- สำนักนโยบายและแผน

Download Report

Transcript - สำนักนโยบายและแผน

การบริหารจัดการห้ องเรียนพิเศษ
ในสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
โดย
ดร.เกษม สดงาม
ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
นิยาม(Definition)
ห้ องเรียนพิเศษ หมายถึง ห้ องเรียนที่สถานศึกษา
มุ่งเน้ นจัดการเรียนการสอนทีส่ ่ งเสริมศักยภาพ
นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้ านวิชาการและ
ด้ านอืน่ ๆ
นิยาม(Definition)
ห้ องเรียนพิเศษ โดยสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา หมายถึง
ห้ องเรียนทีส่ ถานศึกษามุ่งเน้ นจัดการเรียนการสอน เพือ่ ส่ งเสริม
ศักยภาพของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้ านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษาต่ างประเทศ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ICT ฯลฯ
โดยผ่ านความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา
นิยาม(Definition)
ห้ องเรียนพิเศษ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
หมายถึง ห้ องเรียนทีส่ ถานศึกษามุ่งเน้ นจัดการเรียนการสอน
เพือ่ ส่ งเสริมศักยภาพของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ โดย
ดาเนินการตามโครงการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน เช่ น ห้ องเรียนพิเศษ EP ห้ องเรียนพิเศษ MEP ตาม
โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสู ตรกระทรวงศึกษาธิการ
เป็ นภาษาอังกฤษ ห้ องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามโครงการ
เสริมสร้ างศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี
และ สิ่ งแวดล้ อม เป็ นต้ น
แนวทางการเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ โดยสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
หลักเกณฑ์ การเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ โดยสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
สถานศึกษาที่ขอเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ
- ต้องมีความพร้อมทุกด้าน เช่นบุคลากร นักเรี ยน ทรัพยากร อาคารสถานที่ ฯลฯ
- ต้องเป็ นไปตามความต้องการของผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาและได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
- ต้องมีผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สมศ. ตั้งแต่ระดับดีข้ ึนไป
- ต้องเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา อย่างน้อย ๑ ภาคเรี ยน
ก่อนปี การศึกษาถัดไป และต้องดาเนินการเปิ ดภายใน ๑ ปี
- หากต้องการเลิกดาเนินการต้องแจ้งผูป้ กครองล่วงหน้า โดยได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หากต้องการเปิ ดห้องเรี ยน
พิเศษใหม่อีก ต้องดาเนินการขอเปิ ดใหม่
- ควรให้คณะกรรมการสถานศึกษาฯ ตรวจสอบและทบทวนการดาเนินงานทั้งระบบ
ขั้นตอนการดาเนินการเปิ ดห้องเรี ยนพิเศษ โดยสานักงานเขตพื้นที่ฯ
ระดับสถานศึกษา
- เตรี ยมความพร้อมทุกด้าน เช่นหลักสู ตร บุคลากร อาคารสถานที่ แหล่งเรี ยนรู ้และสื่ อ
การเรี ยนการสอน เพื่อส่ งเสริ มศักยภาพนักเรี ยนในด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ
- สารวจข้อมูลความต้องการของทุกฝ่ ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องของสถานศึกษา
- จัดทาข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลความพร้อม ต่อทุกฝ่ ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องของ
สถานศึกษา
- นาเสนอข้อมูล เหตุผล และความจาเป็ นในการเปิ ดห้องเรี ยน และขอความเห็นชอบ
ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
- เสนอเรื่ องการขอเปิ ดห้องเรี ยนต่อสานักงานเขตพื้นที่ ฯ พร้อมเอกสารประกอบ
- ประกาศผลการขอเปิ ดห้องเรี ยนให้ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องทราบ
- กาหนดแผนปฏิบตั ิการดาเนินงานในการเปิ ดห้องเรี ยน และรายงานผลการดาเนินงาน
การจัดการเรี ยนการสอนต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย
ขั้นตอนการดาเนินการเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ โดยสานักงานเขตพืน้ ที่ฯ
ระดับสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
- ตรวจสอบข้อมูลและเอกสารประกอบการเสนอขอเปิ ดห้องเรี ยน
- แต่งตั้งกรรมการประเมินความพร้อม โดยมีผอู ้ านวยการและรองผูอ้ านวยการสานักงาน
เขตพื้นที่ฯ เป็ นประธานและรองประธาน ผูแ้ ทนผูบ้ ริ หารสถานศึกษา และผูแ้ ทนผูป้ กครอง
จานวนละ ๒ คน ผูท้ รงคุณวุฒิและศึกษานิเทศก์ จานวนละ ๑ คน ผูอ้ านวยการกลุ่มหรื อ
หัวหน้าหน่วยในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบการเปิ ดห้องเป็ นกรรมการและเลขานุการ โดยใช้
แบบประเมินความพร้อมในการขอเปิ ดห้องเรี ยน
- เสนอข้อมูลประกอบการเปิ ดห้องเรี ยนและความเห็นของคณะกรรมการประเมินความพร้อม
ต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่ฯอย่างน้อย ๑ ภาคเรี ยน ก่อนปี การศึกษาต่อไป
- จัดทาประกาศการเปิ ดห้องเรี ยน และแจ้งให้สถานศึกษาทราบ เพื่อดาเนินการเปิ ดห้องเรี ยน
- รายงานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ ภายใน ๓๐ วัน
- ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานการจัดการเรี ยนการสอนห้องเรี ยนพิเศษที่ได้รับอนุมตั ิ
แผนภูมิการเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ โดยสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
สถานศึกษาเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานพิจารณา
ไม่เห็นชอบ
เห็นชอบ
สถานศึกษาเสนอเรื่ องไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ส่ งกลับสถานศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งกรรมการประเมินฯ
ตรวจสอบข้อมูลของสถานศึกษา
คณะกรรมการเขตพื้นที่
การศึกษาพิจารณา
เห็นชอบ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประกาศให้เปิ ดห้องเรี ยนพิเศษ
และรายงานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานศึกษาประชาสัมพันธ์และรับนักเรี ยน
ไม่เห็นชอบ
หัวใจสาคัญในการเปิ ดห้องเรี ยนพิเศษ เพื่อเปิ ดโอกาสให้
“เด็กและเยาวชนผูม้ ีความสามารถพิเศษ ซึ่งหมายถึง เด็กซึ่งแสดงออก
ซึ่งความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่ง หรื อหลายด้านในด้าน
สติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ การใช้ภาษา การเป็ นผูน้ า การสร้าง
งานทางด้านทัศนศิลป์ และศิลปะการแสดง ความสามารถด้านดนตรี
ความสามารถด้านกีฬา และความสามารถทางวิชาการในสาขาใด
สาขาหนึ่ง หรื อหลายสาขา อย่างเป็ นที่ประจักษ์เมื่อเปรี ยบเทียบกับ
เด็กอื่นที่มีอยูใ่ นระดับเดียวกัน สภาพแวดล้อมหรื อประสบการณ์
เดียวกัน” ได้เรี ยนรู ้ในห้องเรี ยนที่เหมาะสม มิใช่เป็ นการเปิ ดโอกาส
ให้มีการระดมทรัพยากรมากขึ้นแต่อย่างใด
กรอบการดาเนินงานการเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ
โดยสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
๑.ข้อกาหนดวิชาที่เปิ ดสอน
๑.๑ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ และด้านอื่น ๆ
ระดับก่อนประถมศึกษา ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ ของเวลาเรี ยนตลอดปี การศึกษา
ระดับประถมศึกษา
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ ของเวลาเรี ยนตลอดปี การศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ ของหน่วยการเรี ยนแต่ละชั้น
โดยคานึงถึงความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชานั้น
กรอบการดาเนินงานการเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ
โดยสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
๑.๒ ด้านภาษา จัดการเรี ยนการสอนเป็ นภาษาต่างประเทศ
ระดับก่อนประถมศึกษา ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ ของหน่วยการเรี ยน
ระดับประถมศึกษา
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ ของเวลาเรี ยนตลอดปี การศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ ของหน่วยการเรี ยนแต่ละชั้น
โดยคานึงถึงความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาของศาสตร์น้ นั
กรอบการดาเนินงานการเปิ ดห้ องเรียนพิเศษ
โดยสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
๒. คุณสมบัตขิ องครู ผ้ สู อน
๒.๑ ด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และด้ านอืน่ ๆ : มีครู ที่จบสาขาวิชาเอกที่เปิ ดห้องเรี ยน
พิเศษอย่างเพียงพอ อาจจัดหาวิทยากรพิเศษมาเสริ มศักยภาพและความรู ้ของผูเ้ รี ยนเพิ่มเติม
๒.๒ ครู ผ้ สู อนด้ านภาษาต่ างประเทศ :
- ครู ที่เป็ นชาวต่างชาติตอ้ งมีคุณสมบัติตามที่กระทรวงศึกษาธิ การกาหนด และ
ต้องได้รับการอบรมภาษาและวัฒนธรรมของประเทศไทยอย่างน้อย ๑๕ ชัว่ โมง
- ครู ผสู้ อนทุกคนต้องต้องทาสัญญาปฏิบตั ิงานให้ครบ ๑ ปี การศึกษาเป็ นอย่างน้อย ต้องจบ
ปริ ญญาตรี เป็ นอย่างน้อย และต้องมีความรู ้ความเข้าใจเด็ก และวิธีการจัดการเรี ยนการสอน
โดยมีหลักฐานการศึกษาด้านการสอนไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ หน่วยกิต ศึกษาวิธีการจัดการเรี ยน
การสอนซึ่ งกันและกัน และได้รับการฝึ กอบรม ศึกษาดูงานในประเทศหรื อต่างประเทศ
อย่างน้อย ๓ ครั้งต่อปี
หลักการและรูปแบบในการจัดการศึกษาสาหรับเด็ก
และเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษ
๑. จัดเนื้อหายากและท้าทายกว่าหลักสูตรสาหรับเด็กทัว่ ไป
๒. มีการเชื่อมโยงและบูรณาการกันในหลาย ๆ วิชา
๓. ให้เด็กมีส่วนร่ วมในการเลือกสิ่ งที่ตนเองอยากจะเรี ยน
๔. จัดกระบวนการเรี ยนการสอนที่สลับซับซ้อน ลึกซึ้งกว่าหลักสูตรปกติ
๕. เน้นกระบวนการทางความคิดระดับสูง
๖. มีกิจกรรมที่ตอบสนองความหลากหลายของกระบวนการเรี ยนรู้
๗. ตั้งเกณฑ์ในการพิจารณาผลงานหรื อผลการเรี ยนรู้ของเด็กให้ชดั เจน
๘. ให้ความสนใจกับความมุ่งมัน่ ในความสาเร็ จ ความกระตือรื อร้นและการเปลี่ยนแปลงภายใน
ที่มีคุณค่าต่อการเรี ยนรู้ของเด็กที่ส่งผลดีต่อสังคม
๙. เน้นพัฒนาการทางคุณธรรม จริ ยธรรมเป็ นแกนนา
๑๐. เน้นการพัฒนาสมองทุกส่ วน(Whole Brain Approach)
การดาเนินงานการจัดการศึกษาสาหรับเด็กทีม่ ี
ความสามารถพิเศษในต่ างประเทศ
 มีการกาหนดนโยบายหรื อแนวปฏิบตั ิไว้อย่างชัดเจน มีการดาเนินการอย่างเป็ นระบบและ
ครบวงจร ทั้งในเรื่ องการศึกษาและการประกอบอาชีพตามเป้ าหมายของประเทศ
 รัฐจัดสรรงบประมาณเป็ นพิเศษให้ และมีการจัดตั้งกองทุนสมทบจากแหล่งต่าง ๆ
 มีการเสาะแสวงหากลุ่มเด็กพิเศษตั้งแต่เยาว์วยั
 มีรูปแบบการเรี ยนการสอน หลักสู ตร และมีโปรแกรมพิเศษมากมายให้เด็กได้เลือกเรี ยนตาม
ความเหมาะสมกับความสามารถพิเศษของเด็กแต่ละคนในโรงเรี ยน
 ครู ผสู ้ อนได้รับการอบรมเป็ นพิเศษ ให้มีความรู ้ความเข้าใจ และความสามารถที่จะสอนเด็ก
กลุ่มนี้ได้เป็ นอย่างดี
 มีความร่ วมมือกันระหว่างผูป้ กครอง ชุมชน และโรงเรี ยนเป็ นอย่างดี
 มีองค์กรที่ทาหน้าที่เผยแพร่ ความรู ้ ประสานการดาเนินงาน ให้คาปรึ กษา แนะนา
 มีศูนย์หรื อหน่วยงานที่ทาหน้าที่วิจยั และรวบรวมผลงานวิจยั เพื่อเผยแพร่ และสะสม
องค์ความรู ้ให้เป็ นไปอย่างกว้างขวางต่อเนื่อง
ประเทศอังกฤษ
- มีหลักสูตรที่มีโครงสร้างที่ดีในการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ในสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
- มีการเผยแพร่ เอกสาร ตารา งานวิจยั และความเคลื่อนไหวอื่น ๆ
อย่างต่อเนื่อง
- จัดตั้งศูนย์สาหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ โดยทาหน้าที่ประสานงาน และ
เป็ นแหล่งรวบรวมงานวิจยั และสื่ อ ให้คาปรึ กษาแก่หน่วยงานและองค์กรที่
จัดการศึกษาแก่เด็กกลุ่มนี้
ประเทศสหรัฐอเมริกา
- เป็ นประเทศแรกที่ใช้คาว่า Gifted Education
- มีโครงสร้าง นโยบาย และกฎหมายที่ชดั เจน
- นโยบายการจัดการศึกษากาหนดให้มีการสร้างมาตรฐานหลักสู ตรทั้งด้าน
เนื้อหาและภาคปฏิบตั ิที่ทา้ ทาย
- สร้างสรรค์โอกาสในการเรี ยนรู ้ที่ทา้ ทายให้เต็มศักยภาพที่เด็กมีอยูใ่ นรู ปแบบ
ที่หลากหลาย โดยความร่ วมมือระหว่างชุมชนและโรงเรี ยน
- ขยายโอกาสให้เด็กที่ดอ้ ยโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพมากขึ้น
- พัฒนาครุ พัฒนาหลักสู ตรที่ซบั ซ้อนและท้าทายเด็กให้เรี ยนรู ้ได้ดี
- มีการช่วยเหลือและสนับสนุนงบประมาณให้เด็กที่มีความสามารถพิเศษ
ประเภทต่าง ๆอย่างชัดเจน
ประเทศออสเตรเลีย
- การจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ มีลกั ษณะค่อนข้างก้าวหน้า
มีรูปแบบการจัดในลักษณะกระจายอานาจ แต่ยงั ขาดความหลากหลายของ
วิธีการจัดการ
- มีองค์กรกลางที่ไม่ใช่หน่วยราชการมีบทบาทหน้าที่สาคัญโดยตรง ผลักดันให้
เกิดความเคลื่อนไหวระดับชาติชื่อว่า Association for Gifted & Talented
Children
- จาแนกประเภทของเด็กอย่างชัดเจน
- ครู ผสู ้ อนต้องได้รับการฝึ กอบรมมาโดยเฉพาะ
- ผูป้ กครองและชุมชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
- เด็กได้รับการแนะแนวและคาปรึ กษาทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
ประเทศจีน
- จัดให้มีช้ นั เรี ยนพิเศษสาหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษที่อายุ
ต่ากว่า ๑๕ ปี
- ทาวิจยั เกี่ยวกับเด็กที่มีความสามารถเหนือปกติโดยคณาจารย์จาก
สถาบันต่างๆ มากกว่า ๓๐ องค์กร
- มีการสารวจหาเด็กที่มีแววความสามารถพิเศษ
- เน้นการคัดเลือกโดยการแข่งขันเพื่อค้นหาเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
- จัดกิกรรมพิเศษหลังเลิกเรี ยน โดยให้ผปู ้ กครองมีส่วนร่ วมอย่างเต็มที่
ประเทศสิ งคโปร์
- ให้ความสาคัญและกาหนดเป็ นนโยบายการจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่มี
ความสามารถพิเศษอย่างชัดเจน
- จัดตั้งโครงการพิเศษชื่อ Gifted Education Branch
- ใช้วิธีการสอนแบบเพิ่มพูนประสบการณ์( Enrichment Program)
- ฝี กการคิด การเป็ นผูน้ า ฝึ กการทาโครงงานทุกวิชา
- มีกระบวนการด้านการแนะแนวและด้านจิตวิทยาที่ดี
- มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วจนขยายไปในทุกชั้นเรี ยนแทนการ “คัด”
แล้ว”แยก” เป็ นชั้นพิเศษ
ประเทศเวียดนาม
- มีเป้ าหมายการปฏิรูปการศึกษากาหนดไว้วา่ “ต้องสรรหา ส่ งเสริ ม และใช้
ประโยชน์จากอัจฉริ ยะเพื่อเสริ มสร้างความก้าวหน้า ๔ ประการ คือ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศิลปะและวัฒนธรรม สังคมและเศรษฐกิจ การ
ผลิตและการจัดการชุมชน” โดยมุ่งเน้นอัจฉริ ยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเป็ นสาคัญ
- รัฐมีนโยบายระดับชาติในการให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่เด็กที่มี
ความสามารถพิเศษ
- จัดแข่งขันโอลิมปิ กระดับชาติ เพื่อค้นหาและสนับสนุนเด็กนักเรี ยนที่มี
ความสามารถพิเศษทางด้านคณิ ตศาสตร์ ฟิ สิ กส์ เคมี ชีววิทยา และ
คอมพิวเตอร์ และส่ งเสริ มให้เด็กได้เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ
ท่ านมีกลยุทธ์ รองรับผู้ปกครองในการรับนักเรียน
อย่ างไร
ท่ านควรทาอย่ างไรในการบริหารสถานศึกษา
สู่ ความเป็ นเลิศ
ท่ านควรทาอย่ างไรในการบริหารสถานศึกษาสู่ ความเป็ นเลิศ
• กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) นโยบาย เป้าหมาย อัตลักษณ์ เอกลักษณ์
ชัดเจน
- Action Plan, Annaul Plan
- สารวจ ปัญหาความต้ องการ แนวทางการพัฒนา
• สร้ างความเข้ าใจ(Declare) ให้ ทราบทั่วกันในพันธะสั ญญา
- โปร่ งใส ตรวจสอบได้
• บริหารแบบมีส่วนร่ วม บริหารบนความหลากหลาย(Diversity)
• การคิดนอกกรอบ การบริหารงานบนความขาดแคน
• การบริหารความเสี่ ยง(Risk Management)
• การสร้ างโอกาส พัฒนาศักยภาพสู่ ความเป็ นเลิศ
ข้ อเสนอแนะ
๑. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ EP/MEP ควรมีตาแหน่งในโครงสร้างบริ หารงานโรงเรี ยนเช่นเดียวกับ/เทียบเท่า
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
๒. สพฐ. ควรมีหน่วยงานกลางที่คดั เลือกครู ต่างชาติที่มีคุณสมบัติตามที่คุรุสภากาหนดส่ งให้โรงเรี ยน
ที่เป็ นEP/MEP
๓. สพฐฺ .หรื อสถาบันภาษาอังกฤษควรดาเนินการทาMOU กับสถาบันการศึกษาต่างประเทศที่ใช้
ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาแม่เพื่อแลกเปลี่ยนครู สอนวิชาต่างๆที่มีคุณภาพมากขึ้น
๔. ปรับเพดานอัตราเงินเดือนครู ต่างชาติ Native speaker ให้เป็ นไปตามสภาวะเศรษฐกิจปั จจุบนั
(เดิม ม ต้น 30,000 บาท ม ปลาย 40,000 บาท)
๕. ระเบียบการใช้เงินรายได้สถานศึกษาประเภทเงินบริ จาคโดยมีวตั ถุประสงค์( เงินสนับสนุน EP/MEP)
ควรมีเกณฑ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์จริ งๆ ปลดล๊อคระเบียบการใช้เงินประเภทนี้ให้เหมาะสมและ
ยืดหยุน่ มากขึ้น รวมทั้งมีการตรวจสอบการใช้เงินอย่างโปร่ งใส
๖. ผูบ้ ริ หารของโรงเรี ยนที่เปิ ดสอน EP/MEP ควรมีวสิ ยั ทัศน์อย่างแท้จริ ง การแต่งตั้งหรื อโยกย้าย
ควรคัดเลือกผูท้ ี่มีความเหมาะสมและเข้าใจการบริ หารจัดการโครงการห้องเรี ยนพิเศษ
“Forward”
ทาต่ อไป…เดินไปข้ างหน้ า
ดร.ชินภัทร ภูมริ ัตน
Lectures.
สวัสดี