การบรรยายทบทวน กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่งภาค ๓ (มาตรา ๒๒๓ ถึง ๒๕๒) ศึกษาปัญหาในกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่ง เฉพาะบทบัญญัติวา่ ด้วยอุทธรณ์ ฎีกา โดยการวิเคราะห์หลัก กฎหมายทฤษฎี และคาพิพากษาฎีกา เพื่อให้สามารถปรับใช้ บทบัญญัติของกฎหมายได้ ในเชิงปฏิบตั ิ (ลักษณะของข้อสอบ จะออกเป็ น ข้อ ๕ แยกเป็

Download Report

Transcript การบรรยายทบทวน กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่งภาค ๓ (มาตรา ๒๒๓ ถึง ๒๕๒) ศึกษาปัญหาในกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่ง เฉพาะบทบัญญัติวา่ ด้วยอุทธรณ์ ฎีกา โดยการวิเคราะห์หลัก กฎหมายทฤษฎี และคาพิพากษาฎีกา เพื่อให้สามารถปรับใช้ บทบัญญัติของกฎหมายได้ ในเชิงปฏิบตั ิ (ลักษณะของข้อสอบ จะออกเป็ น ข้อ ๕ แยกเป็

การบรรยายทบทวน
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่งภาค ๓
(มาตรา ๒๒๓ ถึง ๒๕๒)
ศึกษาปัญหาในกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่ง เฉพาะบทบัญญัติวา่ ด้วยอุทธรณ์ ฎีกา โดยการวิเคราะห์หลัก
กฎหมายทฤษฎี และคาพิพากษาฎีกา เพื่อให้สามารถปรับใช้
บทบัญญัติของกฎหมายได้ ในเชิงปฏิบตั ิ
(ลักษณะของข้อสอบ จะออกเป็ น ข้อ ๕ แยกเป็ น ๒ ประเด็น)
บรรยายภาคทบทวน โดย อ.สมศักดิ์ แก้วเจริ ญไพศาล
ระบบการเรียนหนังสื อให้ ได้ ดี




ระบบการศึกษา SQ3R และระบบการศึกษาของศาสตราจารย์ เฮอร์ เบิร์ด
ในปัจจุบนั มีวิธีการศึกษาในระดับอุดมศึกษาซึ่งอาจนามาปรับเข้ากับวิชากฎหมายได้อยูห่ ลายวิธี แต่วิธีการศึกษาที่
น่าจะพิจารณาอย่างยิง่ คือระบบการศึกษา SQ3R และระบบการศึกษาของศาสตราจารย์ เฮอร์ เบิร์ด
ระบบการศึกษา SQ3R
ระบบการศึกษา SQ3R เป็ นวิธีการศึกษาที่เป็ นที่นิยมมากในชั้นอุดมศึกษามในประเทศสหรัฐอเมริ กา ซึ่งก่อน
หน้านี้ ได้มีการค้นคว้าและวิจยั กันเป็ นอันมากว่า การศึกษามในชั้นอุดมศึกษานั้นจะต้องศึกษาอย่างไรถึงจะได้ผลดี
ที่สุด ศาสตราจารย์ฟรานซิ ส บี ร้อบบินสัน (Francis B. Robinson) ซึ่งผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านจิตวิทยา
แห่ง Ohin State University ได้คิดค้นระบบการศึกษาที่มีชื่อเสี ยงที่สุดระบบหนึ่งเรี ยกว่า
"The SQ 3 R Method of Study)
คาว่า SQ 3 R นั้น เป็ นอักษรย่อมาจากคาสาคัญ 5 คา กล่าวคือ
S = Survey การสารวจเค้าโครงวิชาที่เรี ยน
Q = Question การตั้งปัญหาถามตัวเอง
R = Reading การอ่าน
R = Recite การอ่านทบทวนจากความจา
R = Revising การอ่านทบทวน
โดยนักศึกษาควรทาตามข้างต้นตามลาดับในการศึกษากฎหมาย
ระบบการเรียนหนังสื อให้ ได้ ดี (ต่ อ)







ระบบการศึกษาของศาสตราจารย์ เฮอร์ เบิร์ด
ระบบ SQ3R ที่กล่าวมาเเล้วนี้ เทียบได้กบั ระบบการศึกษาของศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ด ผูม้ ีชื่อเสี ยงชาวเยอรมัน ซึ่งท่านได้
เสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการศึกษาไว้เมื่อปลาย ศริ สต์ศตวรรษที่ 19 รวม 5 ขั้นตอนด้วยกัน
ขั้นที่ 1 การตระเตรียมการศึกษา (Preparation)
ขั้นที่ 2 การเสนอเรื่องทีจ่ ะศึกษา (Presentation)
ขั้นที่ 3 การเชื่อมโยงบรรดาเรื่องต่ างๆทีไ่ ด้ ศึกษามาเเล้ ว (Association)
ขั้นที่ 4 การสกัดหลักทีส่ าคัญจากเรื่องทีไ่ ด้ กล่ าวมาเเล้ ว ด้ วยการใช้ ความคิด (Thinking)
เเละการใคร่ ครวญด้ วยตนเอง (Reflection)
ขั้นที่ 5 การปรับความรู้เข้ ากับปัญหาทีจ่ ะต้ องตอบ (Application)

ทั้งสอบระบบการศึกษานี้ นักศึกษาสามารถนาไปใช่ประยุกต์ในการเรี ยนกฎหมายเเละจะทาให้นกั ศีกษาเข้าใจในบทเรี ยนเเละสิ่ ง
ที่อ่านได้มากขึ้นด้วย

ที่มา : ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร และอภิชน จันทรเสน. คาแนะนานักศึกษากฎหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2550.
ระบบการเรียนหนังสื อให้ ได้ ดี (ต่ อ ๒)






กฎแห่งความสาเร็ จ
๑. มีความศรัทธา คือเชื่อมัน่ ตนเองว่าต้องทาสาเร็ จ
๒. มีความเพียร พากเพียรอย่างถึงใจ
๓. ตั้งสติให้มนั่ ระลึกถึงกฎหมายทุกวัน
๔. สร้างสติปัญญา โดยมีสติระลึกได้ ด้วยการหมัน่ ฝึ กทบทวน
(อจ.รชฎ เจริ ญฉ่ า)
หัวข้ อมาตราในเนือ้ หาวิชา
และสถิตกิ ารออกข้ อสอบ ตั้งแต่ สมัย ๓๗-๖๕)






หลักทัว่ ไปในการอุทธรณ์ มาตรา ๒๒๓ (๓ ครั้ง)
การอุทธรณ์ขอ้ กฎหมายโดยตรงต่อศาลฎีกา มาตรา ๒๒๓ ทวิ (ยัง)
คดีที่ตอ้ งห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริ ง มาตรา ๒๒๔ (๑๐ ครั้ง)
ข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างในชั้นอุทธรณ์ มาตรา ๒๒๕
(๖ ครั้ง)
การอุทธรณ์คาสัง่ ระหว่างพิจารณา มาตรา ๒๒๖ (๗ ครั้ง)
การอุทธรณ์คาสัง่ ที่ไม่ให้ถือว่าเป็ นคาสัง่ ระหว่างพิจารณา มาตรา ๒๒๗
และมาตรา ๒๒๘ (๒๒๗/ ๓ ครั้ง ๒๒๘ /๕ ครั้ง)
หัวข้ อมาตราและสถิติ (ต่ อ ๑)







การยืน่ คาฟ้ องอุทธรณ์ มาตรา ๒๒๙ (๓ ครั้ง)
การตรวจรับอุทธรณ์ มาตรา ๒๓๐ (๑ ครั้ง)
การขอทุเลาการบังคับ มาตรา ๒๓๑
การตรวจสัง่ คาฟ้ องอุทธรณ์ มาตรา ๒๓๒ (๒ ครั้ง)
การสัง่ ให้ผอู ้ ุทธรณ์วางเงินค่าฤชาธรรมเนียมศาลเพิ่ม มาตรา ๒๓๓
การอุทธรณ์คาสัง่ ศาลชั้นต้นที่ไม่รับอุทธรณ์ มาตรา ๒๓๔ (๑ ครั้ง)
การส่ งสาเนาอุทธรณ์ให้แก่จาเลยอุทธรณ์ มาตรา ๒๓๕
หัวข้ อมาตราและสถิติ (ต่ อ ๒)







วิธีปฏิบตั ิในการอุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับอุทธรณ์ มาตรา ๒๓๖ (๒ ครั้ง)
การยืน่ คาแก้อุทธรณ์ มาตรา ๒๓๗
การพิจารณาคดีที่อุทธรณ์ได้แต่ปัญหาข้อกฎหมาย มาตรา ๒๓๘
การพิจารณาอุทธรณ์ กรณี มีท้ งั อุทธรณ์คาสัง่ อุทธรณ์คาพิพากษา มาตรา
๒๓๙
การวินิจฉัยคดีของศาลอุทธรณ์ มาตรา ๒๔๐
การแถลงการณ์ดว้ ยวาจาในชั้นอุทธรณ์ มาตรา ๒๔๑
รู ปแบบคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ มาตรา ๒๔๒
ขอบข่ ายเนือ้ หาการบรรยาย (ต่ อ)




อานาจพิจารณาหรื อมีคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ มาตรา ๒๔๓ (๑ ครั้ง)
การอ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ มาตรา๒๔๔
การพิพากษา และผลแห่งคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ มาตรา
๒๔๕
บทบัญญัติให้นาการพิจารณาและการชี้ขาดคดีของศาลชั้นต้นมาใช้
มาตรา ๒๔๖
หัวข้ อมาตรา และสถิติ (ต่ อ ๓)
หลักเกณฑ์การยืน่ ฎีกาและกฎหมายที่นามาใช้บงั คับในชั้นฎีกา มาตรา
๒๔๗
 คดีที่ตอ
้ งห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริ ง มาตรา ๒๔๘ (๗ ครั้ง)
 ข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกา มาตรา ๒๔๙
(๙ ครั้ง )
 การขอเงินหลักประกันคืนในชั้นฎีกา มาตรา ๒๕๑
 คาร้องอุทธรณ์คาสัง่ ที่ไม่ยอมรับฎีกา มาตรา ๒๕๒ (๑ ครั้ง)

ขอบข่ ายหรือระบบโครงสร้ างเนือ้ หาสาคัญ
(สายมาตราสาคัญ ๕ สาย)
 ๑. โครงสร้ างของหลักทัว
่ ไป (สายแรก สายมาตรา ๒๒๓ ,
๑๔๗ ,๒๒๙)

มาตรา ๒๒๓ แยกพิจารณาเป็ น ๓ ประเด็น

๑. บททัว่ ไปว่าด้วยการอุทธรณ์ ฎีกา
ก. ต้องอยูภ่ ายใต้บงั คับ มาตรา ๑๓๘, ๑๖๘, ๑๘๘, ๒๒๒
ข. ต้องอยูภ่ ายใต้บทบัญญัติในลักษณะนี้ (คือลักษณะอุทธรณ์ ฎีกา ตาม
มาตรา ๒๒๓ ทวิ (อุทธรณ์โดยตรงต่อศาลฎีกา ) และ มาตรา ๒๕๒ (การ
อุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับฎีกา ให้ยนื่ ต่อศาลฎีกา)


โครงสร้ างของหลักทั่วไป (ต่ อ ๑)







๒. การยืน่ อุทธรณ์คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลชั้นต้น ให้ยนื่ อุทธรณ์
ต่อศาลอุทธรณ์
๓. คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลชั้นต้น จะต้องไม่มีบทบัญญัติตาม
ประมวลกฎหมายนี้ หรื อกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็ นที่สุด
๓.๑ คดีถึงที่สุดหรื อไม่ ต้องพิจารณาตามมาตรา ๑๔๗
วรรค ๑ ตามกฎหมายจะอุทธรณ์หรื อฎีกาไม่ได้ ถึงที่สุดนับแต่วนั อ่าน
วรรค ๒ อุทธรณ์ฏีกาได้ ถึงที่สุดนับแต่ระยะเวลานั้นได้สิ้นสุ ดลง
ดู ๒๒๙ คือต้องอุทธรณ์ภายใน ๑ เดือน (ไม่ใช่ ๓๐ วัน) ม.๑๙๓/๕ ปพพ
๓.๒ ประมวลกฎหมายนี้บญั ญัติให้เป็ นที่สุด เช่น คาสัง่ เกี่ยวกับการ
โอนคดี มาตรา ๖, ๘ การคัดค้านผูพ้ ิพากษา มาตรา ๑๔ คาสัง่ เกี่ยวกับ
การขอเพิกถอนการขายทอดตลาด มาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคท้าย
โครงสร้ างเกีย่ วกับข้ อจากัดเกีย่ วกับสิ ทธิในการอุทธรณ์
 สายที่สองมาตรา
๒๒๔ , ๒๒๕ , ๒๒๖ ,
๒๒๗, ๒๒๘
 มาตรา ๒๒๔ การต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริ งเพราะ
ทุนทรัพย์นอ้ ย
 มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ ง ต้องห้ามคดีมีทุนทรัพย์
 มาตรา ๒๒๔ วรรคสอง ต้องห้ามคดีไม่มีทุนทรัพย์
ข้ อจากัดสิ ทธิในการอุทธรณ์ ตามมาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง




“คดีมีทุนทรัพย์” ต้องพิจารณาเกี่ยวกับความหมาย และต้องเป็ น
ทุนทรัพย์ในชั้นอุทธรณ์ เท่านั้น
“คดีมีทุนทรัพย์ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท” หมายถึง ๕๐,๐๐๐ บาท พอดี
ก็ตอ้ งห้าม
ห้ามอุทธรณ์ “ในข้อเท็จจริ ง” (ตัวบทไม่ได้ใช้คาว่า ในปัญหาข้อเท็จจริ ง)
ข้อยกเว้นตามวรรคหนึ่ง คือ มีความเห็นแย้ง การขอรับรอง หรื อได้รับ
อนุญาต
มาตรา ๒๒๔ วรรคสอง คดีไม่ มีทุนทรัพย์

วรรคหนึ่งมิให้ใช้บงั คับ ในคดี ๓ ประเภท
๑. คดีเกี่ยวด้วยสิ ทธิแห่งสภาพบุคคล
๒. คดีสิทธิในครอบครัว
๓. คดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อนั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้

ข้ อยกเว้ นของวรรคสอง

คดีฟ้องขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริ มทรัพย์อนั มีค่าเช่าหรื ออาจ
ให้เช่าได้ไม่เกินเดือนละ ๔,๐๐๐ บาท (แม้จะเป็ นประเภทคดีไม่มีทุน
ทรัพย์ ก็ตอ้ งห้ามเหมือนวรรคหนึ่ง แต่กน็ าข้อยกเว้น ๓ ประการ ตาม
วรรคหนึ่งมาใช้ได้เช่นกัน)



ข้ อจากัด ตามมาตรา ๒๒๕





ใช้กบั กฎหมายทุกประเภท ในระบบของศาลยุติธรรม โยงใช้ตาม ปวิอ.
มาตรา ๑๕ และศาลชานัญพิเศษด้วย
ใช้ท้ งั ข้อเท็จจริ ง และข้อกฎหมาย ทุกปัญหาต้องเข้าหลักเกณฑ์มาตรานี้
๑. ต้องว่ากล่าวมาแล้วโดยชัดแจ้งในอุทธรณ์ เพราะอุทธรณ์เป็ นคาฟ้ อง
ตามมาตรา ๑ (๓) (เทียบกับมาตรา ๑๗๒ วรรคสองที่ใช้อา้ งเดิม)
๒. ต้องเป็ นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้ว โดยชอบ ในศาลชั้นต้น
คือ ต้องเป็ นประเด็นข้อพิพาทโดยชอบ ตามหลักการรับฟัง
พยานหลักฐาน และการพิพากษา ตามมาตรา ๘๖,๘๗ และ ๑๔๒ วรรค
หนึ่ง
ข้ อจากัด ตามมาตรา ๒๒๕ (ต่ อ ๑)




การรับฟังพยานหลักฐานตามมาตรา ๘๖ ต้องเกี่ยวกับประเด็นคดี ไม่ใช่
พยานฟุ่ มเฟื อย ประวิงให้ชกั ช้า คือ ถ้าไม่เกี่ยวก็หา้ มสืบหรื อสัง่ งดสื บได้
หากฝ่ าฝื นสื บไป ไม่เกี่ยวกับประเด็นข้อสาคัญในคดี ก็ตอ้ งห้ามมิให้รับ
ฟัง ตามมาตรา ๘๗
คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลที่ช้ ีขาดคดี ต้องตัดสิ นตามข้อหาในคาฟ้ อง
ทุกข้อ ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง คือ ต้องเป็ นประเด็นข้อพิพาทในคดี
หากไม่เป็ นประเด็นแล้ว ศาลชั้นต้นตัดสิ นมา ถือว่า ไม่ใช่ประเด็นข้อ
พิพาทโดยชอบ หากศาลอุทธรณ์ตดั สิ นให้ตามประเด็นดังกล่าวมาอีก ก็
จะต้องห้าม ฎีกาเช่นกัน ตามมาตรา ๒๔๙ (ออกสอบสมัย ๖๖ โดยถือว่า
เสี ยทั้งสาย)
ข้ อจากัด ตามมาตรา ๒๒๕ (ต่ อ ๒)






๓. ต้องเป็ นสาระแก่คดีอนั ควรได้รับการวินิจฉัย เป็ นสาระหรื อไม่ ต้อง
ดูวา่ ตัดสิ นให้แล้ว ผลของคดีเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ ถ้าไม่เปลี่ยนก็ไม่เป็ น
สาระ
ข้อยกเว้น ตามมาตรา ๒๒๕ วรรคสอง (เป็ นการยกเว้นหลักข้อ ๒ คือ
แม้ไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วโดยชอบ ศาลอุทธรณ์กร็ บั ฟังได้)
ก. เป็ นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อย
ข. พฤติการณ์ไม่เปิ ดช่องให้กระทาได้
ค. เป็ นเรื่ องที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติวา่ ด้วยกระบวนพิจารณาชั้น
อุทธรณ์
ถ้า เข้า ก หรื อ ข หรื อ ค. ก็หยิบยกขึ้นอุทธรณ์ได้
ข้ อจากัดสิ ทธิการอุทธรณ์ คาสั่ งระหว่ างพิจารณา
ตามมาตรา ๒๒๖
มาตรา ๒๒๖ เป็ นการอุทธรณ์ ทไี ด้ สิทธิน้อยทีส่ ุ ด หรือตา่ สุ ด
 คือ ต้องพิจารณาให้ผา่ นตามมาตรา ๒๒๔ , ๒๒๕ มาก่อน จึงจะ
พิจารณาตามมาตรา ๒๒๖ ได้
 “คาสัง่ ระหว่างพิจารณา” คือคาสัง่ ที่ศาลชั้นต้นสัง่ ก่อนมีคา
พิพากษาหรื อชี้ขาดคดี และไม่ใช่คาสัง่ ตามาตรา ๒๒๗ ,๒๒๘
 ถ้าเป็ นคาสัง่ ระหว่างพิจารณาแล้ว จะอุทธรณ์ได้ตอ
้ งเป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ ๓ ข้อ คือ

มาตรา ๒๒๖ (ต่ อ๑)
 ๑.
ห้ามมิให้อุทธรณ์คาสัง่ นั้นในระหว่างพิจารณา
 ๒. ต้องโต้แย้งคาสัง่ ระหว่างพิจารณานั้นไว้ จึงจะอุทธรณ์
ได้
 ๓. ถ้าโต้แย้งไว้แล้ว ก็อุทธรณ์ได้ภายในกาหนด ๑ เดือน
นับแต่วนั ที่ได้ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ เป็ นต้นไป
การอุทธรณ์ คาสั่ งตามมาตรา ๒๒๗
๑. คาสัง่ ตามมาตรา ๒๒๗ มิให้ถือว่า เป็ นคาสัง่ ระหว่างพิจารณา
คือ
 ๑.๑ คาสัง่ ที่ไม่รับหรื อให้คืนคาคู่ความตามมาตรา ๑๘
 ๑.๒ คาสัง่ วินิจฉัยชี้ขาดเบื้อต้นตามมาตรา ๒๔ ซึ่ งทาให้คดีเสร็ จ
ไปทั้งเรื่ อง
่ ายใต้ขอ้ บังคับของการ
 ๒. การอุทธรณ์คาสัง่ ตามมาตรานี้ ให้อยูภ
อุทธรณ์คาพิพากษาหรื อคาสั่งชี้ขาดตัดสิ นคดี คือ ภายใต้บงั คับ
มาตรา ๒๒๓ และมาตรา ๒๒๙

การอุทธรณ์ คาสั่ งตามมาตรา ๒๒๘




เป็ นคาสัง่ ที่ไม่ถือว่าเป็ นคาสัง่ ระหว่างพิจารณาเช่นเดียวกัน โดยเป็ น
คาสัง่ ลักษณะพิเศษ ที่กฎหมายให้อุทธรณ์ได้ ๒ ช่วงเวลา คือ
๑. คาสัง่ ให้กกั ขัง หรื อปรับไหมหรื อจาขัง ผูใ้ ด ตามประมวลกฎหมายนี้
๒. คาสัง่ เกี่ยวกับคาขอเพื่อคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความระหว่าง
พิจารณา หรื อ คาสัง่ อันเกี่ยวด้วยคาขอเพื่อที่จะบังคับตามคาพิพากษา
ต่อไป
๓. คาสัง่ ไม่รับหรื อให้คืนคาคู่ความตามมาตรา ๑๘ หรื อวินิจฉัยชี้ขาด
เบื้องต้น ตามมาตรา ๒๔ ซึ่งมิได้ทาให้คดีเสร็ จไปทั้งเรื่ อง หากเสร็ จไป
เฉพาะประเด็นบางข้อ
การอุทธรณ์ คาสั่ งตามมาตรา ๒๒๘ (ต่ อ)
คาสัง่ ตามมาตรานี้ คู่ความสามารถใช้สิทธิอุทธรณ์ได้ ๒
ช่วงเวลา คือ
 อุทธรณ์ได้ภายใน ๑ เดือน นับแต่วน
ั ที่มีคาสัง่ ตามวรรคสอง
 ถ้าคู่ความมิได้อุทธรณ์คาสัง่ ตามที่บญ
ั ญัติไว้ในมาตรานี้ ให้
อุทธรณ์ได้เมื่อศาลพิพากษาคดีแล้ว ตามมาตรา ๒๒๓
 ความหมายของวรรคท้าย คือ ต้องใช้สิทธิ อุทธรณ์ครั้งเดียว
 ดังนั้น ถ้าเกิน ๑ เดือน นับแต่วน
ั ที่มีคาสัง่ แล้ว ไปยืน่ อุทธรณ์แล้ว
ศาลสัง่ ไม่รับเพราะเกิน ๑ เดือน จะใช้สิทธิตามวรรคท้ายอีก
ไม่ได้

 สายที่ ๓
การยืน่ และการพิจารณารับอุทธรณ์
สายมาตรา ๒๒๙, ๒๓๐, ๒๓๑, ๒๓๒, ๒๓๔ ,
๒๓๕, ๒๓๖, ๒๓๗
 การยืน
่ อุทธรณ์ ตามมาตรา ๒๒๙ หลักสาคัญ





๑. อุทธรณ์ตอ้ งทาเป็ นหนังสื อ
๒. ให้ยนื่ ต่อศาลชั้นต้นซึ่งมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่
๓. ยืน่ ภายในกาหนด ๑ เดือน นับแต่วนั ที่ได้อ่านคาพิพากษาหรื อคาสัง่
๔. ต้องนาเงินค่าธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนแก่คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งมาวาง
พร้อมอุทธรณ์
๕. ต้องทาสาเนาอุทธรณ์ เพื่อส่ งให้แก่จาเลยอุทธรณ์
การยืน่ และพิจารณารับอุทธรณ์ (ต่ อ ๑)




ข้อพิจารณา
๑. เมื่อมีการยืน่ อุทธรณ์แล้ว ศาลชั้นต้นต้องพิจารณาว่าจะรับหรื อไม่รับ
ตามมาตรา ๒๓๒ (คือพิจารณาว่ายืน่ ถูกต้องตาม ๒๒๓, ๒๒๔,๒๒๕ ,
๒๒๖ และ ๒๒๙ หรื อไม่ )
๑.๑ พิจารณารับ เพราะเห็นว่าเป็ นอุทธรณ์ที่ยนื่ โดยชอบ คือ ยืน่ ภายใน
กาหนดเวลา และไม่ตอ้ งห้ามตามข้อจากัดที่วา่ มาแล้ว ต้องดาเนินการ
ต่อไป ตามมาตรา ๒๓๕ คือให้ส่งสาเนาอุทธรณ์ให้แก่จาเลยอุทธรณ์
ภายใน ๗ วัน (ชั้นอุทธรณ์ไม่มีการทิ้งฟ้ องอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๗๔(๑) )
แม้ศาลรับอุทธรณ์แล้ว ก็ไม่เป็ นการทุเลาการบังคับคดี และระหว่าง
พิจารณาของศาลอุทธรณ์ คู่ความอาจขอทุเลาการบังคับคดีได้ตามมาตรา
๒๓๑
การยืน่ และพิจารณารับอุทธรณ์ (ต่ อ ๒)




๑.๒ พิจารณาแล้วสัง่ ไม่รับ แยกพิจารณาได้อีก ๒ ประเด็น
๑.๒.๑ สัง่ ไม่รับ เพราะเป็ นอุทธรณ์ตอ้ งห้ามในข้อเท็จจริ งตามมาตรา
๒๒๔ ต้องพิจารณาตามมาตรา ๒๓๐ คือต้องดูวา่ คู่ความเคยขอให้
อธิบดีผพู ้ ิพากษามีคาสัง่ อนุญาตให้อุทธรณ์ (ตัวบทใช้คาว่ายืนตามหรื อ
กลับ) คู่ความก็มีสิทธิขอให้อธิบดีพิจารณาอีกครั้งภายใน ๗ วัน
๑.๒.๒ สัง่ ไม่รับที่ไม่ใช่ขอ้ ๑.๒.๑ ต้องพิจารณาตามมาตรา ๒๓๔
ซึ่งเป็ นภาระที่หนักมาก คือ
การยืน่ และการพิจารณารับอุทธรณ์ (ต่ อ ๓)
มาตรา ๒๓๔
 ๑. ผูอ
้ ุทธรณ์ ต้องอุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์
โดยยืน่ คาร้องต่อศาลชั้นต้น
 ๒. ต้องนาค่าฤชาธรรมเนี ยมทั้งปวงมาวางศาล และ
 ๓. ต้องนาเงินมาชาระตามคาพิพากษา หรื อหาหลักประกันให้ไว้
ต่อศาลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ที่ศาลมีคาสัง่

การยืน่ และการพิจารณารับอุทธรณ์ (ต่ อ ๔)
เมื่อมีการยืน่ อุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๕ แล้ว ต้อง
พิจารณาตาม มาตรา ๒๓๖
 ๑. ให้ศาลชั้นต้นส่ งคาร้องพร้อมคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ไปยังศาล
อุทธรณ์โดยไม่ชกั ช้า (โดยศาลชั้นต้นไม่มีอานาจพิจารณาสัง่ อีก
ต่อไป)
 ๒. ศาลอุทธรณ์พิจารณาแล้ว จะมีคาสัง่ ยืนตามคาสัง่ ศาลชั้นต้น (คือ
ไม่รับ) หรื อมีคาสัง่ ให้รับอุทธรณ์ (คาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ให้เป็ น
ที่สุด)
 ๓. ถ้าสัง่ ให้รับ ผล ให้ดาเนิ นการเหมือนมาตรา ๒๓๕ คือส่ งสาเนา
อุทธรณ์ให้จาเลยอุทธรณ์ ตามมาตรา ๒๓๖ วรรคสอง

การยืน่ และการพิจารณารับอุทธรณ์ (ต่ อ ๕)




๔. ถ้ามีคาสัง่ รับและส่ งสาเนาอุทธรณ์แล้ว จาเลยอุทธรณ์มีสิทธิยนื่ คาแก้
อุทธรณ์ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ส่ งสาเนาอุทธรณ์ ตามมาตรา ๒๓๗
ถ้าไม่ยนื่ คาแก้อุทธรณ์ ไม่มีการขาดนัดยืน่ คาแก้อุทธรณ์ ตามวรรคสอง
คาฟ้ องอุทธรณ์ และคาแก้อุทธรณ์ เป็ นคาคู่ความ ตามมาตรา ๑ (๕) คือ
ต้องเป็ นประเด็นในชั้นอุทธรณ์ ถ้าไม่มีในคาคู่ความชั้นอุทธรณ์ ก็ถือว่า
ไม่มีประเด็นดังกล่าวในชั้นอุทธรณ์ เพราะศาลอุทธรณ์จะพิจารณา
เพียงแต่คาฟ้ องอุทธรณ์ คาแก้อุทธรณ์ เอกสารและหลักฐานทั้งปวงตาม
มาตรา ๒๔๐ วรรคหนึ่ง เท่านั้น
(จะมีผลที่ดูต่อไปด้วยว่า เป็ นข้อที่ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วโดยชอบ
หรื อไม่ในชั้นอุทธรณ์ เพื่อใช้สิทธิฎีกา) หรื อ ถ้าไม่ยนื่ คาแก้อุทธรณ์ใน
ประเด็นใด ถือว่าประเด็นดังกล่าวถึงที่สุดแล้ว ตามมาตรา ๑๔๗ ว.๒
การพิจารณาของศาลอุทธรณ์




สายที่ ๔ การวินิจฉัยหรื อการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์
๑. การวินิจฉัยคดีของศาลอุทธรณ์ ต้องปฏิบตั ิตามมาตรา ๒๔๐ คือ
พิจารณาได้แต่คาฟ้ องอุทธรณ์ และคาแก้อุทธรณ์ มีขอ้ ยกเว้นตามมาตรา
๒๔๑ คือคู่ความขอแถลงการณ์ดว้ ยวาจาในชั้นอุทธรณ์
๒. คดีที่อุทธรณ์ได้แต่เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย ศาลอุทธรณ์ตอ้ งถือตาม
ข้อเท็จจริ งตามศาลชั้นต้น ตามมาตรา ๒๓๘ แต่อยูภ่ ายใต้บงั คับมาตรา
๒๔๓
อานาจศาลอุทธรณ์ ตามมาตรา ๒๔๓ (๓)
ฎีกา
สายที่ ๕ มาตรา ๒๔๗ , ๒๔๘, ๒๔๙ , ๒๕๒
 คือ สิ ทธิ และการยืน
่ ฎีกา มาตรา ๒๔๗
 ข้อจากัดสิ ทธิ ในการฎีกาเพราะทุนทรัพย์นอ
้ ย ตามมาตรา ๒๔๘
(เทียบ มาตรา ๒๒๔ ชั้นอุทธรณ์)
 ข้ออ้างอิงในชั้นฎีกา มาตรา ๒๔๙ (เทียบมาตรา ๒๒๕ ชั้น
อุทธรณ์)
 การอุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับฎีกา มาตรา ๒๕๒

ระบบขออนุญาตฎีกาตามร่ างกฎหมายใหม่


สาระสาคัญของร่ าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง และร่ าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา เปลี่ยนจากระบบสิ ทธิในการฎีกา เป็ นระบบขออนุญาตฎีกา
คือกาหนดให้คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด และ
คู่ความอาจยืน่ คาร้องต่อศาลฎีกาเพื่อขอให้พิจารณาอนุญาตให้ฎีกา
ภายในกาหนด 1 เดือน นับแต่วนั ที่ได้อ่านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาล
อุทธรณ์ โดยให้ยนื่ คาร้องไปพร้อมกับฎีกา
ระบบขออนุญาตฎีกาตามร่ างกฎหมายใหม่ (ต่ อ ๑)

ให้องค์คณะผูพ้ ิพากษา ซึ่งประกอบด้วย รองประธานศาล
ฎีกาและผูพ้ ิพากษาในศาลฎีกาที่ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้
พิพากษาศาลฎีกาอีกอย่างน้อย 3 คน เป็ นผูพ้ ิจารณาและวินิจฉัย
คาร้องดังกล่าว ทั้งนี้ ศาลฎีกาอาจอนุญาตให้ฎีกาได้เมื่อเห็นว่า
ปั ญหาตามฎีกานั้นเป็ นปัญหาซึ่งเกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ
หรื อเป็ นปัญหาสาคัญอื่นที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัย และคดีที่ ศาล
ฎีกามีคาสัง่ ไม่อนุญาตให้ฎีกา ให้เป็ นที่สุดตั้งแต่วนั ที่ได้อ่านหรื อ
ถือว่าได้อ่านคาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลอุทธรณ์
ระบบขออนุญาตฎีกาตามร่ างกฎหมายใหม่ (ต่ อ ๒)
กาหนดให้ในคดีที่ได้รับอนุญาตให้ฎีกาที่มีแต่เฉพาะปัญหาข้อ
กฎหมาย หากศาลฎีกาเห็นว่าคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาล
อุทธรณ์ไม่ถูกต้อง ไม่วา่ ทั้งหมดหรื อบางส่ วน ศาลฎีกาจะมีคา
วินิจฉัยในปัญหาข้อกฎหมายนั้นและยกคาพิพากษาหรื อคาสั่ง
ของศาลอุทธรณ์หรื อศาลชั้นต้น แล้วมีคาสัง่ ให้ศาลอุทธรณ์หรื อ
ศาลชั้นต้น แล้วแต่กรณี ทาคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ใหม่ภายใต้
กรอบคาวินิจฉัยของศาลฎีกาก็ได้
 ระเบียบประธานศาลฎีกา เรื่ อง การไม่รับคดีที่ไม่เป็ นสาระ ปี
๒๕๕๑ (ประกาศราชกิจจานุเบกษา ๑๕ พค.๕๑) ใช้ ๑๖
