, there will be some
overlapping of planning operations.
The three levels of planning as the
follows;
1. Top level planning (Top)
2. Second level planning
(Middle)
3. Third level planning (Low)
Levels of Planning - Top level planning

Top level planning: also known as overall or strategic planning, top
level planning is done by the top management, i.e., board of directors.

It encompasses the long-range objectives and policies or organisation
and is concerned with corporate results rather than sectional
objectives.

Second level planning: also known as tactical planning, it is done by
middle level managers or departmental heads.

It is concerned mainly, not exclusively, with long-range planning, but its
nature is such that the time spans are usually shorter than those of
strategic planning.

Third level planning: also known as operational or activity planning,
it is the concern of departmental managers and supervisors. It is
confined to putting into effect the tactical or departmental plans. It is
usually for a short-term and may be revised quite often to be in tune
with the tactical planning
Operational Plans (แผนปฏิบัตก
ิ าร)

Operational plan is one that a manager uses to
accomplish his or her job responsibilities.
Supervisors, team leaders, and facilitators develop
operational plans to support tactical plans.
Operational plans can be;
้ ง้ เดียว เพือ
1. Single-use plans ; แผนใชครั
่
วัตถุประสงค์ทเี่ ฉพาะเจาะจง ไม่ได ้เกิดขึน
้ เป็ นประจา
และไม่มก
ี ารนามาใชอี้ ก
2. Continuing or ongoing plans; แผนถาวร
กาหนดขึน
้ สาหรับกิจกรรมทีเ่ กิดขึน
้ เป็ นประจาใน
ชว่ งเวลาหนึง่ ประกอบด ้วย
Operational Plans - Single-use plans
Single-use plans consist of;
1.Program (กลุม
่ แผนงาน) สาหรับกิจกรรมขนาดใหญ่ เป็ น
กิจกรรมต่างๆทีต
่ ้องปฏิบต
ั เิ พือ
่ ให ้บรรลุวต
ั ถุประสงค์และทันตาม
่ การเปลีย
เวลาทีก
่ าหนด เชน
่ นแบบเครือ
่ งบินใหม่ของสายการบิน
2.Project (แผนงานโครงการ) คล ้ายกับ Program แต่ขอบเขต
ั ซอนน
้
แคบกว่าและซบ
้อยกว่า บางครัง้ Project อาจเป็ นสว่ นหนึง่
่ การเปลีย
ของ Program เชน
่ นแปลงเก ้าอีน
้ ั่งผู ้โดยสารหรือการ
่ มฯ C-Check
วางแผนการซอ
3.Budget (แผนงบประมาณ) แสดงออกมาในรูปตัวเลขทีส
่ ามารถ
่
วัดได ้เพือ
่ เป็ นข ้อมูลทีเ่ ป็ นแนวทางในการปฏิบต
ั แ
ิ ละควบคุม เชน
่ มฯ ประจาปี 2555
แผนงบประมาณฝ่ ายวางแผนการซอ
Operational Plans - Continuing or
ongoing plans

Continuing or ongoing plans consist of;
1.Policies (นโยบาย) เหมือนข ้อแนะนาให ้ปฏิบต
ั ต
ิ าม
ิ ใจเมือ
ในการตัดสน
่ มีปัญหา
2.Standard Operating Procedure : SOPs
(มาตรฐานเพือ
่ การปฏิบต
ั งิ าน) มีความเฉพาะเจาะจง
มากกว่านโยบาย เป็ นการอธิบายลาดับขัน
้ ตอนการ
ปฏิบต
ั แ
ิ ละวิธก
ี ารเพือ
่ ให ้พนักงานปฏิบต
ั ต
ิ าม
3.Rules (กฎระเบียบ) มีขอบเขตแคบทีส
่ ด
ุ เป็ นการระบุ
สงิ่ ใดควรทาหรือไม่ควรทา
End