Transcript Slide 1

Empowerment
อ.นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล
Objective
•อธิบายแนวคิด ความหมาย ความสาคัญ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง กับ
การสร้ างเสริมพลังอานาจได้
•อธิบายแนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องการสร้ างเสริมพลังอานาจ
รู ปแบบต่ างๆได้
•สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ ในกระบวนการดูแลผู้ป่วยและการ
ปฏิบัตงิ านในองค์ กรได้
Outline
ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับการสร้ างเสริมพลังอานาจ
(ความหมาย ความสาคัญ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง)
แนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
การนาไปประยุกต์ ใช้
History of Empowerment

เปาโล แฟร์ (Paulo Freire) นักศึกษาชาวบราซิล ในช่ วงปี
ค.ศ.1960 – 1970 แฟร์ ได้ ทาการสอนให้ ประชาชนอ่านและเขียน
หนังสื อได้ ด้ วยการให้ ผ้ เู รียน ร่ วมกันอภิปรายในประเด็นปัญหาทีเ่ ขา
เหล่ านั้นประสบอยู่และมีความสนใจ วิธีการดังกล่ าว นอกจากช่ วยให้
บุคคลได้ เรียนรู้ วธิ ีการพูด การเขียน และการอ่ านแล้ ว ยังช่ วยให้ บุคคลได้
เข้ าใจปัญหาของตน เห็นความสามารถของตน ซึ่งจะนาไปสู่ การกระทา
ในการแก้ไข ปัญหาให้ ดขี นึ้
ในช่ วงปี ค.ศ.1970 – 1990 แนวคิดการเสริมพลังอานาจได้ ถูกนามาใช้ ในการจัด
การศึกษาอย่ างแพร่ หลายในรูปของโปรแกรมการศึกษาและกลุ่มเป้ าหมายต่ างๆ ทาให้ มี
การใช้ ชื่อเรียกแตกต่ างกันไป เช่ น การศึกษาแบบมีส่วนร่ วมเพือ่ การเรียนรู้ หนังสื อ
การศึกษาเพือ่ คนส่ วนใหญ่ การฝึ กอบรมเพือ่ การสร้ างพลัง และโปรแกรมสุ ขศึกษาเพือ่
สร้ างพลังแห่ งตน
แนวคิดของ Empowerment

เน้ นให้ ผู้เรียนได้ มีส่วนร่ วมในการเรียนการสอนอย่ างแท้ จริง
(Active Participation) โดยใช้ วธิ ีการสนทนาแลกเปลีย่ น
ความรู้ และความคิดเห็นกันระหว่ างผู้เรียน ให้ ผู้เรียนระบุปัญหาของ
ตน วิเคราะห์ สาเหตุ และความเป็ นมาของปัญหาโดยใช้ วจิ ารณญาณ
การมองภาพสั งคมทีค่ วรจะเป็ นและการพัฒนากลวิธีทจี่ ะแก้ ไข
อุปสรรค เพือ่ ให้ บรรลุตามเป้าหมายทีต่ ้ องการ มีความเชื่อใน
ความสามารถของตนเองสู งขึน้ และทาให้ มีพฤติกรรมสุ ขภาพที่
ถูกต้ องมากขึน้ ในแต่ ละบุคคล
แนวคิดการสร้ างเสริมพลังอานาจ
เพิม่ ศักยภาพของบุคคล : ผู้บงั คับบัญชาถ่ ายโอนอานาจ ให้ อสิ ระใน
การตัดสิ นใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบตั ิงานให้
ผู้ใต้ บงั คับบัญชา
 การจัดสิ่ งแวดล้ อมทีเ่ อือ้ ต่ อการปฏิบัตงิ าน
 ส่ งเสริมให้ บุคคลเกิดความสามารถในทางานและแก้ ปัญหาต่ างๆได้
บรรลุผลสาเร็จของตนเองและองค์ กร
 มีความสาคัญต่ อองค์ กรทั้งในระดับบุคคลผู้ปฏิบต
ั งิ าน ผู้บริหารและ
ระดับองค์ กร

อารีย์วรรณ,2552 : p 2
ความหมาย
การสรางพลั
งอานาจ(Empowerment)
้
Passe = อานาจ(Power) กับ อิสรภาพ(Freedom)
อานาจ(Power) มาจาก รากศัพท์ ภาษาลาติน “Potere”=ความสามารถทีจ่ ะเลือก(The
ability to choose)
สรุป รากศัพท์ = ความสามารถที่จะเลือกอย่างอิสระ
Rodwell,1996:308;อ้างถึงในสานักการพยาบาล.2546:28
ความหมายและความสาคัญของการเสริมพลังอานาจ
กว้าง ซับซ้อน
•การเสริมพลังอานาจเป นกระบวนการถ าย
โอนอานาจให กับ ผู ใช บริการประชาชน
ในการพัฒนาและสร างความรู สึ กมีคุณค
าในตนเองให กับคนอืน่ ๆ เพราะฉะนั้นผู้ทจี่ ะ
เสริมพลังอานาจให กับคนอืน่ ได นั้นต อง
เห็นคุณค าของคนอืน่ และการจะมองเห็นคุณค
าของคนอืน่ จาเป นต องเห็น
คุณค าในตนเองก อน
แตกตางในแต
ละกลุ
ม
่
่
่
ทางบริหาร หมายถึงการ
มอบอานาจหรือแบ งป
น อานาจกัน
Rodwell ,1996:61
การเสริมสร้ างพลังอานาจ : เป็ นแนวคิดทีอ่ ธิบายกระบวนการทาง
สั งคม การแสดงถึงการยอมรับและชื่นชม การส่ งเสริม การพัฒนาและ
เสริมสร้ างความสามารถของบุคคลในการตอบสนองความต้ องการของ
ตนเองและแก้ปัญหาด้ วยตนเอง รวมถึงความสามารถในการใช้
ทรัพยากรทีจ่ าเป็ นในการดารงชีวติ เพือ่ ให้ เกิดความรู้สึกเชื่อมั่นใน
ตนเองและรู้สึกว่ าตนเองมีอานาจสามารถควบคุมความเป็ นอยู่หรือวิถี
ชีวติ ของตนเองได้
Gibson, 1991
กระบวนการทีบ่ ุคคล กลุ่ม
ชุมชน มีความสามารถในการ
ควบคุมชีวติ ของตนเอง
Rappaport,1984 อางในกองสุ
ขศึ กษา,2546:77
้
กระบวนการเกีย่ วข้ องกับการให้ อานาจ(Process of empowering)
หรือแง่ ผลลัพธ์ ของการให้ อานาจ(Result of empowering) หมายถึง
สภาพของการมีพลังอานาจโดยแสดงออกถึงคุณสมบัติของการมีอานาจในการ
ควบคุม จัดการ การเข้ าไปมีอทิ ธิพล และการใช้ ทรัพยากรหรือความรู้
ความสามารถของตนเองอย่างมีประสิ ทธิภาพ
Webster’s New World Dictionary
of the American Language
การเสริมสร้ างพลังอานาจด้ านสุ ขภาพ
•กระบวนการทีจ่ ะทาให ประชาชนมีอานาจมากขึน้ ในการตัดสิ นใจ
และดาเนินกิจกรรมต างๆ ทีม่ ีผลกระทบต อสุ ขภาพของตนเอง
•การเสริมสร างพลังอานาจเป นกระบวนการทางสั งคม
วัฒนธรรม จิตวิทยา หรือการเมือง ซึ่งทาให บุคคลและ
กลุ มต างๆ ในสั งคมสามารถที่จะแสดงออกซึ่งความต องการ
ความห วงใย ในด านต างๆ วางแผนกลยุทธ ที่จะ
เข าไปมีส วนร วมในการตัดสิ นใจและทาให กิจกรรมทาง
การเมือง สั งคมและวัฒนธรรม บรรลุผลตามความต องการ
องค์ การอนามัยโลก
การเสริมพลังอานาจในการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
ประกอบด้ วย
1. กิจกรรมที่มุ งเสริมทักษะชีวต
ิ ความสามารถของบุคคลให
เข มแข็งยิง่ ขึน้
2. กิจกรรมอืน
่ ๆ ที่จะมีอทิ ธิพลต่ อภาวะทางสั งคมและ
เศรษฐกิจ ตลอดจนสิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพที่เป็ นมูลเหตุ
ของปัญหาและส่ งผลกระทบต่ อสุ ขภาพ

องค์ การอนามัยโลก
•เป็ นกระบวนการช วยเหลือบุคคลในการควบคุมปัจจัย
ต่ างๆ ทีม่ ผี ลต อสุ ขภาพและคุณภาพของชีวติ ซึ่งทําให
บุคคลมีพลัง มีความผาสุ กและตระหนักในศักยภาพของ
ตนเองในการรักษาสุ ขภาพ
•การเสริมพลังอํานาจจะช วยให บุคคลสามารถ เข าถึง
แหล่ งประโยชน์ ต างๆ ทั้งในส่ วนบุคคลและสั งคม มาใช้ ให้
เกิดประโยชน กับสุ ขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
Gibson, 1991
การเสริมสร างพลังอํานาจเป น
กระบวนการที่เกิดขึน้ ระหว าง
พยาบาลและผู ใช บริการโดยมี
เป้าหมายเพือ่
การช วยเหลือให ผู ใช บริการ
ได มีการพัฒนาตนเองไปสู การมี
พฤติกรรมสุ ขภาพทีเ่ หมาะสม
Ellis-Stoll and Popkess-Vawter,1998
 Kieffer : การพัฒนากระบวนการบริหารจัดการและพัฒนา
ทักษะการมีส วนร วมและความเข าใจระบบการเมือง
การปกครอง โดยเปรียบเทียบได้ กบั การพัฒนาของมนุษย์ ดังนี้
1. ระยะการเริ่มต้ น เป็ นระยะทีบ่ ุคคลเริ่มมีส วนร วมในการ
สํ ารวจค้ นหาปัญหา
2. ระยะของความเป็ นจริง ระยะนีเ้ ป็ นระยะทีม่ ุ งเน้ นการ
เผชิญหน้ าและต่ อสู้ อปุ สรรค ยุ งยากที่ขัดขวางการตัดสิ นใจของ
ตนเอง ในระยะนีเ้ ป็ นระยะทีบ่ ุคคลได้ รับการพัฒนาภาวะผู้นํา พัฒนา
ทักษะ และพัฒนาองค์ การ และธํารงรักษาสิ่ งต่ างๆ เหล่านีไ้ ด้ คงอยู่
3. ระยะการมีข้อยึดมั่นผูกพัน เป็ นระยะทีม่ ีการบูรณาการความรู้
ใหม ๆ และทักษะ ในการเผชิญหน้ ากับความเป็ นจริง
Kieffer, 1984:6
การเสริมพลังอํานาจของเคฟเฟอร
การมองตามกระบวนการซึ่ง
เป็ นการถ่ ายทอด
กระบวนการช วยเหลือ
พัฒนาบุคคลให ตระหนัก
ถึงต นเหตุของป ญหาและ
เตรียมพร อม
ที่จะเผชิญป ญหา ตลอดจน
หาวิธีการแก้ ปัญหา
Kieffer, 1984:62
What does it mean to
Empower?
To give power or authority;
To give ability to;
Enable;
To make powerful, give strength and validity;
Process of gaining power, developing power,
taking or seizing power
Napier, 2009
สรุป
 การเสริมพลังอํานาจด
านสุ ขภาพ เป นกระบวนทีก่ ารที่ช
วยเสริมสร างความสามารถและพัฒนาศักยภาพของบุคคล
ครอบครัว หรือชุมชน ในการควบคุมป จจัยต างๆ ทีม่ ี
ผลกระทบต อสุ ขภาพ
และชีวติ เพือ่ ให เขาเหล านั้น มีพลัง มีความสุ ข และมี
อํานาจมากขึน้ ในการตัดสิ นใจการเลือกใช แหล งประโยชน
ต างๆ และดําเนินกิจกรรมต างๆ เพือ่ รักษาไว ซึ่ง
สุ ขภาพทีด่ ที ้งั ร างกายและจิตใจ
สรุป
 กระบวนการนั้นมีข้ น
ั ตอนการเรียนรู
จากข อมูลต างๆ
 เรียนรู้ จากประสบการณ ตรงในการพัฒนาเพือ่ การพึง่ ตนเอง
ควบคุมตนเอง โดยมีการใช พลังอํานาจได อย างเต็ม
ศักยภาพ
บุคคลจะเน นในเรื่องการเพิม่
ความสามารถของแต ละคนใน
การตัดสิ นใจ และมีอาํ นาจในการ
ควบคุมชีวติ ของตนเอง
ในชุ มชน เป็ นการควบคุมป จจัยต
างๆ
ที่เป นตัวกําหนดสุ ขภาพและคุณภาพ
ชีวติ ในชุ มชนของตนเอง และถือเป
นเป้าหมายที่สําคัญประการหนึ่งของ
กิจกรรมชุ มชนเพือ่ สุ ขภาพ
ความสํ าคัญต่ อองค์ กร
ต่ อบุคคลในองค์ กร
ต่ อทีมงาน
ต่ อระดับองค์ กร
อารีย์วรรณ, 2552:6-7
ปัจจัยที่นํามาสร้ างเสริมพลังอํานาจ
1. การทํางานเป็ นทีม
2. การกระจายงานและการมอบหมายงาน
3. การพัฒนาบุคลากร
4. ทักษะความชํานาญ
5. การเปลีย่ นแปลงของสั งคม
ปัจจัยทีเ่ อือ้ ให้ เกิดการเสริมสร้ างพลังอํานาจ
 ระบบโครงสร้ าง
 วัฒนธรรมในองค์ กร
 ผู้บริหารองค์ กร
 บุคลากร
 ความไว้ วางใจของคนในองค์ กร
 ลักษณะงานภายในองค์ กร
 สั มพันธ์ ภาพระหว่ างคนในองค์ กร
อารีย์วรรณ, 2552:2
รูปแบบการเสริมสร้ างพลังอํานาจ
การเสริมสร้ างพลังอํานาจด้ านโครงสร้ าง
การเสริมสร้ างพลังอํานาจด้ านจิตใจ
อารียวรรณ,
์
การเสริมสร้ างพลังอานาจดาน
้
โครงสราง
้
แนวคิดเน้ น การปฏิบัติงานตามหน้ าที่ การมี
ส่ วนร่ วมและการพัฒนาผู้ปฏิบัตงิ าน
 ผู้เสนอแนวคิดไว้ คือ

1.
2.
3.
คอนเจอร์ และคานูโก (Conger & Kanungo)
เทรซี (Tracy)
และ คานเตอร์ (Kanter)
อารียวรรณ,
์
2552:2
ขั้นที่ 1
ขั้นที่ 2
ขั้นที่ 3
ขั้นที่ 4
ขั้นที่ 5
เงือ่ นไขทีน่ ําไปสู่
ภาระไร้ พลัง
เทคนิคและกลยุทธ์
ในการจัดการ
ช่ วยให้ พนักงานรับรู้
ความสามารถของตน
ผลของการเสริมสร้ าง
พลังอํานาจ
ผลทางพฤติกรรม
-ปัจจัยองค์ กร
-การนิเทศงาน
-ระบบการให้
รางวัล
-ลักษณะของงาน
-การบริหารแบบ
มีส่วนร่ วม
-การตั้งเป้ าหมาย
-ระบบการให้ ผล
ย้ อนกลับ
-การให้ ตัวแบบ
-การเสริมแรง
-การเพิม่ คุณค่ า
ในงาน
-การไปสู่ จุดหมาย
-การเรียนรู้
ประสบการณ์
จากผู้อนื่
-การจูงใจด้ วย
วาจา
-การกระตุ้นทาง
อารมณ์
ความแข็งแกร่ ง
ของความพยายาม
ความคาดหวัง
ในผลการ
ปฏิบัติงานหรือ
ความเชื่อใน
สมรรถนะของ
ตนเอง
-ความคิดริเริ่ม
-ความอดทนต่ อ
การไปสู่ เป้ าหมาย
ของงาน
และ
การขจัดเงือ่ นไข
ในขั้นตอนที่ 1
รู ปแบบที่ 1
ภาพแสดงกระบวนการเสริมสร้ างพลังอํานาจ
ที่มา : Conger & Kanungo (1988:475) อ้างใน อารีย์วรรณ์ , 2552: 14
รูปแบบที่ 2: Tracy,1990:68 อ้ าง
ในอารีย์วรรณ์ ,2552:17
Power pyramid
การยอมรับ
ข้ อมูลป้ อนกลับ
ความรู้และสารสนเทศ
ไว้ วางใจ
การฝึ กอบรมและการพัฒนา
การกําหนดมาตรฐานการทํางาน
การมอบอํานาจหน้ าที่
ความชัดเจนในหน้ าที่ความรับผิดชอบ
ให้ เกียรติ
ยอมรับข้ อผิดพลาด
การได้ รับอํานาจ
1. การได้ รับการสนับสนุน
2. การได้ รับข่ าวสาร
3. การได้ รับทรัพยากร
4. ความสามารถปรับเปลีย่ น
เพือ่ วัตถุประสงค์ขององค์กร
การได้ รับโอกาส
1. การได้ รับความก้าวหน้ า
2. การได้ เพิม่ พูนทักษะและ
ความสามารถ
3. การได้ รับรางวัลและ
การยอมรับ
ประสิทธิผลของงาน
การคงอยู่ หรือ
การลาออกของลูกจ้ าง
รูปแบบ.3 : ประสิ ทธิผลของงาน ตามทฤษฎีโครงสร้ างอํานาจ
ในองค์ กรของ Kanter
Wilson & Laschinger,1994:40 อ้ างในอารีย์วรรณ,2552:21
ระบบที่เป็ นทางการและไม่เป็ น
อํานาจเป็ นทางการ
...........................
ลักษณะงาน
-มีอสิ ระ ยืดหยุ่น
-มีความชัดเจน
เป็ นงานหลัก
ตอบสนอง
วัตถุประสงค์ของ
องค์กร
อํานาจไม่ เป็ นทางการ
...........................
สั มพันธภาพ
ในองค์ กร กับ
-หัวหน้ า
-เพื่อนร่ วมงาน
-ลูกน้อง
-กลุ่มคนหลาย
การเข้าถึง
คุณลักษณะของลูกจ้าง
ผลที่เกิดขึ้นต่อองค์กร
รูปแบบที่ 4 : อํานาจทีเ่ ป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการ
โครงสร้ างของ
โอกาส
นาไปสู่
มีอิทธิพลต่อ
โครงสร้ างอํานาจ
การสนับสนุน
แหล่งข้ อมูล
โครงสร้ างสั ดส่ วน
-มีความรู้ ความสามารถ
ของตนเพิม่ ขึน้
-นาไปสู่ แรงจูงใจสู งขึ้น
-ความผูกพันในองค์การ
เพิ่มขึ้น
-เบื่อหน่ายในงานลดลง
-อิสระมากขึ้น
-มีส่วนร่ วมมากขึ้น
-พอใจในงานสู งขึ้น
เกิดผลต่อ
-ประสบผลสํ าเร็จ
-เชื่อมัน่ ในการ
ดาเนินการขององค์กร
Laschinger,1996:27 อ้ างในอารีย์วรรณ,2552:22
การเสริมสร้ างพลังอํานาจด้ านจิตใจ

เป็ นการคํานึงถึงการเสริมแรงทางด้ านจิตใจ เพือ่ ให้
ผู้ปฏิบัตงิ านมีความเชื่อมั่นในสมรรถนะของตนเองที่
จะทําให้ งานประสบความสํ าเร็จ
ผู้เสนอแนวคิด คือ
1. โทมัส และ เวลเฮ้ าส์ (Thomas & Velhouse)
2. และ สปรีสเซอร์ (Spreitzer)

อารีย์วรรณ, 2552:2
แบบแผนการรู้ คดิ การสร้ างเสริมพลังอํานาจของโทมัสและเวลเฮาส์
การวัดประเมินผล
เหตุการณ์ แวดล้อม
-ผลกระทบต่ องาน
-ความสามารถในงาน
-ความหมายของงาน
-หัวหน้ า
-เพือ่ นร่ วมงาน
พฤติกรรม
-การกระตือรือร้ นในการทํางาน
-มีสมาธิในการทํางาน
-มีความคิดริเริ่มในงาน
-สามารถเผชิญต่ อปัญหา
-รู้จกั ยืดหยุ่น
Thomas & Velthouse,1990:670 อ้ างในอารีย์วรรณ,2552:24
แนวคิดการสร้ างเสริมพลังอํานาจของ Speitzer
1. การรับรู้ ความหมาย (Meaning)
2. ความสามารถในการทํางาน (Competence)
3. การตัดสิ นใจด้ วยตนเอง (Self-determination)
4. ผลกระทบต่ อหน่ วยงาน (Impact)
อารีย์วรรณ,2552:25
แนวคิดการสร้ างเสริมพลังอํานาจสํ าหรับผู้บริหาร
1.การเสริมสร้ าง (Enabling)
2. การอํานวยความสะดวก (Facilitating)
3. การให้ คาํ ปรึกษา (Counseling)
4. การให้ ร่วมมือ (Collaborating)
5. การเป็ นพีเ่ ลีย้ ง (Mentoring)
6. การสนับสนุน (Supporting)
อารีย์วรรณ,2552:26
แนวคิดการสร้ างเสริมพลังอํานาจสํ าหรับผู้ใช้ บริการ
 ด้ านผู้รับบริ การ
 ด้ านผู้ให้ พยาบาล
 ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างผู้รับบริการกับพยาบาล
อารีย์วรรณ,2552:27