การประยุกต์ใช้วิธีการสอนทั่วไป

Download Report

Transcript การประยุกต์ใช้วิธีการสอนทั่วไป

การพัฒนาการเรียนการสอน
รศ.ดร.อัจฉรา ธรรมาภรณ์
การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนมีภารกิจ
สาคัญหลายประการ ทั้งในขั้นเตรียมการและขั้น
ดาเนินการ
1. วางแผนการสอน ทาประมวลรายวิชา แผนการสอน
รายวัน เพือ่ เตรียมการสอน เนือ้ หาสาระและกิจกรรมอย่ าง
เหมาะสม
2. รว้ ู ิธีสอน เทคนิคกลวิธี และพฤติกรรมการสอนอย่าง
หลากหลาย
รจ้ ู กั เลือกให้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เนือ้ หาสาระทีจ่ ะ
สอน สภาพผู้เรียน และแบบการเรียนของผู้เรียน
ไม่ มวี ธิ ีสอนใดทีด่ ที สี่ ุ ดทีเ่ หมาะกับทุกสถานการณ์
3. รจ้ ู กั ผูเ้ รียน
ทราบภูมหิ ลัง ธรรมชาติ ความสนใจ
เพือ่ สร้ างบรรยากาศความเป็ นมิตรต่ อกันระหว่ างผู้เรียนและ
ผู้สอน เชื่อมช่ องว่ างระหว่ างผู้เรียนทีม่ คี วามแตกต่ างระหว่ าง
วัฒนธรรมเชื้อชาติ ศาสนา สถานภาพทางเศรษฐกิจและ
สั งคม และสร้ างสภาพแวดล้ อมทีส่ ่ งเสริมการเรียนรู้
4. รจ้ ู กั การบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อค ุณภาพการเรียน
การสอน
ใช้ สื่ออุปกรณ์ ทีท่ นั สมัยและเหมาะสม
5. รจ้ ู กั แหล่งทรัพยากร แหล่งความรเ้ ู พื่อค้นคว้าและฝึก
ปฏิบตั ิ
6. รจ้ ู กั เลือกวิธีประเมินผล หลากหลายเหมาะสมกับ
วัตถ ุประสงค์
เน้ นอะไร? กระบวนการ หรือผลงาน
การจาหรือการกระทา
7. ผูส้ อนตัง้ คาถามเพื่อเตรียมการสอนอย่างมีค ุณภาพ
สอนทาไม เพือ่ พัฒนาทักษะอะไร
สอนใคร พืน้ ฐาน ภูมิหลัง ธรรมชาติของผู้เรียน
สอนอะไร เนือ้ หาสาระ
สอนอย่างไร การเลือกใช้ เทคนิคกลวิธีการสอน สื่ อ
กิจกรรม การฝึ กคิด การประยุกต์ ความรู้ ในการแก้ ปัญหาใน
ชีวติ ประจาวัน
สอนแล้วได้อะไร ผู้เรียนพัฒนาทักษะอะไรบ้ าง ตามที่
ต้ องการหรือไม่
การสอนที่มีค ุณภาพ
1. ผู้สอน ต้ อง…
รู้ ลกึ ในศาสตร์ ทีส่ อนและ
รู้ เกีย่ วกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน
สามารถเลือกวิธีสอนเทคนิคการสอนทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
กระตุ้นการสร้ างแรงจูงใจในการเรียน
ตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านต่ างๆให้ เกิดขึน้ กับ
ผู้เรียน
2. เน้ นการจัดระบบการเรียนรู้ ให้ เกิดขึน้ ในตัวผู้เรียน
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ การเข้ าถึงการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
เน้นสอน How to Learn
3. ลดการถ่ ายทอดความรู้ พัฒนาการเข้ าถึงแหล่ งความรู้
อย่ างหลากหลายผ่ านเทคโนโลยีสมัยใหม่
4. จัดกิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่ างผู้เรียน
5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะการคิดระดับสู ง คิด
วิเคราะห์ คิดแก้ ปัญหา คิดสร้ างสรรค์ คิดวิจารณญาณ
6. เน้ นบูรณาการ การเรียน
7. สอนเทคนิคการเรียนรู้ การอ่ านหนังสื อ กิจกรรมประกอบการอ่ าน
เช่ น การจดบันทึก รู ปแบบต่ างๆของ mapping กลวิธีการจา กลยุทธ์
การคิด
เปลีย่ นจุดเน้ นจากการสอน สู่ การเรียนรท้ ู ี่มีค ุณภาพ
ให้ผเ้ ู รียนได้มีบทบาทมากขึ้น ได้พฒ
ั นาทักษะสาคัญ
ดังนี้.......
1. การเรียนรู้ ด้วยตนเอง Self- directed Learning
สร้ างความรู้ ความเข้ าใจด้ วยตนเอง รักการเรียนรู้ ตลอดชีวติ
2. การวางแผนการทางาน
3. การทางานร่ วมกับผู้อนื่
4. การคิดระดับสู ง
คิดแก้ ปัญหา คิดวิเคราะห์ คิดสร้ างสรรค์ คิดวิจารณญาณ
ความรู้ ความสามารถในการจัดการข้ อมูล
สามารถผลิตผลงานทีม่ ีคุณภาพ
5. พัฒนาทักษะชีวติ และบุคลิกภาพทีเ่ หมาะสม
การจัดการเรียนการสอน
Student Centered
Teacher Centered
แนวคิด หลักการ การจัดการเรียนการสอน
แบบเน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง
Student Centered
การจัดการเรียนการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็ นสาคัญ
แนวคิด หลักใน การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนให้ ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการเป็ นผู้
เรียนรู้ โดยพยายามจัดกิจกรรมให้ ผู้เรียนได้ สร้ างความรู้ ได้ มี
ปฏิสัมพันธ์ กบั บุคคล สื่ อ และสิ่ งแวดล้ อมต่ างๆโดยใช้
กระบวนการต่ างๆเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้ และมีโอกาสในการ
นาความรู้ ไปประยุกต์ ใช้
เทคนิคสาคัญสาหรับผูส้ อน
1.การจัดกิจกรรมทีส่ ่ งเสริมให้ ผู้เรียนได้ สร้ างความรู้ ด้วยตนเอง
2. การจัดกิจกรรมทีส่ ่ งเสริมให้ ผู้เรียนได้ ทางานร่ วมกับผู้อนื่ อย่ าง
มีประสิ ทธิภาพ
3.การจัดกิจกรรมทีส่ ่ งเสริมให้ ผู้เรียนได้ นาความรู้ ไปใช้ ใน
ชีวติ ประจาวัน
ยึดหลัก
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนา
ตนเองได้
ผู้เรียนมีความสาคัญทีส่ ุ ด ส่ งเสริมให้ ผ้ ูเรียนพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มีความแตกต่ าง…
จุดเน้ นในด้ านพัฒนาของผู้เรียน
ปริมาณการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรียนรู้
ของผู้เรียน
หลักการพื้นฐานของแนวคิด การจัดการเรียนการสอน
แบบเน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง - Student Centered
•แนวคิดจากพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542
•แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542
หลักการพื้นฐานของแนวคิด การจัดการเรียนการสอน
แบบเน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง - Student Centered
1. ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบต่ อการเรียนรู้ ของตนเอง
รับผิดชอบเองหรือมีส่วนร่ วมในการเลือกหรือวางแผนในสิ่ ง
ทีจ่ ะเรียน ศึกษาค้ นคว้ า และประเมินผลการเรียนรู้ ด้วย
ตนเอง
2. ครู คอื ผู้อานวยความสะดวก (Facilitator)
และแหล่ งความรู้
3. การเรียนรู้ สาคัญและมีความหมายคือ เนือ้ หาทีจ่ ะสอน
และ วิธีสอนเทคนิคการสอน
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ต้ องพิจารณา
เนือ้ หาวิชา
ประสบการณ์ เดิม
ความต้ องการ ความสนใจของผู้เรียน
4. การเรียนรู้ จะประสบความสาเร็จหากผู้เรียนมีส่วนร่ วมใน
กิจกรรมการเรียนการสอน
5. สั มพันธภาพทีด่ รี ะหว่ างผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์ ทดี่ ภี ายใน
กลุ่มเพือ่ ส่ งเสริมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน
6. ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่ มุมทีต่ ่ างไปจากเดิม
มัน่ ใจในตนเอง ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
7. การศึกษาคือ การพัฒนาประสบการณ์ การเรียนรู้ ของ
ผู้เรียนหลายด้ าน ความรู้ ความคิด ทักษะความชานาญ
อารมณ์ ความรู้ สึก
หลักการจัดประสบการณ์การเรียนร ้ ู
แบบStudent Centered
การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ควรยึดหลักดังนี้
1. การเรียนรู้ เป็ นกระบวนการทีค่ วรเป็ นไปอย่ างมีชีวติ ชีวา ให้
ผู้เรียนมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
2. การเรียนรู้ เกิดขึน้ ได้ จากแหล่ งต่ างๆอย่ างหลากหลาย
ประสบการณ์ ความคิดของผู้เรียนแต่ ละบุคคลถือเป็ นแหล่ ง
เรียนรู้ สาคัญ
3. การเรียนรู้ ทดี่ จี ะต้ องเป็ นการเรียนรู้ ทเี่ กิดจากการค้ นพบ การ
สร้ างความรู้ ความเข้ าใจด้ วยตนเอง
4. การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ มีความสาคัญ
5. การเรียนรู้ ทมี่ ีความหมายแก่ ผู้เรียนคือการเรียนรู้ที่สามารถ
นาไปใช้ ในชีวติ ประจาวันได้
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอน ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่ งชาติ, 2543
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอน ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
ของผู้เรียน
1. ผู้เรียนมีประสบการณ์ ตรงสั มพันธ์ กบั ธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้ อม
2. ผู้เรียนฝึ กปฏิบัตจิ นค้ นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง
3. ผู้เรียนทากิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ จากกลุ่ม
4. ผู้เรียนฝึ กคิดอย่ างหลากหลายและสร้ างสรรค์ จนิ ตนาการ
รวมทั้งได้ แสดงออกอย่ างมีเหตุผลและชัดเจน
5. ผู้เรียนได้ รับการเสริมแรงให้ ค้นหาคาตอบ แก้ ปัญหา ทั้งด้ วย
ตนเองและร่ วมกับผู้อนื่
6. ผู้เรียนได้ ศึกษาค้ นคว้ า รวบรวมข้ อมูลและสร้ างสรรค์ ความรู้
ด้ วยตนเอง
7. ผู้เรียนได้ เลือกทากิจกรรมตามความสามารถ ความถนัดและ
ความสนใจ
8. ผู้เรียนฝึ กตนเองให้ มีวนิ ัยและความรับผิดชอบในการทางาน
9. ผู้เรียนฝึ กประเมิน ปรับปรุ งตนเองและยอมรับผู้อนื่ ตลอดจน
สนใจใฝ่ หาความรู้ อย่ างต่ อเนื่อง
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอน ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
ของผู้สอน
1. ผู้สอนเตรียมการสอนทั้งเนือ้ หาและวิธีการ
2. ผู้สอนจัดสิ่ งแวดล้ อมและบรรยากาศทีป่ ลุกเร้ า จูงใจและ
เสริมแรงให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้
3. ผู้สอนเอาใจใส่ ผู้เรียนเป็ นรายบุคคลและแสดงความเมตตา
ผู้เรียนอย่ างทัว่ ถึง
4. ผู้สอนจัดกิจกรรมและสถานการณ์ ให้ ผู้เรียนได้ แสดงออกและ
คิดอย่ างสร้ างสรรค์
5. ผู้สอนส่ งเสริมให้ ผู้เรียนฝึ กคิด ฝึ กทาและฝึ กปรับปรุงตนเอง
6. ผู้สอนส่ งเสริมกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ จากกลุ่ม พร้ อมทั้ง
สั งเกตส่ วนดีและปรับปรุงส่ วนด้ อยของผู้เรียน
7. ผู้สอนใช้ สื่อการสอนเพือ่ ฝึ กการคิด การแก้ ปัญหาและการค้ นพบ
ความรู้
8. ผู้สอนใช้ แหล่ งเรียนรู้ ทหี่ ลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณ์ กบั
ชีวติ จริง
9. ผู้สอนฝึ กฝนกริยามารยาทและวินัยตามวิถวี ฒ
ั นธรรมของไทย
10. ผู้สอนสั งเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง
หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
แบบ Student Centered
ควรยึดหลักดังนี้
1. เป็ นกิจกรรมทีช่ ่ วยให้ ผู้เรียนได้ มีส่วนร่ วมทั้งทางด้ านร่ างกาย
สติปัญญา สั งคมและอารมณ์
2. ยึดกลุ่มเป็ นแหล่ งความรู้ ทสี่ าคัญ
3. ยึดการค้ นพบด้ วยตนเองเป็ นวิธีการสาคัญ
4. เน้ นกระบวนการควบคู่ไปกับผลงาน
5. เน้ นการนาความรู้ ไปประยุกต์ ใช้ หรือใช้ ในชีวติ ประจาวัน
ปัจจัยสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
แบบ Student centered
การบูรณาการปัจจัยต่ างๆทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อผู้เรียนและการเรียนรู้
1. ปัจจัยด้ านการรู้ คดิ และการรู้ คดิ ทีเ่ กิดจากตนเอง
2. ปัจจัยด้ านแรงจูงใจและอารมณ์ ความรู้ สึก
3. ปัจจัยด้ านพัฒนาการทางสั งคม
4. ปัจจัยด้ านความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
หลักการทางจิตวิทยาการเรียนการสอนแบบ Student centered
14 ข้ อ ของแต่ ละปัจจัย
ปัจจัยด้านการรค้ ู ิดและการรค้ ู ิดที่เกิดจากตนเอง
1. ลักษณะของกระบวนการเรียนรู้
มีความตั้งใจ ผู้เรียนทีป่ ระสบผลสาเร็จจะกระตือรือร้ นมี
เป้าหมายชัดเจน
2. เป้าหมายของกระบวนการเรียนรู้
ช่ วยเหลือผู้เรียนให้ กาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ทมี่ ี
ความหมาย
3. การสร้ างความรู้
ช่ วยผู้เรียน ให้ คาแนะนาการเชื่อมโยงความรู้ จัดระบบ
หัวข้ อ การแยกประเภท การวางกรอบแนวคิด
4. การคิดเชิงกลยุทธ์
ให้ คาแนะนาในการพัฒนา ประยุกต์ ใช้ และประเมินผล
ทักษะการเรียนรู้ เชิงกลยุทธ์
5. การคิดทบทวนเกีย่ วกับการคิดของตน วิเคราะห์ การคิดการ
เรียนรู้ ของตนเองได้ ตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ เลือกกลยุทธ์
และวิธีการเรียนรู้ ได้ อย่ างเหมาะสม
6. สภาพแวดล้ อมการเรียนรู้ การเรียนรู้ ได้ รับอิทธิพลจาก
ปัจจัยต่ างๆมีผลทั้งทางบวกและทางลบ
ปัจจัยด้านแรงจูงใจและอารมณ์
7. แรงจูงใจและอารมณ์ มผี ลต่ อการเรียนรู้ ต้ องคานึงถึง
สภาพอารมณ์ ของผู้เรียน
8. แรงจูงใจภายในทีจ่ ะเรียนรู้ ในการสร้ างสรรค์ การคิด
ระดับสู งและความอยากรู้ อยากเห็นของผู้เรียน
9. ผลของแรงจูงใจทีม่ ตี ่ อความพยายาม
ปัจจัยด้านพัฒนาการและสังคม
10. อิทธิพลด้ านพัฒนาการทีม่ ตี ่ อการเรียนรู้
11. อิทธิพลด้ านพัฒนาการทีม่ ตี ่ อการเรียนรู้
ปัจจัยด้านความแตกต่างระหว่างบ ุคคล
12. ความแตกต่ างระหว่ างบุคคลในการเรียนรู้
13. การเรียนรู้ และความหลากหลาย
14. มาตรฐานและการประเมินผล
ร ูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม
มีหลากหลาย
การจัดการเรียนการสอนร่ วมสมัย
ในระดับอุดมศึกษา ผู้สอนควรประยุกต์ ใช้ วธิ ีการต่ างๆเหล่ านี้
Problem Based Learning PBL
Research Based Learning RBL
Self Directed Learning SDL
Cooperative Learning
Project Based Learning
การจัดการเรียนรู้ โดยผู้เรียนนาตนเอง
Self Directed Learning SDL
คือ กระบวนการศึกษาของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยเริ่มต้ นจากมี
ความตั้งใจ มีจุดมุ่งหมายทีช่ ัดเจน มีการวางแผนการเรียนรู้ มี
การแสวงหาความรู้ โดยการใช้ ทกั ษะในการศึกษาค้ นคว้ า และมี
การวัดและประเมินผลตนเองอยู่ตลอดเวลา
แบบผู้เรียนเรียนรู้ ด้วยการนาตนเอง
Self Directed Learning SDL
ผู้เรียน มีจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ มาจากความต้องการ
มีแนวทางการทางานและความรับผิดชอบ
มีการจัดการปฏิบัตติ ามแผน
และการประเมินผลการเรียนรู้ ของตนเอง
บทบาทของผู้เรียน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การถามตนเอง
จะเรียนรู้ อย่ างไร เมื่อใด ทาอย่ างไรจึงจะเรียนรู้ ได้ เร็วทีส่ ุ ด
จะมีวธิ ีการอย่ างไรในการศึกษาเรื่องนั้นๆ
จะใช้ หนังสื อ เอกสาร หรือข้ อมูลอะไรบ้ าง อยู่ทไี่ หน
จะกาหนดจุดประสงค์ เฉพาะในการศึกษาของตนเองอย่ างไร
จะคาดหวังความรู้ ทักษะอะไร
จะประเมินผลการเรียนรู้ ของตนอย่ างไร
จะใช้ เกณฑ์ อะไรตัดสิ นว่ าประสบความสาเร็จหรือไม่
บทบาทของผู้สอน
1. ดูแลการกาหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ ของผู้เรียน
ให้ สอดคล้ องกับเนือ้ หาของหลักสู ตร สามารถทาสาเร็จได้
ภายในกรอบเวลาที่เหมาะสม
ให้ ผู้เรียนเลือกหัวข้ อ เนือ้ หา วิธีการ สื่ อการเรียน ได้ ตามความ
สนใจ และดาเนินการศึกษาด้ วยตัวเอง
2. ส่ งเสริมการวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การทา
แผนภูมิการปฏิบัตงิ าน การบริหารจัดการเรื่องเวลา
ให้ ผ้ ูเรียนนาเสนอ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเกีย่ วกับผลงาน
เพือ่ ตรวจสอบความเข้ าใจและความถูกต้ อง ชี้แนะสิ่ งผิดพลาด
3. ให้ คาปรึกษาแนะนาเป็ นระยะเกีย่ วกับ แหล่ งความรู้ วิธีค้นคว้ า
หาความรู้ การวิเคราะห์ และสรุปข้ อความรู้ ส่ งเสริมการใฝ่ รู้ และ
ทักษะการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
4. ส่ งเสริมการพัฒนายุทธวิธีการเรียนรู้ การทางานทีห่ ลากหลาย
การคิดทางเลือกในการทางานทีม่ ีประสิ ทธิภาพในแต่ ละครั้งและ
มีความพยายามในการพัฒนางานครั้งต่ อไป
5. มีการทดสอบสิ่ งทีเ่ รียนรู้ เป็ นระยะ ได้ ตามวัตถุประสงค์ หรือไม่
ควรปรับเปลีย่ นเป้าหมายหรือวิธีการหรือไม่
มีการประเมินผลทั้งด้ านเนือ้ หาและกระบวนการ
คุณสมบัตขิ องผู้เรียน
1.
2.
3.
4.
5.
เป็ นผู้ยอมรับตนเอง มีเจตคติเชิงบวกต่ อตนเอง
มีแรงจูงใจภายใน มีแรงจูงใจในการเรียน
สามารถประเมินตนเอง
เปิ ดกว้ างต่ อประสบการณ์
มีความเป็ นตัวของตัวเอง ยืดหยุ่น
การเรียนแบบใช้ ปัญหาเป็ นหลัก
Problem Based Learning PBL
การเรียนแบบใช้ ปัญหาเป็ นหลัก
Problem Based Learning PBL
เป็ นรู ปแบบการเรียนการสอนทีส่ อดคล้ องกับปัญหาและ
ความเป็ นจริงในสั งคม
มุ่งเน้ นให้ ผ้ ูเรียนได้ ศึกษาเนือ้ หาสาระและสร้ างองค์
ความรู้ คิดตอบคาถามและแก้ ปัญหาสอดคล้ องตรงกับปัญหา
จริงในสั งคม
มุ่งเน้ นการเข้ าใจปัญหาและการคิดหาแนวทางและ
ขั้นตอนการแก้ ปัญหา
เป็ นรู ปแบบการเรียนการสอนทีส่ อนกระบวนการแก้ ปัญหาทั้ง
ระบบ
ปัญหานั้นควรสั มพันธ์ กบั เนือ้ หาสาระทีเ่ รียนในหลักสู ตร
ผู้สอนมีบทบาทในการให้ คาแนะนา ติดตามการปฏิบัตงิ าน
เป็ นระยะ
มีการประเมินผลการเรียนรู้ ร่วมกันกับผู้เรียนทั้งทางด้ าน
กระบวนการและผลงาน
บทบาทของผู้สอน กระตุ้นให้ ผ้ ูเรียน
1. คิดถึงสภาพปัญหาทุกแง่ มุม รอบด้ าน
2. หาและเลือกแหล่ งข้ อมูลทีส่ อดคล้ องกับสภาพปัญหาและ
เชื่อถือได้
3. กาหนดขอบข่ ายการแก้ ปัญหา ทีเ่ ป็ นไปได้ ไว้ หลายๆวิธี
4. คิดถึงทุกวิธีทเี่ ป็ นไปได้ เลือกวิธีทมี่ ีความเป็ นไปได้ นาไปสู่ การ
แก้ ปัญหาได้ มากทีส่ ุ ด ไม่ จาเป็ นต้ องเป็ นวิธีเดียว
5. จินตนาการ ถึงสิ่ งที่เป็ นไปได้ ท้งั หมด
บทบาทของผู้สอน กระตุ้นให้ ผ้ ูเรียน
6. เกิดความใฝ่ รู้ ทักษะกระบวนการต่ างๆ เช่ น
กระบวนการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง
กระบวนการคิด
กระบวนการทางานกลุ่ม
กระบวนการแก้ ปัญหา
การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ
Cooperative Learning
แนวทางการจัดการเรียนรู้
กลุ่มย่ อย สมาชิกมีความแตกต่ างกัน มีความ
ช่ วยเหลือซึ่งกันและกันเพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมาย
องค์ ประกอบสาคัญ 5 ประการ
1. การปรึกษาหารืออย่ างใกล้ ชิดระหว่ างสมาชิกภายในกลุ่ม
(Face to Face Interaction)
2. ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ ละคน (Individual
Accountability/ Personal Responsibility)
3. ทักษะการทางานกลุ่มหรือทักษะทางสั งคม (Cooperative
Social Skill)
4. ความสาพันธ์ ในทางบวก (Positive Interdependent)
5. กระบวนการกลุ่ม (Group Process)
มีเทคนิคหลากหลาย
STAD
JIGSAW
TAI
TGT
GI
CIRC
การพัฒนาการสอนทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
ผู้สอนควรให้ ความสาคัญกับ การประยุกต์ กลวิธี เทคนิคการ
จัดการเรียนการสอนอย่ างหลากหลายและเหมาะสมกับบริบท
ความทันสมัยติดตามความก้ าวหน้ าทางวิชาการจาก
ผลการวิจยั ต่ างๆรวมทั้งการทาวิจยั ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
คุณภาพการจัดการเรียนรู้
ขอให้อาจารย์ท ุกท่านมีความส ุขกับการสอน
รศ.ดร.อัจฉรา ธรรมาภรณ์