ผศ.พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Download Report

Transcript ผศ.พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

โดย
ผศ.พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Email:[email protected]
http://webstaff.kmutt.ac.th/~pochamarn.man/
องค์ กร หรือ องค์ การ
(Organization)
คือ อะไร ?
 องค์ กรคือกลุ่มของบุคคลหลาย ๆ คน มาทากิจกรรม
ร่ วมกัน เพื่อให้ บรรลุเป้ าหมายที่ตงั ้ ไว้ ประกอบด้ วย
ผู้บริหาร และ พนักงาน
ผู้บริหารมีหน้ าที่หลักๆในการบริหารองค์ กรคือ
 การวางแผน (P:Planning)
 การจัดองค์ กร (O:Organizing)
 การจัดคนเข้ าทางาน (S:Staffing)
 การอานวยการ (D:Directing)
 การควบคุมงาน (C:Controlling)
การจัดองค์ กร (Organizing) คือ อะไร?
การจัดความสัมพันธ์ ระหว่ างส่ วนต่ าง ๆ คือ ตัว
บุคคล และหน้ าที่การงาน เพื่อทาให้ เกิดการทางานที่มี
ประสิทธิภาพสามารถบรรลุเป้ าหมายได้
จะสามารถ
กาหนดได้ จากโครงสร้ างองค์ กร (Organization Structure)
หรือแผนภูมิขององค์ กร (Organization Chart) ซึ่งเป็ น
แผนภูมิท่ แี สดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ อย่ างเป็ นทางการ
ระหว่ างหน่ วยงานต่ าง ๆ ซึ่งจะช่ วยให้ เข้ าใจถึงอานาจ
หน้ าที่ ความรับผิดชอบ ของแต่ ละบุคคล

ผูอ้ ำนวยกำร
ฝ่ ำยผลิต
ฝ่ ำยกำรเงิน
ฝ่ ำยขำย
ฝ่ ำยบุคคล
พนักงำน
พนักงำน
พนักงำน
พนักงำน
การจัดองค์ กรทา เพื่อ อะไร ?
1) เพื่อช่ วยให้ สมาชิกในองค์ กรทราบถึงขอบเขตของงาน
2) เพื่อแสดงให้ เห็นถึงการประสานงานตามสายการบังคับ
บัญชา
3) เพื่อป้ องกันการทางานที่ซา้ ซ้ อน และขจัดข้ อขัดแย้ งในหน้ าที่
การงาน
4) ช่ วยให้ มองภาพความสัมพันธ์ ระหว่ างงาน ผู้ปฏิบัตงิ าน และ
เป้ าหมายขององค์ กร
5) การจัดองค์ กรที่ดชี ่ วยให้ ผ้ ูปฏิบัตงิ านได้ ทางานตามความ
ถนัดหรือตามความเหมาะสม
หลักการของการจัดองค์ กร
1) ความพยายามในการสร้ างโครงสร้ างองค์ กร หรื อแผนภูมิ
องค์ กร (Organization Structure or Organization Chart)
2) ความรั บผิดชอบและอานาจหน้ าที่
(Responsibility and Authority)
3) การกาหนดความสามารถและลักษณะจาเป็ น
(Matching Abilities and Requirements)
หลักการของการจัดองค์ กร
1. การสร้ างโครงสร้ างองค์ กร หรือแผนภูมิองค์ กร
ประกอบด้ วย
1. ช่ วงการควบคุม (Span of Control) อ้ างถึงจาก
จานวนบุคคลที่อยู่ภายใต้ การควบคุมของบุคคล 1 คน
ลินดอล เอฟ เออร์ วิก (Lyndall F. Urwick) ได้ กล่ าวไว้
ว่ าสาหรับผู้บริหารระดับสูงสุดนัน้ ไม่ ควรเกิน 4 คน แต่
ผู้บริหารระดับล่ างอาจจะเป็ น 8 ถึง 12 คน)
2. ระดับชัน้ ขององค์ กร (Organization Level) จะมีความสัมพันธ์ กับ
ช่ วงการควบคุม
ช่วงการควบคุมแคบ
ช่วงการควบคุมกว้าง
ช่วงการควบคุมกว้างมาก
 3. การจาแนกกลุ่มของกิจกรรม (Subdividing Activities) ในการ
จัดองค์ กรจาเป็ นที่จะต้ องจาแนกหน่ วยงานต่ าง ๆ ออกเป็ นกลุ่ม
ก่ อน โดยสามารถจาแนกได้ จาก
การตลาด
บริการ
- หน้ าที่ของงาน (Function)
ขาย
- ทาเล (Location)
การตลาด
ในประเทศ
ต่ างประเทศ
- ผลิตภัณฑ์ (Product)
การตลาด
กระเป๋า
รองเท้ า
- กลุ่มของลูกค้ า (Classes of Customers)
การตลาด
ลูกค้ าขายส่ ง
ลูกค้ าขายปลีก
- กระบวนการ (Process) เช่ น ภายในฝ่ ายผลิตสามารถแบ่ งกลุ่ม
เป็ นกระบวนการอบชุบ, กระบวนการฟอก, กระบวนการกลั่น
เป็ นต้ น
- อุปกรณ์ (Equipment) เช่ น ในทางสานักงานอาจจะแบ่ งเป็ นกลุ่ม
คอมพิวเตอร์ , กลุ่มเครื่องพิมพ์ ดีดไฟฟ้ า เป็ นต้ น
โครงสร้ างที่เป็ นพืน้ ฐานทั่วไปมีอยู่ 4 แบบ ดังนี ้
1. โครงสร้ างแบบงานหลัก (Line Organization) มีการ
แบ่ งหน่ วยงานย่ อยออกมาเป็ นสายบังคับบัญชาแบบตรง
ๆ
ลักษณะไม่ ซับซ้ อนมากนัก จึงเหมาะกับองค์ กรที่เพิ่งจะเริ่มก่ อตัง้
และมีขนาดเล็กไม่ มีหน่ วยงานที่ปรึกษาหรื อคณะกรรมการมา
ช่ วยผู้บังคับบัญชาสูงสุดในการทางาน
CEO
ฝ่ ายผลิต
ฝ่ ายการเงิน
ฝ่ ายขาย
ฝ่ ายบุคคล
พนักงาน
พนักงาน
พนักงาน
พนักงาน
ข้ อดี
1. ลักษณะโครงสร้ างเข้ าใจง่ าย
2. สายการบังคับบัญชาชัดเจน ซึ่งส่ งผลทาให้ เห็นอานาจ
หน้ าที่ชัดเจนด้ วย
3. สะดวกในการติดต่ อประสานงาน และสายการติดต่ อรวดเร็ว
ข้ อเสีย 1. ผู้บังคับบัญชาสูงสุดรั บภาระมาก
2. การดาเนินงานไม่ สามารถแบ่ งบ่ อยลงไป ทาให้ ยากแก่ การ
ควบคุม
2. โครงสร้ างองค์ กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา
(Line and Staff Organization)
การจัดองค์ กรรู ปแบบนีม้ ีหน่ วยงานที่ปรึกษา(Staff) มาช่ วยการทางาน
ให้ กับหน่ วยงานหลัก(Line)
หน้ าที่ของหน่ วยงานที่ปรึกษา สามารถแบ่ งได้ เป็ น 4 แบบคือ
1. ให้ คาปรึกษา (Advisory) ซึ่งจะมีอานาจการสั่งการน้ อยมาก
2. ให้ การควบคุม (Control) มีอานาจหน้ าที่ในการปฏิบัตงิ าน
3. ให้ บริการ (Service) ให้ คาปรึกษาและมีอานาจหน้ าที่ แต่ ไม่
เกี่ยวข้ องกับผลผลิตโดยตรง
4. ให้ ความร่ วมมือ (Coordinate) และประสานงานกับหน่ วยงานต่ างๆ
ผูจ้ ดั การใหญ่
ฝ่ ายวางแผนและวิจยั
ฝ่ ายตรวจสอบ
ฝ่ ายผลิต
ฝ่ ายการตลาด
วิศวกรรม เคมี โกดัง
ภาคกลาง
ภาคอีสาน
ฝ่ ายการเงิน
รับ-จ่าย
ภาคเหนือ
ภาคใต้
ฝ่ ายบุคคล
บัญชี
สรรหา ค่าจ้าง แรงงานสัมพันธ์
ข้ อดี 1. ความผิดพลาดจากการทางานจะลดน้ อยลง เนื่องจากมี
หน่ วยงานที่คอยให้ คาปรึกษา
2. ลดภาระหน้ าที่ของผู้บริหาร
ข้ อเสีย 1. อาจเกิดการขัดแย้ งระหว่ างหน่ วยงานหลักและ
หน่ วยงานที่ปรึกษา
2. การติดต่ อสื่อสารและดาเนินการล่ าช้ า
3. พนักงานมีความลังเลใจในการปฏิบัตติ ามคาสั่ง
4. ลดความสาคัญของผู้บริหาร ถ้ าหน่ วยงานที่ปรึกษามี
บทบาทมากขึน้
3. โครงสร้ างองค์ กรแบบเมตริกซ์ (Matrix Organization)
เป็ นโครงสร้ างที่เหมาะกับองค์ กรขนาดใหญ่ และมีรูปแบบการ
ทางานเป็ นโครงงานต่ างๆ อย่ างสม่าเสมอ
GENERAL MANAGER
Project Team
Functional Department
A B C D
1
2
3
จะเห็นได้ ว่าพนักงาน 1 คน จะอยู่ภายใต้ การบังคับบัญชาตาม
กลุ่มหน้ าที่การงานและภายใต้ ผ้ ูบริหารโครงงานที่ได้ จัดทาไว้ ทาให้
เกิดการไม่ มีเอกภาพของการบังคับบัญชา(Unity of Command)
ข้ อดี
ข้ อเสีย
มีการใช้ บุคลากรอย่ างคุ้มค่ า
ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชา
4. โครงสร้ างองค์ กรแบบไม่ เป็ นทางการ (Informal Organization)
เป็ นโครงสร้ างองค์ กรที่แสดงความสัมพันธ์ แบบไม่ เป็ นทางการ
ด้ วย ตัวอย่ างของความสัมพันธ์ แบบไม่ เป็ นทางการ เช่ น เกิดจาก
การที่ไปรับประทานอาหารด้ วยกันทุกเช้ า, เป็ นพี่น้องกัน, เป็ น
ผู้บังคับบัญชาเก่ า ซึ่งความสัมพันธ์ เหล่ านีอ้ าจทาให้ การบริหาร
องค์ กรมีประสิทธิภาพน้ อยลงได้ หรือเกิดการร่ วมมือกันระหว่ าง
หน่ วยงานได้
ผูจ้ ดั การใหญ่
ฝ่ ายวางแผนและวิจยั
ฝ่ ายตรวจสอบ
ฝ่ ายผลิต
ฝ่ ายการตลาด
วิศวกรรม เคมี โกดัง
ภาคกลาง
ภาคอีสาน
ฝ่ ายการเงิน
รับ-จ่าย
ภาคเหนือ
ภาคใต้
ฝ่ ายบุคคล
บัญชี
สรรหา ค่าจ้าง แรงงานสัมพันธ์
หลักการของการจัดองค์ กร
1. การสร้ างโครงสร้ างองค์ กร หรือแผนภูมิองค์ กร
2. ความรับผิดชอบและอานาจหน้ าที่ (Responsibility and Authority)
ผู้ท่ ไี ด้ รับมอบหมายถ้ ามีความรับผิดชอบใด ๆ จะต้ องสามารถมี
อานาจหน้ าที่ในการสั่งการควบคู่ไปด้ วย เพื่อที่จะสามารถ
ทางานให้ บรรลุความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายมา
3. การกาหนดความสามารถและลักษณะจาเป็ น (Matching abilities
and Requirements) ในแต่ ละตาแหน่ งงานควรกาหนด
ความสามารถหรือลักษณะของบุคคลที่จะมารับตาแหน่ งงานนัน้
เพื่อที่จะสามารถจัดหาบุคคลแทนได้
การพัฒนาองค์ กร
(Organization Development) ทาเพื่ออะไร
องค์ การจาเป็ นต้ องมีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงเพื่อให้
ประสิทธิภาพการดาเนินงานสามารถปรับตัวให้ เข้ ากับสภาพการ
เปลี่ยนแปลงต่ างๆได้
 การพัฒนาองค์ กร หมายถึง การใช้ ความพยายามในระยะยาวที่
จะปรับปรุ งความสามารถในการแก้ ปัญหา และ ฟื ้ นฟูองค์ กร
โดยเฉพาะวัฒนธรรมในการทางานร่ วมกันของทีมงานต่ างๆโดย
ต้ องอาศัยความร่ วมมือจากทีมที่ปรึกษาและใช้ ทฤษฎีพฤติกรรม
ศาสตร์ ม่ ุงสู่การเปลี่ยนแปลงทัง้ ระบบเริ่มจากผู้บริหารระดับสูง
สุดลงสู่ระดับล่ างตามหลักการพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์ การ
