กฎหมายแข่งขันทางการค้ากับการเปิดเสรีการบิน

Download Report

Transcript กฎหมายแข่งขันทางการค้ากับการเปิดเสรีการบิน

ความสาคัญของกฎหมายแข่ งขันทางการค้ า
กับการเปิ ดเสรีด้านการบินระหว่ างประเทศ
เกียรติพล ตันติกลุ
กรมการบินพลเรือน
ความสาคัญของกฎหมายแข่ งขันทางการค้า
กับการเปิ ดเสรีด้านการบินระหว่ างประเทศ
“ICAO’s FIFTH WORLDWIDE AIR TRANSPORT
CONFERENCE agreed that the liberalization must be
accompanied by appropriate safeguard measures to
ensure “fair competition.” While general competition
laws may be effective tools in many cases, the
Conference recommended the adoption of aviationspecific rules for the prevention of anti-competitive
practices...avoid unilateral action. The “extra territorial
application” of national competition laws can affect
arrangements essential for the efficiency, regularity, and
viability of international air transport”
การเปิ ดเสรี ทางการบินระหว่างประเทศไม่
สามารถประสบผลสาเร็ จได้ หากไม่มีการ
บังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้า
อย่างเหมาะสมและเป็ นเอกภาพ
นโยบายการเปิ ดเสรีทางการบินระหว่ างประเทศ
(Open Skies/Liberalization Policy)

การดาเนินนโยบายทางการบินระหว่างประเทศ

การเปิ ดเสรี ทางการบินระหว่างประเทศ ตัวอย่าง ASEAN SINGLE
AVIATION MARKET: ASAM

ผลกระทบของการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้ากับการเปิ ดเสรี
ทางการบินระหว่างประเทศ
การดาเนินนโยบายทางการบินระหว่ างประเทศ

ความตกลงทางการบินในรู ปแบบเดิม (Traditional Approach) เป็ นความ
ตกลงที่อยูภ่ ายใต้นโยบายการกากับดูแลกิจการการบินโดยภาครัฐ
(Regulatory Policy)

ความตกลงทางการบินในการเปิ ดเสรี ทางการบิน (Open Skies
Approach) เป็ นความตกลงที่อยูภ่ ายใต้นโยบายการเปิ ดเสรี ทางการบิน
การเปิ ดเสรีทางการบินระหว่ างประเทศ

The “Open Skies Policy”/ “Liberalization” Policy is the policy leaving airline
business to rely upon the market mechanism. Unlike the traditional approach,
State Parties will conclude the air transport agreement by not negotiating upon
the matters of the numbers of designated airlines, fares, competition, capacity,
frequency etc.

ประเทศไทยดาเนินนโยบายเปิ ดเสรี ทางการบินเป็ นลาดับ (Transitional Approach)
กล่าวคือ รัฐบาลไทยภายใต้การดาเนิ นการของกลุ่มงานเจรจาสิ ทธิ การบิน กรมการ
บินพลเรื อน ดาเนินการทาความตกลงว่าด้วยการให้บริ การทางอากาศระหว่าง
ประเทศกับประเทศอื่นๆ โดยให้สิทธิ แก่ประเทศคู่เจรจามากขึ้นเรื่ อยๆ ซึ่ งนาไปสู่
การเปิ ดเสรี ทางการบินระหว่างประเทศคู่เจรจากับประเทศไทย ตัวอย่างเช่น ความ
ตกลงระหว่างประเทศไทยกับประเทศสหรัฐอเมริ กา
กฏหมายแข่ งขันทางการค้ ากับการเปิ ดเสรีทาง
การบินระหว่ างประเทศ

กฎหมายแข่งขันทางการค้า/กฎหมายป้ องกันการผูกขาด (Competition
Law/Antitrust Law)

ผลกระทบของการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้ากับการเปิ ดเสรี
ทางการบินระหว่างประเทศ
กฎหมายแข่ งขันทางการค้ า/กฎหมายป้องกันการผูกขาด
(Competition Law/Antitrust Law)



รัฐธรรมนูญของระบบเศรษฐกิจแบบกลไกตลาด (Market
Mechanism Economy)
กฎหมายแข่งขันทางการค้า/กฎหมายป้ องกันการผูกขาด คือ กฎหมายที่
ควบคุมพฤติกรรมและการดาเนินธุรกรรมของผูป้ ระกอบการในตลาด
เพื่อป้ องกันการกระทาที่เป็ นการบิดเบือนกลไลตลาดหรื อทาลายการ
แข่งขันในตลาด
การศึกษาและบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้าจาเป็ นต้องเข้าใจถึง
หลักเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการแข่งขันในตลาด เช่น หลักอุปสงค์
อุปทาน โครงสร้างและประเภทของตลาด เป็ นต้น
องค์ ประกอบของกฎหมายป้ องกันการผูกขาด


องค์ประกอบทางวิธีสบัญญัติ (Procedural element)
- องค์กรผูม้ ีอานาจเกี่ยวกับคดีแข่งขันทางการค้า
1. ทาคาวินิจฉัยชี้ขาด
2. ว่าคดีแข่งขันทางการค้า
องค์ประกอบทางสารบัญญัติ (Substantive element) บทบัญญัติที่เกี่ยวกับ
การเอาผิดกับ
1. การตกลงร่ วมกันกระทาการใดๆของผูป้ ระกอบการในตลาด (Cartel, Collusion)
(มาตรา 27)
2. การใช้อานาจเหนือตลาดในทางกีดกันการแข่งขัน/การมีหรื อความพยายามที่จะมี
อานาจเหนือตลาด (Abuse of Dominant Position/Monopolization) (มาตรา 25)
3. การควบรวมกิจการ (Merger Control) (มาตรา 26)
ผลกระทบของการบังคับใช้ กฎหมายแข่ งขันทางการค้ ากับ
การเปิ ดเสรีทางการบินระหว่ างประเทศ
องค์ประกอบทางสารบัญญัติ
1. การตกลงร่ วมกันกระทาการใดๆของผูป้ ระกอบการในตลาด (Cartel,
Collusion) (มาตรา 27)
2. การใช้อานาจเหนือตลาดในทางกีดกันการแข่งขัน/การมีหรื อความพยายามที่
จะมีอานาจเหนือตลาด (Abuse of Dominant Position/Monopolization)
(มาตรา 25)
3. การควบรวมกิจการ (Merger Control) (มาตรา 26)
1. การตกลงร่ วมกันกระทาการใดๆของผู้ประกอบการในตลาด (มาตรา 27)
มาตรา 27 “ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบธุรกิจใดร่ วมกับผูป้ ระกอบธุรกิจอื่นกระทา
การใดๆ อันเป็ นการผูกขาด หรื อลดการแข่งขัน หรื อจากัดการแข่งขันใน
ตลาดสิ นค้าใดสิ นค้าหนึ่ง หรื อบริ การใดบริ การหนึ่งในลักษณะอย่างใด
อย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) กาหนดราคาขายสิ นค้าหรื อบริการเป็ นราคาเดียวกัน หรื อตามที่ตกลง
กัน หรื อจากัดปริ มาณการขายสิ นค้าหรื อบริ การ
....... (10)
ตัวอย่ าง คดีการบินไทย ถูกปรับที่เกาหลีใต้ 82 ล้านเหรี ยญสหรัฐ
2. การใช้ อานาจเหนือตลาดในทางกีดกันการแข่ งขัน
มาตรา 25 “ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบธุรกิจซึ่งมีอานาจเหนือตลาดกระทาการใน
ลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) กาหนดหรื อรักษาระดับราคาซื้อหรื อขายสิ นค้าหรื อค่าบริ การอย่างไม่
เป็ นธรรม.....(4)
(ยังไม่มีคดีเกี่ยวกับการบินตามมาตรานี้เกิดขึ้นในประเทศไทย คดีอื่น
เช่น ขายเหล้าพ่วงเบียร์)
ตัวอย่ าง การทา Predatory pricing ของสายการบินที่มีอานาจเหนือตลาด
คดีระหว่าง DELTA AIRLINES AND AMERICAN AIRLINES vs.
WESTERN PACIFIC (LLC & NEW ENTRANT)
3. การควบรวมกิจการ (Merger Control)
มาตรา 26 “ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบธุรกิจกระทาการร่ วมธุรกิจ อันอาจ
ก่อให้เกิดการผูกขาดหรื อความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขัน....
วรรคสาม “การรวมธุรกิจตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึง
(1) การที่ผผู ้ ลิตรวมกับผูผ้ ลิต ผูจ้ าหน่ายรวมกับผูจ้ าหน่าย ผูผ้ ลิตรวมกับ
ผูจ้ าหน่าย หรื อผู้บริการรวมกับผู้บริการ อันจะมีผลให้สถานะของธุรกิจ
หนึ่งคงอยูแ่ ละธุรกิจหนึ่งสิ้ นสุ ดลงหรื อเกิดเป็ นธุรกิจใหม่ข้ ึน
ตัวอย่ าง การทาความตกลงระหว่างการบินไทยกับ Tiger Air ของ
สิ งคโปร์
ปัญหาการบังคับใช้ กฎหมายแข่ งขันทางการค้ าของไทยกับ
การเปิ ดเสรีการบินระหว่ างประเทศ
พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
ปัญหาทางวิธีสบัญญัติ
องค์กรที่รับผิดชอบกากับดูแล: คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า
กรมการค้าภายใน (หรื อควรจะเป็ นกรมการบินพลเรื อน หรื อควรจะมี
คณะทางานร่ วมกันระหว่าง 2 กรม หรื อควรคง คกก. เดิม แต่เชิญ
กรมการบินพลเรื อนเข้าไปหากเป็ นกรณี เกี่ยวกับการบิน)

ปัญหาการบังคับใช้ กฎหมายแข่ งขันทางการค้ าของไทยกับ
การเปิ ดเสรีการบินระหว่ างประเทศ
ปัญหาทางวิธีสบัญญัติ
คาถาม: ทาไมคดีแข่งขันทางการค้าเกี่ยวกับเรื่ องการบินไม่เกิดขึ้นในไทย
: ทาไมการบินไทยไม่ถูกร้องเรี ยนในไทยเหมือนที่ถูกร้องเรี ยนใน
เกาหลีใต้
ตอบ: (1) ยังไม่รู้จะใช้กฎหมายนี้ยงั ไงกับธุรกิจการบิน
(2) พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า 2542 มาตรา 4
ปัญหาการบังคับใช้ กฎหมายแข่ งขันทางการค้ าของไทยกับ
การเปิ ดเสรีการบินระหว่ างประเทศ
พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า 2542 มาตรา 4
“พระราชบัญญัติน้ ีมิให้ใช้บงั คับแก่การกระทาของ
(1) ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค หรื อราชการส่ านท้องถิ่น
(2) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่ าด้ วยวิธีการงบประมาณ
(3) ....
(4) ....
การบินไทย เป็ นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ถือหุน้
ใหญ่โดยกระทรวงการคลัง ดังนั้นจึงไม่ตกอยูภ่ ายใต้กฎหมายนี้

ปัญหาการบังคับใช้ กฎหมายแข่ งขันทางการค้ าของไทยกับ
การเปิ ดเสรีการบินระหว่ างประเทศ
ปัญหาทีต่ ามมา
(1) การบินไทย ไม่ได้ให้ความสาคัญกับกฎหมายฉบับนี้
(2) การบินไทย ถูกฟ้ องในประเทศอื่นที่บงั คับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้า หรื อ
กฎหมายป้ งกันการผูกขาด กับรัฐวิสาหกิจที่ประกอบการอันเป็ นการแข่งขันกับ
ภาคเอกชน
(ปัจจุบัน กาลังอยูใ่ นขั้นตอนของการพิจารณาแก้ไขมาตรา 4 นี้ โดยให้รัฐวิสาหกิจที่
ประกอบการอันเป็ นการแข่งขันกับภาคเอกชนตกอบู่ภายใต้การบังคับใช้ของ
กฎหมายฉบับนี้)
ข้ อสั งเกต: พรบ. การแข่งขันทางการค้า ยังมีจุดที่ตอ้ งแก้ไขอีกหลายประเด็น เพื่อให้
เกิดการบังคับใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อีกทั้งอาจใช้เป็ นเครื่ องมือในการดาเนิน
นโยบายระหว่างประเทศด้วย

ASEAN Single Aviation Market
ASEAN Single Aviation Market: ASAM

The objectives of Single Aviation Market
The establishment of a Single Aviation Market has
multiple objectives, and prospective benefit, in terms
of furthering overall economic integration strategy
and creating an environment of the free of goods
and passengers within the region. Particularly, two
aspects would be focused on, namely: (1) the ability
of the Single Aviation Market to facilitate the
harmonization of safety and technical standards
across the region; and (2) the promotion of
competition and efficiency in the air travel sector.
ASEAN Single Aviation Market
ASEAN Summit
ATM
STOM
ATWG
ATTC AND ATEC
ASEAN Single Aviation Market

(1)
(2)
(3)
สรุ ป:
ในยุคการเปิ ดเสรี การบินระหว่างประเทศ กฎหมายแข่งขันทางการค้ามี
ความสาคัญมาก เพราะหากยังไม่มีกฎหมายนี้ หรื อกฎหมายนี้ถกู บังคับใช้อย่าง
ไม่มีประสิ ทธิ ภาพ หรื อถูกบังคับใช้โดยประเทศใดประเทศหนึ่ ง จะส่ งผลให้การ
เปิ ดเสรี การบินระหว่างประเทศล้มเหลว และสุ ดท้ายแต่ละประเทศโดยเฉพาะ
ประเทศที่ไม่อาจแข่งขันได้กจ็ ะไม่ยอมดาเนินนโยบายเปิ ดเสรี และกลับไปสู่ การ
ควบคุมโดยรัฐ เช่นเดิม
ควรแก้ไข พรบ.การแข่งขันทางการค้าให้เร็ วที่สุดเพื่อรองรับการจัดตั้ง
ASAM
ควรให้ความรู ้กบั ผูป้ ระกอบการของไทยเกี่ยวกับกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้
มากยิง่ ขึ้น