ICT - ศูนย์ สารสนเทศ เพื่อ การ บริหาร งาน ปกครอง
Download
Report
Transcript ICT - ศูนย์ สารสนเทศ เพื่อ การ บริหาร งาน ปกครอง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารสาหรับนายอาเภอ
หลักสู ตร
นายอาเภอทบทวน รุ่นที่ ๒๐
โดย
นายศุภลักษณ์ ปรีติเขมรัตน์
ศูนย์ สารสนเทศเพือ่ การบริหารและพัฒนางานปกครอง
หัวข้ อการบรรยาย
• e – government
• ระบบ MIS ของ ปค.
• การติดต่ อสื่ อสารด้ วยระบบอินเทอร์ เน็ตและการใช้ งาน e – mail
• ระบบภูมศิ าสตร์ สารสนเทศ (Geographic Information System: GIS)
• ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ GIS และ GPS
• การใช้ สารสนเทศในสั งคมออนไลน์ ( Socail Network) / การสื่ อสารสมัยใหม่
สาหรับนายอาเภอ
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e – governtment)
• รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หรื อที่เรี ยกว่า e-Government คือ วิธีการ
บริ หารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
เครื อข่ายสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานภาครัฐ ปรับปรุงการ
บริ การแก่ประชาชน การบริ การด้ านข้ อมูลและสารสนเทศเพื่อส่งเสริ มการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมีความใกล้ ชิดกับภาครัฐมากขึ ้น สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์จะเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญในการเข้ าถึงบริ การของรัฐ ประการ
สาคัญจะต้ องมีความร่วมมืออย่างใกล้ ชิดและเต็มใจจากทัง้ 3 ฝ่ าย ได้ แก่
ภาครัฐ ภาคธุรกิจและประชาชน
ผลพลอยได้ ที่สาคัญที่จะได้ รับคือ
ธรรมาภิบาลและความโปร่งใสที่มีมากขึ ้นในกระบวนการทางานของระบบ
ราชการ อันเนื่องมาจากการเปิ ดเผยข้ อมูล และประชาชนสามารถเข้ ามา
ตรวจสอบได้ ตลอดเวลาจึงคาดว่าจะนาไปสูก่ ารลดคอร์ รัปชันได้ ใน
ที่สดุ
(ต่ อ)
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ จะเป็ นเครื่องมือทีส่ าคัญในการเข้ าถึงบริการของรัฐ
ประการสาคัญจะต้ องมีความร่ วมมืออย่ างใกล้ชิดและเต็มใจจากทั้ง 3
ฝ่ าย ได้ แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจและประชาชน ผลพลอยได้ ทสี่ าคัญทีจ่ ะ
ได้ รับคือ ธรรมาภิบาลและความโปร่ งใสทีม่ ีมากขึน้ ในกระบวนการ
ทางานของระบบราชการ อันเนื่องมาจากการเปิ ดเผยข้ อมูล และ
ประชาชนสามารถเข้ ามาตรวจสอบได้ ตลอดเวลาจึงคาดว่ าจะนาไปสู่ การ
ลดคอร์ รัปชันได้ ในทีส่ ุ ด
(ต่อ)
• e-Commerce คือบริการทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ B2C และ
B2B เป็ นหลัก
• e-Government จะเป็ นแบบ G2G G2B และ G2C ระบบ
ต้ องมีความมัน่ คงปลอดภัยเพื่อแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่างหน่วยงานของ
รัฐ ประชาชนอุน่ ใจในการรับบริการและชาระเงินค่าบริการ ธุรกิจก็
สามารถดาเนินการค้ าขายกับหน่วยงานของรัฐด้ วยความราบรื่ น
อินเทอร์ เน็ตเป็ นสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญในการให้ บริการตาม
แนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(ต่อ)
•
•
•
•
•
•
B2C ภาคธุรกิจสู่ ผบู ้ ริ โภค (Business to Consumer)
B2B ภาคธุรกิจสู่ ภาคธุรกิจ (Business to Business)
G2G ภาครัฐสู่ ภาครัฐด้วยกัน (Government to Government)
G2C ภาครัฐสู่ ปร ะชาชน (Government to Citizen)
G2B ภาครัฐสู่ ภาคธุรกิจ (Government to Business)
G2E ภาครัฐสู่ ภาคข้าราชการและพนักงานของรัฐ (Government to
Employee)
G2C
การใช้ ICT เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการให้บริ การของ
ภาครัฐแก่ประชาชน (G2C) ทาให้ประชาชนได้รับบริ การที่ดีข้ ึน อีกทั้งช่วย
เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ (Ex. NSW ของกรมศุลกากร)
การให้บริ การด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ จะช่วยลดเวลา ลดต้นทุน เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ
และเพิ่มความสามารถในการบริ การของภาครัฐโดยรวม (Ex. สน.บท. ทะเบียน/บัตรฯ
สน.สก. e – DOPA License วช. Single Window)
จากแผนการพัฒนาระบบบริ การแบบอิเล็กทรอนิกส์ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ได้มีการจาแนกการพัฒนาระบบการบริ การภาครัฐผ่านกลไกอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ 5 ระดับ ดังนี้
ระดับที่ 1 การให้ ข้อมูล (Information) คือ แต่ละหน่วยงานมีเว็บไซต์เพื่อการให้บริ การ
ข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชน (ต้องเป็ นปัจจุบนั )
ระดับที่ 2 การปฏิสัมพันธ์ (Interaction) คือ หน่วยงานมีเว็บไซต์ที่สามารถปฏิสมั พันธ์
กับประชาชนเพื่อให้ขอ้ มูลเชิงลึกได้ เช่นการสื บค้นข้อมูล และเว็บบอร์ด เป็ นต้น
ระดับที่ 3 การแลกเปลีย่ นธุรกรรม (Interchange Transaction) คือการที่หน่วยงาน
มีเว็บไซต์ที่สามารถดาเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยตนเอง
ระดับที่ 4 การบริการบูรณาการ (Integration) คือ การบูรณาการงานบริ การและกระบวน
การให้บริ การต่างๆ เพื่อดาเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวกับงานบริ การต่างๆ ณ จุดเดียว
ระดับที่ 5 ความฉลาด (Intelligence) คือ ระบบที่สามารถเรี ยนรู้พฤติกรรมของผูร้ ับ
บริ การได้อย่างอัตโนมัติ เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ผรู ้ ับบริ การในการใช้บริ การครั้งต่อไป
นโยบายด้ าน IT ของภาครัฐทีส่ าคัญ
•กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ระยะ พ.ศ. 2554 - 2563
(ICT 2020 : National ICT Policy Framework 2011 – 2020)
•การเตรียมความพร้ อมปรับเปลีย่ นจาก IPv4 => IPv6
v4 : ใช้ตวั เลขในช่วง 0.0.0.0 - 255.255.255.255 เพื่อนแทนอุปกรณ์ในเครื อข่าย(internet)เช่นคอมพิวเตอร์
v6 : ก็จะใช้ตวั เลขในช่วง 0.0.0.0.0.0 - 255.255.255.255.255.255 แทน
ดังนั้นถ้า v4 สามารถรองรับอุปกรณ์ได้ 255x255x255x255 -> v6 ก็จะสามารถรองรับได้ 255x255x255x255x255x255
เยอะมากๆ แต่ความต้องการหมายเลข ip ในปัจจุบนั ก็เพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ
•นโยบายบอร์ ดแบนด์ แห่ งชาติ
พัฒนาโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมประชากร ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ภายในปี ๒๕๕๘และไม่ต่ากว่าร้อยละ ๙๕
ภายในปี ๒๕๖๓ โดยมีคุณภาพบริ การที่ได้มาตรฐานและมีอตั ราค่าบริ การที่เหมาะสม รวมทั้งให้มีบริ การบรอดแบนด์ความเร็ว
สู งผ่านเคเบิลใยแก้วนาแสงในเมืองที่เป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค ความเร็วไม่ต่ากว่า 100 Mbps ภายในปี ๒๕๖๓
•การแจก Tablet PC ให้ กบั เด็กนักเรียนชั้น ป.1
ฯลฯ
ระบบ MIS ของ ปค.
ศสป. เป็ นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนาระบบข้ อมูลข่าวสารเพื่อการ
บริหารงาน (MIS) ของ ปค.โดยแบ่งภารกิจกับ สน.บท. ที่มงุ่ เน้ นการให้ บริ การด้ าน
ทะเบียนและบัตรฯ ซึง่ มีการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่สาคัญได้ แก่
1. การเผยแพร่ ภาพและเสี ยงผ่านอินเทอร์เน็ต (DOPA TV)
2. ระบบการประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต (Web Conference)
3. ระบบ รับ – ส่ ง หนังสื อราชการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e – document)
4. ระบบจัดทาฐานข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศเพื่อการบริ หารและพัฒนางานปกครอง
(GIS)
5. ระบบการรายงานผลอัตโนมัติ (e – form)
ฯลฯ
การติดต่ อสื่ อสารด้ วยเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
อินเทอร์ เน็ต หมายถึง เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ทีม่ กี ารเชื่ อมต่ อระหว่ าง
เครือข่ ายหลายๆ เครือข่ ายทัว่ โลก โดยใช้ ภาษาทีใ่ ช้ สื่อสารกันระหว่ างคอมพิวเตอร์ ทเี่ รียกว่ า
โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้ เครือข่ ายนีส้ ามารถสื่ อสารถึงกันได้ ในหลายๆ ทาง อาทิเช่ น
อีเมล เว็บบอร์ ด แชท วิดโี อคอล VoIP และสามารถสื บค้ นข้ อมูลและข่ าวสารต่ างๆ รวมทั้ง
คัดลอกแฟ้ มข้ อมูลและโปรแกรมมาใช้ ได้
• ทีม่ าของอินเตอร์ เน็ต
อินเทอร์ เน็ตเกิดขึน้ ในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่ าย
ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork)
ซึ่งเป็ นเครือข่ ายสานักงานโครงการวิจัยชั้นสู งของกระทรวงกลาโหม ประเทศ
สหรัฐอเมริกา โดยมีวตั ถุประสงค์ หลักของการสร้ างเครือข่ ายคือ เพือ่ ให้ คอมพิวเตอร์
สามารถเชื่อมต่ อ และมีปฏิสัมพันธ์ กนั ได้ เครือข่ าย ARPANET ถือเป็ นเครือข่ าย
เริ่มแรก ซึ่งต่ อมาได้ ถูกพัฒนาให้ เป็ นเครือข่ าย อินเทอร์ เน็ตในปัจจุบนั
การใช้ งานระบบสารสนเทศในสั งคมออนไลน์
วงศ์ ดจิ ติ อล (digital species)
เหมือนกับเผ่ าพันธุ์วงศ์ ของสิ่งมีชีวติ ที่ดารงตนอยู่ในสิ่งแวดล้ อม มี
วิวัฒนาการเป็ นไปตามกฎของการอยู่รอด(survival law) การอยู่รอด
เป็ นไปตามการเลือกและความต้ องการของตลาด (LCD => LED =>
Smart TV, Internet TV) มีการแข่ งขันเพื่อให้ ยอมรั บ
ดังนัน้ ต้ องพัฒนาตนเองตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้ องการ
มีการแตกเหล่ าและปรั บปรุ งตัว เช่ น เผ่ าพันธุ์ 3G , ipod , iphone ,
blue ray , Wii , Ps3 , XBOX etc.
ตัวอย่ างนวัตกรรมของการประยุกต์ เครือข่ ายยุคใหม่
เครื อข่ายสังคม HI5 , Facebook , twitter
เครื อข่ายฝูงชน Crowd source - Wikipedia
เครื อข่าย bit torrent peer to peer
BitComet (โปรแกรม Bit Torrent ทีไ่ ด้ รับความนิยม ทีส่ ุ ดในโลก ฟรี) : โปรแกรมแบ่งปันไฟล์แบบ Peer-to-Peer
สาหรับ BitTorrent ที่เป็ นที่นิยมในขณะนี้ ซึ่งออกแบบมาสาหรับอินเตอร์เน็ตความเร็ วสูงโดยเฉพาะอัพโหลด หรื อ ดาว์นโหลดไฟล์ขนาด 100 กว่า MB.
หรื อเป็ น GB. ก็ง่ายนิดเดียว โดยการใช้งานนั้นง่ายมากๆครับ แค่คุณรู ้จกั เว็บไซต์ Torrent ใดก็ได้ และสมัครเป็ นสมาชิกแล้วทาตามตามกฎของเว็บไซต์น้ นั ๆ
คุณก็จะโหลดไฟล์ที่ตอ้ งการได้แล้ว โดยหลักการของทอเร้นนั้นคือการรู ้จกั ให้ ยิง่ ให้มากยิง่ รับได้มากเช่นกัน ...
เครื อข่ายแบ่งปั นข้ อมูล You tube , Fickr
เครื อข่ายการพูดคุยกัน MSN , Skype , Line , Tango
เครื อข่ายการสร้ างห้ อง Virtual เช่น Cam frog ,
Video Conference ,Web Conference , blog
การสร้ าง Web Service
การก้ าวเข้ าสู่ เว็บ 2.0
เว็บ 2.0 เป็ น platform ที่อาศัยอุปกรณ์ที่อยูใ่ นเครื อข่าย เป็ นตัวช่วยทางาน
ให้ การใช้ งาน และการประยุกต์ตา่ งๆ อาศัยอุปกรณ์ทางานร่วมกันในเครื อข่าย
ที่เป็ นเนื ้อเดียวกัน ทาให้ การทางานไม่ขึ ้นกับคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์คอมฯ ของ
ผู้ใช้ ข้ อมูล โปรแกรม ได้ รับการจัดวางไว้ ในเครื อข่าย ผู้ใช้ เรี ยกเข้ าหา หรื อใช้ งาน
ได้ ทกุ สถานที่ไม่จากัด ขอให้ เข้ าถึงและเชื่อมต่อกับเครื อข่ายเท่านัน้
SOA
Service Oriented Architecture หรื อ SOA จึงเป็ นรู ปแบบการสร้างระบบ
ซอฟต์แวร์ขององค์กรที่ยดึ วิธีการสร้าง Software Service เป็ นหลัก โดยไม่ยดึ ติดกับเทคโนโลยี
ใด ๆ แต่ผกู พันกับการบริ การและการแก้ปัญหาให้กบั ธุรกิจ ภายใต้กฎ กติกา และมาตรฐานที่ทาให้เกิด
Interoperability ได้
คาว่า “Interoperability” หมายความว่า
ระบบซอฟต์แวร์ไม่วา่ จะเขียนขึ้นด้วยภาษาใด ทางานอยูบ่ นคอมพิวเตอร์รุ่นใด ชนิดใด ยีห่ อ้ ใด รวมทั้ง
Middleware ที่ประสานการทางานร่ วมกันระหว่างซอฟต์แวร์ชุดต่าง ๆ สามารถทางานร่ วมกันได้
และสื่ อสารข้อมูลระหว่างกันได้
Web service
เว็บเซอวิส คือ Web Application ยุคใหม่ ที่ประกอบด้วยส่ วนย่อยๆมีความสมบูรณ์ใน
ตัวเอง สามารถติดตั้ง ค้นหา เริ่ มทางานได้ผา่ นเว็บ Web Service สามารถทาอะไรก็ได้ต้ งั แต่งาน
ง่ายๆ เช่น ดึงข้อมูล จนถึงกระบวนการทางธุรกิจที่ซบั ซ้อน เมื่อ Web Service ตัวใดตัวหนึ่งเริ่ ม
ทางาน Web Service ตัวอื่นก็สามารถรับรู้และเริ่ มทางานได้อีกด้วย
อีกความหมายหนึ่ง คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลกัน ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ ผา่ นระบบเครื อข่ายโดยที่ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร
ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ คือ XML => EbXML
XML
เอกซ์ เอ็มแอล ( XML) ย่อมาจาก Extensible Markup Language ซึ่งเป็ นภาษามาร์กอัป
สาหรับการใช้งานทัว่ ไป พัฒนาโดยW3C โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็ น สิ่ งที่เอาไว้ติดต่อกันในระบบ
ที่มีความแตกต่างกัน (เช่นใช้คอมพิวเตอร์มี่มีระบบปฏิบตั ิการคนละตัว หรื ออาจจะเป็ นคนละโปรแกรม
ประยุกต์ที่มีความต้องการสื่ อสารข้อมูลถึงกัน) นอกจากนี้ยงั เพื่อเป็ นพื้นฐานในการสร้างภาษา
มาร์กอัปเฉพาะทางอีกขั้นหนึ่ง XML พัฒนามาจาก SGML โดยดัดแปลงให้มีความซับซ้อนลดน้อยลง
XML ใช้ในแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกัน และเน้นการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ผ่านอินเทอร์เน็ต
W3C
SOAP
WSDL
UDDI
: World Wide Web Consortium
: Simple Object Access Protocol
: Web Service Definition Language
: Universal Description Discovery and Integration
ปัจจุบันการใช้ ไอทีเกิดขึน้ ในทุกระดับ ทุกคน
ระดับบุคคล : PC Notebook ipad การเข้าถึงเครื อข่ายแบบทุกหนทุกแห่ง
ระดับกลุ่ม
: work group , LAN , server เฉพาะหน่วยงาน
ระดับองค์กร : Intranet ของหน่วยงาน
ระดับระหว่างองค์กร : เชื่อมโยงภายนอก Internet , Web services , e-service
Single window etc.