‘Train the Trainers’ Workshop เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ • โครงการการจัดการเรียนการสอนเพือ ่ สรางแรงบั นดาลใจในการเรียน ้ วิทยาศาสตร ์ เว็บไซตและแหล งการเรี ยนรู้ ์ ่ • การเขาถึ ยนรูอย ประสิ ทธิภาพ ้ งและใช้แหลงการเรี ่ ้ างมี ่ • ปรัชญาดานการศึ กษาและแนวทางการปฏิบต ั ิ ้ • หน่วยการเรียนรู้ 3 หน่วยและการศึ กษารายละเอียด • การพัฒนาทีมทีม ่ ป ี.

Download Report

Transcript ‘Train the Trainers’ Workshop เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ • โครงการการจัดการเรียนการสอนเพือ ่ สรางแรงบั นดาลใจในการเรียน ้ วิทยาศาสตร ์ เว็บไซตและแหล งการเรี ยนรู้ ์ ่ • การเขาถึ ยนรูอย ประสิ ทธิภาพ ้ งและใช้แหลงการเรี ่ ้ างมี ่ • ปรัชญาดานการศึ กษาและแนวทางการปฏิบต ั ิ ้ • หน่วยการเรียนรู้ 3 หน่วยและการศึ กษารายละเอียด • การพัฒนาทีมทีม ่ ป ี.

‘Train the Trainers’
Workshop
1
เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์
• โครงการการจัดการเรียนการสอนเพือ
่ สรางแรงบั
นดาลใจในการเรียน
้
วิทยาศาสตร ์ เว็บไซตและแหล
งการเรี
ยนรู้
์
่
• การเขาถึ
ยนรูอย
ประสิ ทธิภาพ
้ งและใช้แหลงการเรี
่
้ างมี
่
• ปรัชญาดานการศึ
กษาและแนวทางการปฏิบต
ั ิ
้
• หน่วยการเรียนรู้ 3 หน่วยและการศึ กษารายละเอียด
• การพัฒนาทีมทีม
่ ป
ี ระสิ ทธิภาพและสามารถส่งเสริมการพัฒนาครู โดยการ
สะท้อนผานเพื
อ
่ นรวมงาน
การโค้ช การให้คาแนะนา และการทา
่
่
Action Research
• การฝึ กอบรม การให้ความช่วยเหลือ การติดตามและการรายงานผล
2
•
วันที่ 1
กำหนดกำร
นาเสนอเกีย
่ วกับ
– นาเสนอเกีย
่ วกับโครงการการจัดการเรียนการสอนเพือ
่ สรางแรงบั
นดาลใจใน
้
การเรียนวิทยาศาสตร ์ เว็บไซตและแหล
งการเรี
ยนรู้
่
์
– 5E learning cycle
– การสื บเสาะค้นควาทางวิ
ทยาศาสตร ์
้
– การเตรียมตัวสาหรับการสอนดวยหน
้
่ วยการเรียนรู้
– การศึ กษารายละเอียดหน่วย นิทรรศการเซลล ์ (Cell Expo)
•
วันที่ 2
– การศึ กษารายละเอียดหน่วย Healthy Soda Unit
– การศึ กษารายละเอียดหน่วย (คนลาฝน)
Rain Maker Unit
่
3
กำหนดกำร
•
วันที่ 3
– การเตรียมตัวของผู้สอนในการใช้หน่วยการเรียนรู้
– การสรางที
มงาน
้
– การสะทอนผ
านเพื
อ
่ นรวมงาน
กลุมครู
ผ้ท
ู าวิจย
ั Action
้
่
่
่
Research Monitoring and coaching
– บทบาทของศึ กษานิเทศก ์
– Supporting, Monitoring, Reporting, Planning
4
เป้ ำหมำยของ วิทยำศำสตร์เพื่อสร้ำงแรงบันดำล
ใจ Inspiring Science
• เพื่อพัฒนาศักยภาพของครูวิทยาศาสตร์ และนักวิทยาศาสตร์ ศกึ ษาเพื่อให้ สามารถพัฒนาหลักสูตรรวมทังสื
้ ่อการ
เรี ยนการสอน
• เพื่อพัฒนาสื่อการเรี ยนการสอนที่มีประสิทธิภาพสาหรับระดับชันมั
้ ธยมปี ที่ 1-3 เพื่อสารมารถนาไปจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้ น
• การจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้ บริ บทเป็ นฐาน (Context-based teaching and learning)
• การจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้เป็ นฐาน (Inquiry-based teaching
and learning)
• การเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ
• ทฤษฎีการสร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
• วัฎจักรการเรี ยนรู้แบบ 5 E ของ สสวท.
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
• การสอนวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ภาษาอังกฤษ
5
เป้ ำหมำยของ วิทยำศำสตร์เพื่อสร้ำงแรงบันดำล
ใจ Inspiring Science
• การขยายผลทัว่ ประเทศผ่านทาง
•
•
•
•
•
•
•
เว็บไชต์ Inspiring Science
รายการโทรทัศน์ครู (Teachers TV )
การฝึ กอบรมระดับภูมภิ าค
การนิเทศติดตามระดับภูมภิ าค
การสร้ างเครื อข่ายวิจยั เชิงปฏิบตั ิการในโรงเรี ยน
การสะท้ อนผ่านเพื่อนร่วมงาน
coaching and mentoring
6
เว็บไชต์ Inspiring Science
• สื่อการเรี ยนรู้ที่แบ่งตามมาตรฐานการเรี ยนรู้ ตัวชี ้วัด และระดับชัน้ ม.1-3
• รายละเอียดและคาอธิบายหน่วยการเรี ยนรู้ และหลักสูตรการเรี ยนการสอน
• รายละเอียดและคาอธิบายของแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ (learning
episode)
• รูปแบบสื่อการเรี ยนรู้และการดาวน์โหลด
• www.inspiringscience.obec.go.th
7
องค์ประกอบของหน่ วยกำรจัดกำรเรียนรู้
•
•
•
•
•
ใช้ บริบทเดียวกันตลอดหน่วยการเรี ยนรู้
แต่ละหน่วยประกอบด้ วย 3-4 แผนการจัดการเรี ยนรู้
เน้ นการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
มีกิจกรรม
การสอบ Quiz
8
สื่อกำรเรียนกำรสอน Inspiring Science
สื่อกำรเรียนกำรสอน Inspiring Science แต่ละแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ประกอบด้วย
• กำรนำเสนอของครู
– PowerPoints เพือ
่ ช่วยให้ครูไดสอนตามวั
ฎจักร 5E รวมทัง้ บริบทในแตละขั
น
้
้
่
– คลิปวิดโี อ ซึ่งประกอบดวยเรื
อ
่ งราว
บริบท
เพือ
่ นาเขาสู
่ ะสอน
้
้ ่ แนวคิดและทักษะทีจ
•
•
•
คู่มือครู
– การนาเขาสู
้ ่ บริบทการเรียนการสอน
– รายละเอียดของหลักสูตรการเรียนการสอนทัง้ หมดของแผนการจัดการเรียนรู้
– แนวทางการวัดผลเรียนรู้
– แนวทางการสอนตามวัฎจักรการเรียนรู้ 5 E ในแตละขั
น
้ ตอน
่
– แนวทางการเตรียมการสอน
ใบกิจกรรมสาหรับนักเรียน
วิดโี อการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
(เป็ นส่วนหนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพครู
อยางต
อเนื
่
่ ่อง)
9
วัฏจักรกำรเรียนรู้แบบ 5E
ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้จะใช้ วฏั จักร 5 E ตามขันตอนต่
้
อไปนี ้
• ขันสร้
้ างความสนใจ (Engagement)
• ขันส
้ ารวจและค้ นหา (Exploration)
• ขันอธิ
้ บายและลงข้ อสรุป (Explanation)
• ขันขยายความรู
้
้ (Elaboration)
• ขันประเมิ
้
น (Evaluation)
10
กำรใช้วฏั จักรกำรเรียนรู้แบบ 5E
• ดูคลิปวิดีโอการเรี ยนการสอนของครูที่ใช้ วัฏจักรการเรี ยนรู้ แบบ 5E ในชัน้ เรียน
• อภิปรายตามคาถามต่อไปนี ้
• ครูสร้ างความสนใจให้ นกั เรี ยนอย่างไร ?
• ครูทาอย่างไรในการศึกษา(หรื อ ดึง ‘Elicit’) แนวคิดของผู้เรี ยนออกมา
ในความรู้เดิมของผู้เรี ยน - ผู้แปล)
• ผู้เรี ยนสารวจและค้ นหาหน้ าที่ของปอดได้ อย่างไร
• ครูช่วยนักเรี ยนในการอธิบายผลการสารวจและค้ นหาได้ อย่างไร
• ครูขยายแนวคิดของผู้เรี ยนได้ อย่างไร
• ครูประเมินการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนได้ อย่างไร
(*เพื่อเข้ าใจ
11
การสร้ างความสนใจ
•
•
•
•
•
•
การนาเข้ าสูบ่ ริ บทintroduces the context
การจัดเตรี ยมเรื่ องราวหรื อสถานการณ์สาหรับการเรี ยนรู้นนั ้ ๆ
การทาให้ การเรี ยนรู้นนมี
ั ้ ความหมายและมีความสอดคล้ อง
สร้ างความสงสัยใคร่ร้ ูในแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ที่กาลังจะเรี ยน
ช่วยในการหาความรู้เดิมและความเข้ าใจที่คลาดเคลื่อนของผู้เรี ยน
ช่วยให้ ครูร้ ูว่าควรจะสอนอย่างไร/ระดับใด จึงจะสามารถพัฒนาความเข้ าใจของผู้เรี ยน
12
การสารวจและค้ นหา
• เป็ นขันที
้ ่สาคัญที่สดุ
• ผู้เรี ยนสร้ างความเข้ าใจจากประสบการณ์การเรี ยนรู้จากการลงมือปฏิบตั ิ
• เริ่มด้ วยการตอบคาถามปั ญหาสาคัญ ซึง่ อาจทาได้ โดย
•
•
•
•
การทาให้ ผ้ เู รี ยนมีความรู้สกึ ต้ องการความรู้ใหม่เพิ่มเติม
การออกแบบการทดลองเพื่อสืบเสาะค้ นคว้ าเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่ลกึ ลับน่าค้ นหา
การค้ นหาแบบรูปหรื อความสม่าเสมอของปรากฏการณ์
การค้ นหาแนวทางใหม่ในการแก้ ปัญหา
• ผู้เรี ยนไม่จาเป็ นต้ องค้ นพบทุกสิง่ ทุกอย่างได้ ด้วยตนเอง สามารถช่วยผู้เรี ยนได้ ตอ่ ดังนี ้
• การให้ คาแนะนา
• การให้ ข้อมูลที่สาคัญและเทคนิคที่ช่วยในการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน
• สิง่ สาคัญที่สดุ คือ ผู้เรี ยนต้ องมีแนวคิดเป็ นของตัวเอง
• ผู้เรี ยนต้ องสามารถสร้ างความเข้ าใจจากแนวคิดหรื อความรู้เดิมของตนเอง
13
การอธิบายและลงข้ อสรุป
• ครูมีบทบาทสาคัญในขันนี
้ ้ โดยการที่เด็กจะทาความเข้ าใจได้ ได้ มากเท่าที่ทาได้ มักจะเกี่ยวข้ อง
กับการเรี ยนรู้อย่างเป็ นระบบของ
• คาศัพท์เฉพาะทาง
• คานิยาม
• แบบจาลอง
• การเปรี ยบเทียบ
• ครูควรจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสร้ างคาอธิบายโดยการสะท้ อนความคิดผ่านการค้ นพบในขัน้ สารวจและ
ค้ นหา
• ครูสามารถวนซ ้าขันส
้ ารวจและค้ นหาได้ หลายครัง้ หากจาเป็ น : Explore → Explain
→ Explore → Explain
14
ขั้นขยายความรู้
• ขยายความเข้ าใจให้ ลมุ่ ลึกและครอบคลุมจากการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
• ใช้ ปัญหาหรื อคาถามเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนสามารถทาความเข้ าใจแนวคิดสาคัญได้ จริ งในทางปฏิบตั ิ
• ต้ องมีการคิดเตรี ยมการว่าจะประยุกต์นาแนวคิดสาคัญไปใช้ ซึง่ จะทาให้ การสอนขันนี
้ ้ง่ายขึ ้น
15
การประเมิน
• การวัดผล
• ควรมีการประเมินในทุกขันของ
้
5 E เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรี ยนในการทาความเข้ าใจ
– การประเมินแบบ Formative
• การประเมินเมื่อเรี ยนจบหน่วยการเรี ยนรู้เพื่อประเมินว่าสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของหน่วยหรื อไม่
เป็ นการประเมินแบบ Summative – เพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรี ยน
16
กระบวนการสื บเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ตัง้ คาถาม
ระบุตวั แปร
ระบุตวั แปรอิสระ
การตัง้ สมมติฐาน
การวางแผน
การดาเนินงาน
การวัด
การบันทึกขอมู
้ ล
การวิเคราะหและตี
ความหลักฐาน
์
การลงขอสรุ
ป
้
การประเมินหลักฐาน
การสื่ อสาร
17
การช่ วยเหลือนักเรียนตลอดกระบวนการ
• คาถามที่ช่วยนักเรี ยนในการสืบเสาะหาความรู้
• ใบกิจกรรมสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สามารถทาได้ ทงั ้ แบบปิ ด (Closed) และแบบเปิ ด
(open ended)แล้ วแต่กรณี
18
เคล็ดลับความสาเร็จ
• พัฒนาทักษะกระบวนการจากนันจึ
้ งนาไปใช้ ในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• ใช้ การสืบเสาะหาความรู้แบบปิ ดในตอนเริ่ มต้ น โดยการตอบคาถามใน “คาถามที่ช่วยนักเรี ยน
ในการสืบเสาะหาความรู้ (Enabling Question)” จากนันจึ
้ งค่อยปรับพัฒนาให้ เป็ น
การสืบเสาะหาความรู้แบบเปิ ดมากขึ ้น
• เริ่ มต้ นการเน้ นแนวคิดของ Fair Test (การทดสอบที่ยตุ ิธรรม) เช่น การเปลี่ยนสิ่งใดสิ่งหนึง่
(ตัวแปรต้ น) ควบคุมทุกสิ่งให้ เหมือนกัน (ตัวแปรควบคุม) และการวัดอะไรบางอย่าง (ตัวแปร
ตาม)
• กระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เช่น การเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้ นและการ
ควบคุมตัวแปรควบคุมอย่างชัดเจน เป็ นระบบ
• กระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนวางแผนเพื่อให้ ได้ ผลที่ถกู ต้ องและน่าเชื่อถือ (มีความเที่ยง)
19
กำรเตรียมตัวใช้แผนกำรจัดกำร
เรียนรู้
• เลือกหน่วยการเรี ยนรู้จากเว็บไซต์
• อ่านบทสรุปของแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้และแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้
• ดาวน์โหลดและพิมพ์คมู่ ือครู PowerPoint ใบกิจกรรมนักเรี ยน และคลิปวิดีโอ สาหรับ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1
• ดูคลิปวิดีโอสาหรับการพัฒนาวิชาชีพครูแบบต่อเนื่อง (Continuing Professional
development, CPD) ซึง่ เป็ นการคลิปวิดีโอการเรี ยนการสอนโดยใช้ แผนการจัดการ
เรี ยนรู้ Inspiring Science ในชันเรี
้ ยน
• อ่านบทนาในคูม่ ือครู
• อ่านคูม่ ือหลักสูตร
20
•
•
•
•
•
กำรเตรียมตัวใช้แผนกำรจัดกำร
เรี
ย
นรู
้
ศึกษาคาแนะนาของแต่ละขันของ
้
5 E เปรี ยบเทียบกับภาพนิ่ง ใน PowerPoint ดูคลิป
วิดีโอ และศึกษาใบกิจกรรม เพื่อให้ ร้ ูลาดับ และขันตอนในการเรี
้
ยนการสอน
ดาเนินกิจกรรมตามลาดับขันตอน
้
คิดคาถามเพิ่มเติม รวมถึงจังหวะและโอกาสที่จะใช้
คิดถึงการส่งเสริ มหรื อช่วยเหลือเพิ่มเติมที่จาเป็ นสาหรับผู้เรี ยน
คานึงถึงเวลาที่จะใช้ ในกิจกรรมนอกเวลา
21
Review: นิทรรศกำรเซลล์
• อ่านหัวข้ อการเตรี ยมการใช้ หน่วยการเรี ยนรู้ ศึกษาแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้
• อภิปรายกลุม่ ถึงความคาดหวังที่จะให้ นกั เรี ยนปฏิบตั ิ การจัดการเวลา คาถาม
เพิ่มเติม ความช่วยเหลือที่จาเป็ นสาหรับนักเรี ยน รวมถึงการนาไปฝึ กอบรม
เพื่อให้ แน่ใจว่าการนาไปใช้ จะประสบผลสาเร็จ
• นึกถึงสิง่ ที่ต้องการจะท้ าทายผู้เรี ยนเพื่อกระตุ้นให้ เกิดการพัฒนาความคิด
• อภิปรายความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับหน่วยการเรี ยนรู้
• เตรี ยมข้ อคิดเห็น/ข้ อมูลย้ อนกลับ
• มีข้อสงสัยที่ต้องการถามหรื อไม่
22
Review : Thai Soda
• อ่านหัวข้ อการเตรี ยมการใช้ หน่วยการเรี ยนรู้ ศึกษาแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้
• อภิปรายกลุม่ ถึงความคาดหวังที่จะให้ นกั เรี ยนปฏิบตั ิ การจัดการเวลา คาถามเพิ่มเติม ความ
ช่วยเหลือที่จาเป็ นสาหรับนักเรี ยน รวมถึงการนาไปฝึ กอบรม เพื่อให้ แน่ใจว่าการนาไปใช้ จะ
ประสบผลสาเร็จ
• นึกถึงสิ่งที่ต้องการจะท้ าทายผู้เรี ยนเพื่อกระตุ้นให้ เกิดการพัฒนาความคิด
• อภิปรายความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับหน่วยการเรี ยนรู้
• เตรี ยมข้ อคิดเห็น/ข้ อมูลย้ อนกลับ
• มีข้อสงสัยที่ต้องการถามหรื อไม่
23
Review : คนล่ำฝน (Rain
Maker)
• อ่านหัวข้ อการเตรี ยมการใช้ หน่วยการเรี ยนรู้ ศึกษาแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้
• อภิปรายกลุม่ ถึงความคาดหวังที่จะให้ นกั เรี ยนปฏิบตั ิ การจัดการเวลา คาถามเพิ่มเติม ความ
ช่วยเหลือที่จาเป็ นสาหรับนักเรี ยน รวมถึงการนาไปฝึ กอบรม เพื่อให้ แน่ใจว่าการนาไปใช้ จะ
ประสบผลสาเร็จ
• นึกถึงสิ่งที่ต้องการจะท้ าทายผู้เรี ยนเพื่อกระตุ้นให้ เกิดการพัฒนาความคิด
• อภิปรายความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับหน่วยการเรี ยนรู้
• เตรี ยมข้ อคิดเห็น/ข้ อมูลย้ อนกลับ
• มีข้อสงสัยที่ต้องการถามหรื อไม่
24
หน่ วยอื่น ๆ
•
•
•
•
•
•
Chaing Mai Rally
Fisherman’s Friend
Orchid Culture
Eco-home
Flood News
Astro Camp
25
กำรเตรียมตัวครูผสู้ อนในกำรใช้
หลักสูตร Inspiring Science
• เตรี ยมการจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการสาหรับครูวิทยาศาสตร์ ชนั ้ ม.1-3 จาก 10
โรงเรี ยนในเขตพื ้นที่การศึกษาของท่าน
• ในการอบรมเชิงปฏิบตั ิการนาเสนอหัวข้ อต่อไปนี ้
–
–
–
–
–
–
–
–
หลักสูตร Inspiring Science
เว็บไซต์ Inspiring Science สื่อ และแหล่งการเรี ยนการสอน
วัฏจักรการเรี ยนรู้แบบ 5E และการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
สร้ างกลุม่ ครูผ้ สู อนวิทยาศาสตร์ ในโรงเรี ยน
ศึกษารายละเอียดของหน่วยการเรี ยนรู้ทงั ้ 3 หน่วย
การสะท้ อนความเข้ าใจของแต่ละบุคคล
การนิเทศแบบ Coaching (การสอนแนะ, การสอนงาน)
การวางแผนปฏิบตั ิการทางานของกลุม่
26
กำรสร้ำงกลุ่ม
•
•
•
•
•
•
สรางกลุ
มครู
ผสอนวิ
ู้
ทยาศาสตรโดยมี
สมาชิกกลุมละ
4 คน
้
่
์
่
ในการอบรมเชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร แตละกลุ
มศึ
นและวางแผนเพือ
่
่
่ กษาหน่วยการเรียนรูร้ วมกั
่
เตรียมตัวในการใช้หน่วยการเรียนรูทั
งปฏิบต
ั ก
ิ ารและเมือ
่ กลับไป
้ ง้ ระหวางการอบรมเชิ
่
ปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีใ่ นโรงเรียน
จับคูครู
2 คนเพือ
่ ให้เป็ นผูรั
่ นการสะทอนความคิ
ด
่
้ บฟังและแลกเปลีย
้
จากกลุม
ั (coaching square)
่ 4 คน กาหนดการสอนแนะแบบจัตุรส
แตละกลุ
มของแต
ละโรงเรี
ยนรวมเป็ นกลุมสั
ั เชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร
่
่
่
่ งคมของผูวิ
้ จย
ใช้กรอบแนวคิดทีเ่ รียกวา่ “reality hexagon” ช่วยในการสะทอนถึ
งสภาพการ
้
จัดการเรียนการสอนตามแนวคิดปรัชญาและรูปแบบหลักการของหลักสูตร Inspiring
Science รวมไปถึงเพือ
่ ช่วยในการกาหนดจุดเน้นของการวิจย
ั เชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร
27
The Reality Hexagon
•
•
•
•
•
•
การสร้ างความสนใจ
การสารวจและค้ นหา
การอธิบายและลงข้ อสรุป
การขยายความรู้
การประเมิน
การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
OR
• การเรี ยนการสอนที่ใช้ บริ บทเป็ นฐาน
• วัฏจักรการเรี ยนรู้แบบ 5E
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• การเรี ยนการสอนที่ใช้ การสืบเสาะหาความรู้เป็ นฐาน
• ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
• การเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ
28
กำรจับคู่สะท้อนควำมคิด
• ครูในแต่ละทีมจับคูเ่ พื่อเป็ นคูส่ ะท้ อนความคิด
• คูส่ ะท้ อนความคิดสังเกตชันเรี
้ ยนทุกเดือน (สังเกตให้ ครบทังแผนการจั
้
ดการเรี ยนรู้ ) ในการสังเกตชันเรี
้ ยน
ใช้ คาถามต่อไปนี ้ในแต่ละขันของ
้
5E
– ผู้เรี ยนเรี ยนเข้ าใจหรื อไม่ว่าต้ องทาอะไร
– ผู้เรี ยนได้ ทาตามที่คาดหวังหรื อไม่
– การช่วยเหลือของครูเพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้มีประสิทธิภาพอย่างไร
– ประสิทธิภาพในการทางานกลุม่ ของผู้เรี ยนเป็ นอย่างไร
– บรรลุเป้าหมายของการเรี ยนรู้หรื อไม่
– ครูสอนในบริ บท (บริ บทของแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ ) หรื อไม่
– ครูกระตุ้นและส่งเสริ มการเรี ยนการสอนที่ใช้ การสืบเสาะหาความรู้ เป็ นฐานหรื อไม่
– นักเรี ยนได้ พฒ
ั นาความเข้ าใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ หรื อไม่
29
กำรจับคู่สะท้อนควำมคิด (ต่อ)
• หลังจากการสังเกตชันเรี
้ ยน คูส่ ะท้ อนความคิดควรจะพูดคุยและให้ ข้อเสนอแนะ โดยใช้ คาถาม
ต่อไปนี ้
– การสอนบรรลุจดุ ประสงค์หรื อไม่
– คุณคิดว่านักเรี ยนรู้สกึ อย่างไรเกี่ยวกับบทเรี ยนนี ้
– สิ่งใดที่ดาเนินไปได้ ด้วยดี
– สิ่งใดที่ไม่คอ่ ยดีนกั
– จะปรับปรุงอย่างไรในการเรี ยนการสอนครัง้ ต่อไป
– มีเป้าหมายอย่างไรในครัง้ ต่อไป
• สลับกันถามโดยใช้ คาถามเดิม ควรจะบันทึกสิ่งที่สะท้ อนออกมาใน logbook
30
Coaching and mentoring
• จากกลุม่ 4 คน สร้ างการสอนแนะแบบจัตรุ ัส ให้ แน่ใจว่า ผู้ถกู สอนแนะไม่ได้ coach
ผู้ที่สอนแนะตนเอง
• สอนแนะเดือนละครัง้
31
กระบวนกำรสอนแนะ
•
•
•
•
•
•
•
Preparation
Engage
Enrol
Review
Agree outcomes
Coach
Wrap up
32
Preparation
•
•
•
•
•
ศึกษาบันทึกการประชุมครัง้ ที่ผ่านมา
สิ่งที่ได้ พดู คุยไป
การดาเนินการที่เห็นพ้ อง
สิ่งที่จะเกิดขึ ้นในครัง้ นี ้
ตรวจสอบการวางแผนการทางาน
– ย ้าการนัดหมายการประชุม
– ตรวจสอบห้ องประชุมว่างพร้ อมและเหมาะสมกับการประชุม
– วัสดุอปุ กรณ์ที่ต้องการ
– เตรี ยมความพร้ อมของตนเอง
33
Engage
• สร้ างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผู้รับการสอนแนะ
• ต้ องสนใจอย่างแท้ จริ งในผู้รับการสอนแนะ
• สังเกตว่าผู้รับการสอนแนะเป็ นอย่างไรในวันนี ้ ดูเพื่อวัดว่าเป็ นอย่างไรในช่วงเริ่ มต้ นของการสอน
แนะ
• ดูว่ามีอะไรเกิดขึ ้นบ้ างกับผู้รับการสอนแนะทังที
้ ่บ้านและที่ทางาน
• จริ งใจและพร้ อมที่จะแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับตนเองต่อผู้สอนแนะ
34
Enrol
ในช่วงเริ่ มต้ นของการสอนแนะ
• ยืนยันความพร้ อมของผู้รับการสอนแนะว่าจะเข้ ารับการสอนแนะ
• ยืนยันเวลาที่ใช้
– ผู้รับการสอนแนะต้ องการหยุดกิจกรรมเวลาใด
– ผู้รับการสอนแนะมีการประชุมหรื อคาบสอนต่อจากกิจกรรมการสอนแนะทันทีหรื อไม่
35
Review
ทบทวนการสอนแนะครัง้ ที่ผ่านมากับผู้รับการสอนแนะ
• ผู้รับการสอนแนะมีการพัฒนาการสอนอย่างไร
• ผู้รับการสอนแนะได้ เรี ยนรู้อะไรบ้ าง นับตังแต่
้ มีการพบปะครัง้ ที่ผ่านมา ซึง่ อาจจะเป็ นประโยชน์
ต่อการสอนแนะ
• เกิดการเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ ดีขึ ้น หรื อแย่ลง หรื อไม่
• ความต้ องการของผู้รับการสอนแนะยังเหมือนเดิมหรื อไม่
36
Agree Outcomes
•
•
•
•
สิ่งใดที่ผ้ รู ับการสอนแนะต้ องการที่จะได้ รับจากกิจกรรมในครัง้ นี ้
สิ่งใดที่เกิดขึ ้นกับผู้รับการสอนแนะซึง่ ถือว่าเป็ นคุณค่าที่ได้ รับจากการสอนแนะ
ขอบเขตที่ต้องการในการรับการสอนแนะวันนี ้
ต้ องการเริ่ มต้ นจากประเด็นใดก่อน
37
Coach!
• ต้ องมีความสนใจใคร่ร้ ูและให้ ความสนใจ
• ให้ มีสิ่งที่เรี ยกว่า‘meta-state’ ตลอดเวลาและให้ กระบวนการสอนแนะเป็ นไปตามที่วางไว้
• มีความสนใจอย่างแท้ จริ ง คอยดูว่าตนเองรู้สกึ อย่างไร
• พร้ อมที่จะรับการสะท้ อนความคิดจากผู้รับการสอนแนะ
38
GROW
• G Goal. เป็ นเป้าหมายที่วางไว้ ซึง่ ต้ องชัดเจนเพียงพอ เพื่อให้ ร้ ู ว่าได้ บรรลุ
เป้าหมายแล้ ว
• R Reality. สิ่งที่เป็ นอยู่หรื อความเป็ นจริ ง ณ ปั จจุบนั เมื่อเปรี ยบเทียบกับ
เป้าหมายที่วางไว้ ซึง่ เป็ นขันตอนหนึ
้
ง่ ที่จะนาไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมาย
• O Options. ขันนี
้ ้เป็ นการระบุอปุ สรรคเพื่อหาวิธีการจัดการ
• W Way Forward. จากขันที
้ ่ผ่านมาให้ เปลี่ยนอุปสรรคเป็ นขันตอนการ
้
ปฏิบตั ิที่จะนาไปสูเ่ ป้าหมาย
39
Wrap Up
• ในขันสุ
้ ดท้ ายของการสอนแนะแต่ละครัง้ ให้ ตรวจสอบว่าผู้รับการสอนแนะได้ บรรลุจดุ ประสงค์
มีความคิดริ เริ่ มและพร้ อมที่จะเผชิญปั ญหา
• ทาข้ อตกลงและให้ คามัน่ ที่จะดาเนินการต่อไป
• นึกถึงคาถามปลายเปิ ดเพื่อเปิ ดโอกาสให้ ผ้ รู ับการสอนแนะได้ สะท้ อนความคิด
• เขียนบันทึกเกี่ยวกับการสอนแนะครัง้ นันและสะท้
้
อนความคิดของผู้สอนแนะในข้ อค้ นพบต่าง ๆ
– อะไรที่ดาเนินไปด้ วยดี
– อะไรที่ดาเนินไปได้ ไม่ดีนกั
– จะทาอย่างไรให้ แตกต่างจากเดิม
40
Action Research Communities
• แต่ละโรงเรี ยนสร้ างกลุม่ ทางานที่เรี ยกว่า (ARC)
• กระตุ้นให้ สมาชิกแต่ละคนในกลุม่ สะท้ อนความคิด
• กระตุ้นให้ ครูมีบทบาทสาคัญและเป็ นผู้ตดั สินใจในรูปแบบหรื อวิธีการพัฒนาวิชาชีพครูอย่าง
ต่อเนื่อง (CPD) ตลอดทังกระบวนการวิ
้
จยั เชิงปฏิบตั ิการ
• พัฒนาความรู้และความเข้ าใจในการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ ซึง่ เป็ นรูปแบบหนึง่ ของการพัฒนา
วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ อย่างต่อเนื่อง
41
Action Research Approaches
• ครูแต่ละคนควรจะมีสมุดบันทึกที่เรี ยกว่า logbook เพื่อบันทึกกิจกรรม รวมทัง้
ร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ เช่น
– รูปถ่าย
– ตัวอย่างชิ ้นงานของนักเรี ยนในชันเรี
้ ยน
– บันทึกและแผนการทางานของแต่ละคน
• สามารถใช้ เครื่ องมือวิจยั ดังต่อไปนี ้
–
–
–
–
–
อนุทินของผู้เรี ยน
การสังเกต
แบบสอบถาม
การสะท้ อนจากเพื่อนร่วมงาน
การสัมภาษณ์ผ้ เู รี ยน หรื อการสัมภาษณ์กลุม่
42
คำถำมสำหรับกำรเขียนอนุทินของผูเ้ รียน
•
•
•
•
•
•
วันนี ้นักเรี ยนได้ เรี ยนรู้อะไร
นักเรี ยนได้ พฒ
ั นาทักษะอะไรบ้ าง
อะไรบ้ างที่นกั เรี ยนรู้สกึ เพลิดเพลิน
อะไรบ้ างที่นกั เรี ยนไม่เข้ าใจ
มีประเด็นอื่นอะไรบ้ างที่นกั เรี ยนชอบในบทเรี ยนนี ้
คาถามเหล่านี ้สามารถใช้ เป็ นคาถามในการสัมภาษณ์รายบุคคลและกลุม่ ได้ ด้วย
43
แบบสอบถำมสำหรับผูเ้ รียน
ประเด็น
เห็นด้ วยอย่ าง
ยิ่ง
เห็นด้ วย
ไม่ แน่ ใจ
ไม่ เห็นด้ วย
ไม่ เห็นด้ วยอย่ าง
ยิ่ง
ฉันรู้สกึ เพลิดเพลินกับ
...............
ฉันได้ พฒ
ั นาทักษะ
..........
ฉันได้ เรี ยนรู้ว่า .........
ฉันเข้ าใจว่า.............
ฉันได้ มีส่วนร่วมใน
การทางานกลุ่มได้ ดี
เมื่อ................
44
วัฏจักรกำรวิจยั เชิงปฏิบตั ิ กำร
การดาเนินการ
แบ่งปั นและ
ปรับแผน
การวางแผน
ปฏิบตั ิการ
รวบรวมข้ อมูล
การสะท้ อน
จากข้ อมูลที่
ได้ รับ
45
บทบำทของศึกษำนิเทศก์
• จัดเตรี ยมและดาเนินการอบรม
• สร้ างกลุม่ การทางานในโรงเรี ยน
• ให้ ความช่วยเหลือสนับสนุนและติดตามแต่ละโรงเรี ยนโดย
– ติดต่อทางอีเมลล์และโทรศัพท์เดือนละครัง้
– นิเทศภาคเรี ยนละหนึง่ ครัง้ (หากครูมีปัญหาสามารถนิเทศได้ มากกว่าหนึ่งครัง้ หรื อนิเทศเร็วกว่ากาหนด)
• จัดการพบปะในช่วงท้ ายของภาคเรี ยนเพื่อให้ ทกุ โรงเรี ยนเข้ าร่วมและนาเสนอประสบการณ์ที่ได้ รับและผลที่
ได้ รับ
• ในช่วงท้ ายของปี การศึกษา จัดการนาเสนอโดยโรงเรี ยนที่เข้ าร่ วมโครงการอยู่แล้ ว ให้ โรงเรี ยนที่จะเข้ าร่วม
โครงการใหม่
• เขียนสรุปรายงานประจาเดือนแล้ วอัพโหลดขึ ้นเว็บไชต์ Inspiring Science
• ติดตามเพื่อให้ แน่ใจว่าโรงเรี ยนได้ อพั โหลดรายงานประจาภาคเรี ยนขึ ้นเว็บไซต์เรี ยบร้ อยแล้ ว
46
Supporting
•
•
•
•
ให้ แน่ใจว่าโรงเรี ยนสามารถเข้ าถึงแหล่งการเรี ยนรู้ได้
ตอบรับจดหมายและโทรศัพท์เมื่อโรงเรี ยนหรื อครูมีปัญหาหรื อคาถาม
ติดต่อหัวหน้ ากลุม่ ประจาโรงเรี ยนทางอีเมลล์และโทรศัพท์ติดตามทุกเดือน
เยี่ยมโรงเรี ยนทุกภาคเรี ยน
47
Reporting
• แต่ละโรงเรี ยนเขียนรายงานสัน้ ๆ ประจาแต่ละเดือน ส่งไปยังศึกษานิเทศก์
• ศึกษานิเทศก์สรุปรายงานประจาแต่ละเดือนแล้ วอัพโหลดขึ ้นเว็บไซต์
• แต่ละโรงเรี ยนสรุปรายงานเพื่อนาเสนอในวันที่มีการประชุมพบปะในช่วงท้ ายของภาคเรี ยน
รายงานฉบับนี ้ต้ องอัพโหลดขึ ้นเว็บไซต์ด้วย
48
Planning
สิ่งที่ต้องวางแผน
• หลักสูตรอบรม
• การส่งอีเมลล์ประจาแต่ละเดือนของโรงเรี ยนและการโทรศัพท์ติดตาม
• การเยี่ยมโรงเรี ยน
• Magnifier day (การประชุมพบปะในช่วงท้ ายของภาคเรี ยน)
• Voice confident day (การประชุมพบปะในช่วงท้ ายของปี การศึกษา)
49
รำยละเอียดติดต่อ :
ดร.กำนจุลี ปัญญำอินทร์
[email protected]
50