ระบบการบริหารสถานศึกษา - ภาควิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript ระบบการบริหารสถานศึกษา - ภาควิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
กับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
อ.ชนิดา เรืองศิริวฒ
ั นกุล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาควิชาคณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

การจัดระบบบริ หารและสารสนเทศของสถานศึกษา เพื่อให้บรรลุ
เป้ าหมายในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา เป็ นไปตามมาตรฐานที่
ต้องการ และครอบคลุมภารกิจด้านการบริ หารจัดการได้อย่างมีคณ
ุ ภาพ
สถานศึกษาต้องมีระบบการบริ หารและการจัดการศึกษา ที่นาไปสู่
คุณภาพของผูเ้ รี ยน รวมถึงระบบสารสนเทศที่มีประสิ ทธิภาพ เป็ นระบบ
ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็ นปัจจุบนั และสามารถเรี ยกใช้ขอ้ มูลสารสนเทศได้
ตลอดเวลา โดยผูบ้ ริ หารสถานศึกษาสามารถนาไปใช้ในการตัดสิ นใจ
ดาเนินการต่างๆ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้
อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
อืน่ ๆ
PMQA
TQM
SBM
ระบบบริหาร
นาไปใช้ พฒ
ั นาคุณภาพให้ ได้ ตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
- โรงเรียน
- ห้ องเรียน
- นักเรียน
ระบบสารสนเทศ
PMQA การพัฒนาคุณภาพการบริ หารจัดการภาครัฐ
TQM คือ ระบบการบริ หารจัดการองค์การที่ เน้นคุณภาพในทุก ๆ ด้านขององค์การ
SBM การบริ หารโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
1. กระบวนการ (PDCA)
◦ การวางแผนและระบบการปฏิบตั ิงาน (Plan)
◦ การดาเนินการตามแผนและระบบการปฏิบตั ิงาน (Do)
◦ การตรวจสอบและประเมินผล (Check)
◦ การปรับปรุ งและพัฒนา (Action)
 2. กระบวนการบริ หารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐาน (SBM)
 3. กระบวนการบริ หารอืน
่ ๆ ที่โรงเรียนนามาใช้ ตามความแตกต่ างของ
โรงเรียน เช่ น PMQA TQM RMB เป็ นต้ น

การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การดาเนินการเกี่ยวกับการ
กาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและกระบวนการตรวจสอบหรื อการ
ประเมินว่าเป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามากน้อยเพียงไร
(Murgatroyd,Stephen and Morgan,Colin 1994 : 45)
 การบริ หารจัดการและการดาเนิ นกิจกรรมตามภารกิจปกติของ
สถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง สร้างความ
มัน่ ใจให้ผรู ้ ับบริ การทางการศึกษา ทั้งผูร้ ับบริ การโดยตรง ได้แก่ ผูเ้ รี ยน
ผูป้ กครอง และผูร้ ับบริ การทางอ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ
ประชาชน และสังคมโดยรวม







เมอร์ กาทรอยด์ และ มอร์ แกน (Murgatroyd & Morgan 1994) ได้จาแนกลักษณะเด่น
ของการประกันคุณภาพทางการศึกษาไว้ 5 ประการ
1. มาตรฐานการศึกษากาหนดโดยผูเ้ ชี่ยวชาญภายนอก
2. มาตรฐานเขียนในรู ปของความคาดหวังที่โรงเรี ยนจะต้องบรรลุถึง
3. มาตรฐานต้องสามารถประเมินได้โดยใช้เกณฑ์ที่เป็ นปรนัย
4. มาตรฐานต้องใช้อย่างเสมอภาค ไม่มีการยกเว้นโดยปราศจากเหตุผลสมควร
5. การประกันคุณภาพการศึกษาจะประกอบด้วยการตรวจสอบและทบทวน (Audit
and Review) การทดสอบด้วยแบบ ทดสอบมาตรฐาน และการประเมินคุณภาพ
การศึกษา




การประกันคุณภาพการศึกษา มีความสาคัญ 3 ประการ คือ
1. ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความเชื่อมัน่ และ
สามารถตัดสิ นใจเลือกใช้บริ การที่มีคุณภาพมาตรฐาน
2. ป้ องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ซึ่ งจะเป็ นการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคและเกิด
ความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริ การการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทัว่ ถึง
3. ทาให้ผรู ้ ับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริ หารจัดการศึกษาสู่ คุณภาพและ
มาตรฐานอย่างจริ งจัง ซึ่ งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ
อย่างเป็ นรู ปธรรมและต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับการดาเนินการที่สาคัญ 3
ขั้นตอนดังนี้
 1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control ) เป็ นการกาหนดมาตรฐาน
คุณภาพการศึกษาเพื่อให้สถานศึกษาตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้
เป็ นเป้ าหมายและเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาซึ่งหลักปฏิบตั ิทวั่ ไป
มาตรฐานจะกาหนดโดยองค์คณะบุคคล ผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อ ผูม้ ี
ประสบการณ์ (Murgatroyd,Stephen and Morgan,Colin 1994 : 45)

2. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เป็ นการตรวจสอบและ
ติดตามผลการดาเนินการจัดการศึกษาว่าเป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพ
การศึกษาที่กาหนดขึ้นมากน้อยเพียงไร และมีข้นั ตอนการดาเนินการที่
จะทาให้เชื่อถือได้หรื อไม่วา่ การจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีคุณภาพ
 3. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) เป็ นการประเมินคุณภาพ
ของสถานศึกษาโดยบุคลากรของสถานศึกษาหรื อโดยหน่วยงานที่กากับ
ดูแลในเขตพื้นที่และหน่วยงานต้นสังกัดในส่ วนกลางที่มีหน้าที่กากับ
ดูแลสถานศึกษา


ทั้งนี้ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพนี้จะกระทาอย่างเป็ นระบบ โดย
มีกฎเกณฑ์และแนวทางการดาเนินการที่ชดั เจน มีการนาผลการประเมิน
ในทุกขั้นตอนมาใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ และการปฏิบตั ิเพือ่ ให้เกิด
การ ปรับปรุ งพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)
การประกันคุณภาพภายใน
การประกันคุณภาพภายนอก
ผู้รับผิดชอบ :โรงเรี ยน,สานักงานเขต ผู้รับผิดชอบ : สานักงานรับรองมาตรฐาน
พื้นที่การศึกษา
และประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน) (สมศ.)
กระบวนการ
กระบวนการ
การควบคุมคุณภาพ
การตรวจสอบคุณภาพ



การตรวจสอบคุณภาพ

การประเมินคุณภาพ

ประเมินคุณภาพ

การให้การรับรอง
1. ผูเ้ รี ยนและผูป้ กครองมีหลักประกันและความมัน่ ใจว่าสถานศึกษาจะจัด
การศึกษาที่มีคุณภาพเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนด
2. ครู ได้ทางานอย่างมืออาชีพ มีการทางานที่เป็ นระบบ โปร่ งใส มีความรับผิดชอบ
ที่ตรวจสอบได้ มีประสิ ทธิภาพ และเน้นคุณภาพ ได้พฒั นาตนเองและผูเ้ รี ยน
อย่างต่อเนื่องทาให้เป็ น ที่ยอมรับของผูป้ กครองและชุมชน
3. ผูบ้ ริ หารได้ใช้ภาวะผูน้ าและความรู ้ ความสามารถในการบริ หารงานอย่างเป็ น
ระบบและมีความโปร่ งใส เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เป็ นที่ยอมรับ
และนิยมชมชอบของผูป้ กครองและชุมชน ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเป็ นประโยชน์ต่อสังคม
4. กรรมการสถานศึกษาได้ทางานตามบทบาทหน้าที่อย่างเหมาะสม เป็ นผูท้ ี่ทา
ประโยชน์ และมีส่วนพัฒนาสถานศึกษาและคุณภาพทางการศึกษาให้แก่
เยาวชนและชุมชนร่ วมกับผูบ้ ริ หารและครู สมควรที่ได้รับความไว้วางใจให้มา
เป็ นกรรมการสถานศึกษา
5. หน่วยงานที่กากับดูแล ได้สถานศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนา
ตนเองซึ่ งจะช่วยแบ่งเบาภาระในการกากับ ดูแลสถานศึกษา และก่อให้เกิดความ
มัน่ ใจในคุณภาพทางการศึกษาและคุณภาพของสถานศึกษา
6. ชุมชนและสังคมประเทศชาติ ได้เยาวชนและคนที่ดี มีคุณภาพและศักยภาพที่จะ
ช่วยพัฒนาองค์กร ชุมชน และสังคมประเทศชาติต่อไป
7. ผูร้ ับบริ การได้รับความพึงพอใจจากการให้บริ การของหน่วยงาน
ระบบการบริหารสถานศึกษา หมายถึง กิจกรรมทั้งมวลที่จาเป็ นต่อการ
ธารงรักษาและดาเนินการภายในสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์
ของสถานศึกษา
 การบริ หารสถานศึกษา เป็ นภารกิจหลักของสถานศึกษาที่จะต้องกาหนด
แบบแผน วิธีการ และขั้นตอนต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิงานไว้อย่างเป็ นระบบ
เพราะถ้าระบบการบริ หารงาน ไม่ดีจะกระทบกระเทือนต่อส่ วนอืน่ ๆ
ขององค์การ




การบริ หารจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาให้เกิดพลังและมีประสิ ทธิภาพ
จาเป็ นต้องยึดเงื่อนไขและหลักการสาคัญของการปฏิรูปการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ คือ
3.1 ยึดโรงเรียนเป็ นศูนย์ กลางในการตัดสิ นใจ (School-Based Decision) เป็ น
แนวคิดที่มุ่งให้โรงเรี ยนมีอิสระในการตัดสิ นใจด้วยตนเอง โดยยึดประโยชน์ที่จะเกิดกับ
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
3.2 การมีส่วนร่ วม (Participation) กาหนดให้บุคคลหลายฝ่ ายที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษา หรื อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการจัดการศึกษา เข้ามามีส่วนร่ วมเป็ น
คณะกรรมการร่ วมแสดงความคิดเห็นหรื อร่ วมกากับติดตาม ดูแล
3.3 การกระจายอานาจ (Decentralization) เป็ นการกระจายอานาจด้านการบริ หาร
จัดการด้านวิชาการ งบประมาณ การบริ หารบุคคลและการบริ หารทัว่ ไป ให้
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
3.4 ความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability) มีการกาหนดหน้าที่
ความรับผิดชอบและภารกิจของผูร้ ับผิดชอบ เพื่อเป็ นหลักประกัน
คุณภาพการศึกษาให้เกิดขึ้น
 3.5 ธรรมาภิบาล (Good Governance) เป็ นหลักคิดสาหรับการบริ หาร
จัดการที่ดี เพื่อประกันว่าในองค์การจะไม่มีการฉ้อราษฎร์บงั หลวง ไม่
ด้อยประสิ ทธิภาพ ทั้งนี้ยดึ หลักเป้ าหมายสอดคล้องต่อสังคม
กระบวนการโปร่ งใสและทุกขั้นตอนมีผรู ้ ับผิดชอบ


3.6 ความเป็ นนิติบุคคล (A juristic person) เป็ นการให้สิทธิและอานาจ
หน้าที่ที่กาหนดไว้เป็ นของตนเอง ตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาและ
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งได้กาหนดอานาจหน้าที่ที่เป็ น
ของโรงเรี ยน ไว้โดยเฉพาะ
วิชาการ
บุคคล
งบประมาณ
บริหารทั่วไป

ในสถานศึกษามีขอ้ มูลมากมาย กระจัดกระจายอยูใ่ นส่ วนต่าง ๆ ตาม
ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของครู บุคลากรในสถานศึกษาและผูท้ ี่
เกี่ยวข้อง หากไม่มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็ นระบบระเบียบ
แล้ว จะเกิดความไม่สะดวกหรื อเกิดความยุง่ ยากในการนาไปใช้ หรื อมี
ข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ ซึ่งไม่เกิดประโยชน์
ต่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
สถานศึกษาที่มีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็ นปัจจุบนั
เรี ยกใช้ได้สะดวกและตรงตามความต้องการ จะช่วยให้สถานศึกษา
สามารถดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและ
เกิดประสิ ทธิผล เป็ นการสร้างความมัน่ ใจที่ต้ งั อยูบ่ นรากฐานของหลัก
วิชา
 สารสนเทศทั้งหลายนั้นนอกจากจะใช้ในการวางแผนการดาเนิ นงานและ
ประกอบการตัดสิ นใจแล้ว ยังนาไปสู่การพัฒนาแนวความคิด และสร้าง
ทางเลือกใหม่ๆ ในการดาเนินการต่างๆ ด้วย

การจัดระบบสารสนเทศ สามารถจาแนกตามวิธีดาเนินการออกเป็ น 3
ระบบ มีจุดเด่นและจุดด้อย สรุ ปได้ดงั นี้
 1. ระบบทาด้ วยมือ (Manual System) เป็ นระบบที่เก็บโดยการใช้
เอกสารในรู ปแบบต่าง ๆ ระบบนี้มีขอ้ ดี คือค่าใช้จ่ายน้อย ส่วนข้อเสี ยคือ
การเรี ยกใช้ไม่สะดวกและไม่ทนั การหากจัดระบบแฟ้ มเอกสารไม่
เหมาะสมเท่าที่ควร


2. ระบบกึง่ อัตโนมัติ (Semi – Automation) ระบบนี้ใช้มือทาส่ วนหนึ่ง
และใช้เครื่ องกลส่ วนหนึ่ง กล่าวคือ ส่ วนที่เป็ นเอกสารต่าง ๆ ทาด้วยมือ
และส่ วนที่สร้างระบบสารสนเทศใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
ระบบนี้มีขอ้ ดีคือ ค่าใช้จ่ายไม่สูง การฝึ กอบรมบุคลากรไม่มากนัก แต่มี
ข้อเสี ยคือ ถ้ารู ปแบบเอกสารไม่เหมาะสม การปฏิบตั ิงานไม่เหมาะสม
การดาเนินการจะล่าช้าหากข้อมูลจากการกรอกเอกสารผิดพลาด ระบบนี้
จะทาได้ดีต่อเมื่อส่ วนที่ทาด้วยมือทาได้สมบูรณ์แบบ ได้แก่ การกรอก
ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง มีระบบควบคุม ตรวจสอบอย่างดี

3. ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation) เป็ นระบบที่ใช้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ดาเนินงาน ระบบนี้ตอ้ งมีการออกแบบให้เข้ากับลักษณะ
งาน เนื่องจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่สร้างมาจะมีลกั ษณะและขนาดของ
เครื่ องแตกต่างกัน
ตัวอย่างการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ โดยใช้แฟ้ มเอกสาร อาจแบ่งได้ดงั นี้
 แฟ้มข้ อมูลหลัก: เป็ นข้อมูลพื้นฐานซึ่ งแบ่งเป็ นหลายแฟ้ มตามโครงสร้างของงาน
 แฟ้มข้ อมูลย่ อย: เป็ นแฟ้ มข้อมูลใหม่ ๆ ของแฟ้ มข้อมูลหลักแต่ยงั อาจต้องปรับ
ให้เป็ นปัจจุบนั
่ ่ วนไหนของข้อมูลหลัก
 แฟ้มดัชนี: เป็ นแฟ้ มเลขดัชนี้ ที่ระบุวา่ ข้อมูลใดอยูส
 แฟ้มตารางอ้ างอิง : เป็ นแฟ้ มรวบรวมข้อมูลในลักษณะตารางซึ่ งใช้ประโยชน์ใน
การอ้างอิง
 แฟ้มข้ อมูลสรุ ป: เป็ นแฟ้ มที่รวบรวมข้อมูลในรู ปแบบของการสรุ ปผล
 แฟ้มข้ อมูลสารอง : เป็ นการสร้างแฟ้ มสารองข้อมูลสาคัญ ๆ เพื่อประโยชน์
ในกรณี ที่ขอ้ มูลเดิมสูญหาย

ในการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนเพื่อจัดทาข้อมูลสารสนเทศ นั้น
สถานศึกษาต้องประเมินจากผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ผล
การดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี และผลการดาเนินงาน
โครงการ/กิจกรรมตามนโยบายพิเศษ จะได้ขอ้ มูลสารสนเทศที่สมบูรณ์
พร้อมนาไปใช้ในการเขียนรายงานและเป็ นข้อมูลสาหรับวางแผนพัฒนา
ในปี ต่อไป ลักษณะหรื อรู ปแบบการจัดเก็บ อาจจาแนกเป็ น 3 ลักษณะ
ได้แก่
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
 ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการจัดการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา
 ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการดาเนิ นงานตามแผนปฏิบต
ั ิการประจาปี

นอกจากนี้ สถานศึกษาควรจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศย้อนหลังอย่างน้อย 3
ปี เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และเตรี ยมความ
พร้อมในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งควรจัดเก็บผลการ
ดาเนินงานของสถานศึกษาให้ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา ดังนี้
 1. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ผลจาก SAR ของ
สถานศึกษาย้อนหลัง)
 2. ผลการดาเนิ นงานตามแผนปฏิบต
ั ิการประจาปี ย้อนหลัง
 3. ผลการจัดการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรสถานศึกษาย้อนหลัง


1. สารสนเทศพืน้ ฐานของสถานศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา เช่น
 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
 เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์
 โครงสร้าง
 บุคลากร
 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
 แหล่งเรี ยนรู ้
 ทรัพยากรและงบประมาณ
 เกียรติยศชื่อเสี ยง/ผลงาน/โครงการดีเด่นของสถานศึกษา

2. สารสนเทศเกีย่ วกับผู้เรียน
◦ 1) จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยน
◦ 2) จานวนนักศึกษาที่จบการศึกษา



3. สารสนเทศบริหารงานวิชาการ
3.1 หลักสูตสถานศึกษา
-ระดับประถมศึกษา
-ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
-ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 3.2 กลุ่มหมวดวิชาพื้นฐาน
 3.3 กลุ่มหมวดวิชาประสบการณ์
 3.4 ระเบียบและแนวทางต่างๆ เช่น คู่มือการวัดผลและประเมินผลการเรี ยน
การเทียบโอนผลการเรี ยน เป็ นต้น


4. สารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการ
 4.1 งานบริ หารทัว่ ไป
 งานพัฒนาบุคลากร
 งานทะเบียนนักศึกษา
 งานการเงินและบัญชี
 งานประกันคุณภาพการศึกษา
 งานเครื อข่าย
4.2 งานนโยบายและแผน
4.2 งบประมาณ
4.4 การประกันคุณภาพการศึกษา


5. สารสนเทศเพือ่ การรายงาน
 รายงาน แผนงาน/โครงการ
 รายงานการประชุมประจาเดือน
 รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาเดือน ส
 รุ ปผลการดาเนินงานตามรายโครงการ/กิจกรรม
 รายงานผลการดาเนินงานประจาปี งบประมาณ 2553 รอบ 6 เดือน
 รายงานการประเมินตนเอง (SAR)

6. สารสนเทศ คู่มอื และแนวทางการปฏิบัติงาน
◦ คู่มือ/แนวทางการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาพื้นฐาน
◦ คู่มือดาเนินงาน หลักสู ตร
◦ คู่มือการฝึ กอบรม
◦ คู่มือวิจยั ปฎิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
◦ คู่มือการใช้โปรแกรม
◦ คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลห้องสมุด
◦ คู่มือผูใ้ ช้งานระบบ E-Library
◦ คู่มือการจัดทาหนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์
คาถาม การประกันคุณภาพระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีมาตรฐาน
การศึกษาและตัวบ่ งชี้ เพือ่ ประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน มีกี่
มาตรฐาน มีมาตรฐานอะไรบ้ าง และแต่ ละมาตรฐานมีกตี่ ัวบ่ งชี้
คาถาม การประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา มีองค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้
เพือ่ ประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา มีกอี่ งค์ ประกอบ มี
องค์ ประกอบอะไรบ้ าง และแต่ ละองค์ ประกอบมีกตี่ ัวบ่ งชี้
คาถาม จากเกณฑ์ การประเมินดังกล่าวมีมาตรฐานหรือองค์ ประกอบใด
หรือตัวบ่ งชี้ใดบ้ าง ที่เกีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศ จงอธิบาย
ให้ นักศึกษาออกแบบ แบบฟอร์ มบันทึกข้ อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา เช่ น
 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
 ข้อมูลผูบ
้ ริ หาร
 ข้อมูลนักเรี ยน
 ข้อมูลครู และบุคลากร
 ข้อมูลอาคารสถานที่
 ข้อมูลงบประมาณ
 ผลงานดีเด่น
 งาน/โครงการ/กิจกรรม
 ฯลฯ
โดยให้นกั ศึกษาเขียนแบบฟอร์มดังกล่าวลงในกระดาษ A4