สั มมนาวิฯ แพ่ง ๒ เค้ าโครง มาตรา ๒๒๙ ๑.ต้ องทาเป็ นหนังสื อ -ประเด็นเรื่ องผูย้ นื่ อุทธรณ์ (ทนายความที่ไม่มีอานาจยืน่ อุทธรณ์) ๒.ยืน่ ต่ อศาลชั้นต้ นซึ่งมีคาพิพากษาหรือคาสั่ งภายในกาหนดหนึ่งเดือน นับแต่ วนั.

Download Report

Transcript สั มมนาวิฯ แพ่ง ๒ เค้ าโครง มาตรา ๒๒๙ ๑.ต้ องทาเป็ นหนังสื อ -ประเด็นเรื่ องผูย้ นื่ อุทธรณ์ (ทนายความที่ไม่มีอานาจยืน่ อุทธรณ์) ๒.ยืน่ ต่ อศาลชั้นต้ นซึ่งมีคาพิพากษาหรือคาสั่ งภายในกาหนดหนึ่งเดือน นับแต่ วนั.

สั มมนาวิฯ แพ่ง ๒
เค้ าโครง มาตรา ๒๒๙
๑.ต้ องทาเป็ นหนังสื อ
-ประเด็นเรื่ องผูย้ นื่ อุทธรณ์ (ทนายความที่ไม่มีอานาจยืน่
อุทธรณ์)
๒.ยืน่ ต่ อศาลชั้นต้ นซึ่งมีคาพิพากษาหรือคาสั่ งภายในกาหนดหนึ่งเดือน
นับแต่ วนั ทีไ่ ด้ อ่านคาพิพากษาหรือคาสั่ งนั้น
-การแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์
-การเงินในชั้นที่ยนื่ อุทธรณ์
-ข้อแตกต่างระหว่างค่าขึ้นศาลกับเงินค่าธรรมเนียมซึ่ง
จะต้องใช้แทนคู่ความอีกฝ่ าย
-กรณี ที่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน
-กรณี ที่ไม่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน
-ข้อสังเกตอื่นๆ เกี่ยวกับการวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน
๓.ต้ องนาเงินค่ าธรรมเนียมซึ่งจะต้ องใช้ แก่ คู่ความอีกฝ่ าย
หนึ่งตามคาพิพากษาหรือคาสั่ งมาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์
๔.ยืน่ สาเนาอุทธรณ์ ต่อศาล เพือ่ ส่ งให้ แก่ จาเลยอุทธรณ์
องค์ ประกอบ
๑.ต้องทาเป็ นหนังสื อ
๒.ยืน่ ต่อศาลชั้นต้นซึ่ งมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ภายใน
กาหนดหนึ่งเดือนนับแต่วนั ที่ได้อ่านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ นั้น
๓.ต้องนาเงินค่าธรรมเนียมซึ่ งจะต้องใช้แก่คู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่งตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ มาวางศาลพร้อมกับอุทธรณ์
๔.ยืน่ สาเนาอุทธรณ์ต่อศาล เพื่อส่ งให้แก่จาเลยอุทธรณ์
มาตรา ๒๒๙
การอุทธรณ์ น้ันให้ ทาเป็ นหนังสื อยืน่ ต่ อศาลชั้นต้ นซึ่งมี
คาพิพากษาหรือคาสั่ งภายในกาหนดหนึ่งเดือนนับแต่ วนั ที่ได้ อ่าน
คาพิพากษาหรือคาสั่ งนั้น และผู้อุทธรณ์ ต้องนาเงินค่ าธรรมเนียมซึ่ง
จะต้ องใช้ แก่ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งตามคาพิพากษาหรือคาสั่ งมาวางศาล
พร้ อมกับอุทธรณ์ น้ันด้ วย ให้ ผู้อุทธรณ์ ยนื่ สาเนาอุทธรณ์ ต่อศาล เพือ่ ส่ ง
ให้ แก่ จาเลยอุทธรณ์ (คือฝ่ ายโจทก์ หรือจาเลยความเดิมซึ่งเป็ นฝ่ ายที่
มิได้ อุทธรณ์ ความนั้น) ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๓๕ และ ๒๓๖
องค์ ประกอบ
๑.ต้ องทาเป็ นหนังสื อ
๒.ยืน่ ต่ อศาลชั้นต้ นซึ่งมีคาพิพากษาหรือคาสั่ งภายในกาหนดหนึ่ง
เดือนนับแต่ วนั ที่ได้ อ่านคาพิพากษาหรือคาสั่ งนั้น
๓.ต้ องนาเงินค่ าธรรมเนียมซึ่งจะต้ องใช้ แก่ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งตาม
คาพิพากษาหรือคาสั่ งมาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์
๔.ยืน่ สาเนาอุทธรณ์ ต่อศาล เพือ่ ส่ งให้ แก่ จาเลยอุทธรณ์
การยืน่ อุทธรณ์ โดยทนายความทีไ่ ม่ มอี านาจ
– เป็ นเรื่องของการผิดระเบียบในการเขียนและยืน่ คาคู่ความตามมาตรา ๒๗
ศาลต้ องมีคาสั่ งให้ แก้ ไขข้ อบกพร่ อง จะสั่ งไม่ รับอุทธรณ์ โดยอ้ างว่ าเป็ น
อุทธรณ์ ทไี่ ม่ ชอบ ไม่ ได้
– ฎ.๕๗๔๘/๒๕๕๑
– ฎ.๕๓๑/๒๕๓๔
ฎ.๕๗๔๘/๒๕๕๑
• คำฟ้องอุทธรณ์ ของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มี ส. ทนำยควำมลงชื่อ
เป็ นผู้อุทธรณ์ โดย ส. มิได้ ย่ นื ใบแต่ งทนำยควำมไว้ ด้วย เท่ ำกับ
จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไม่ ได้ ให้ อำนำจดำเนินคดีในชัน้ อุทธรณ์ แก่
ส. กรณีจงึ ถือว่ ำเป็ นคำฟ้องอุทธรณ์ ท่ ไี ม่ ชอบด้ วยกฎหมำยซึ่งใน
ชัน้ ตรวจรับคำคู่ควำมศำลชัน้ ต้ นผู้ตรวจรับชอบที่จะสั่งแก้ ไขเสีย
ให้ ถูกต้ อง หรือไม่ รับอุทธรณ์ ของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ตำม ป.
วิ.พ. มำตรำ ๑๘ แต่ ศำลชัน้ ต้ นหำได้ ดำเนินกำรดังกล่ ำวไม่ กลับ
รับอุทธรณ์ ของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไว้ ดำเนินกำรต่ อมำจึงเป็ น
กระบวนพิจำรณำที่ผิดระเบียบ มิได้ ปฏิบัติ
• ตำมบทบัญญัตแิ ห่ งกฎหมำยที่เกี่ยวด้ วยควำมสงบเรียบร้ อยของ
ประชำชนในเรื่องกำรเขียนและยื่นคำคู่ควำมตำม ป.วิ.พ. มำตรำ
๒๗ ศำลอุทธรณ์ ภำค ๘ จะถือว่ ำคำฟ้องอุทธรณ์ ของจำเลยที่ ๒
และที่ ๓ เป็ นคำฟ้องอุทธรณ์ ท่ ไี ม่ ชอบและไม่ รับวินิจฉัยอุทธรณ์
ของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ หำได้ ไม่ ศำลฎีกำมีอำนำจสั่งให้ ศำล
ชัน้ ต้ นดำเนินกำรแก้ ไขได้ เมื่อปรำกฏว่ ำจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ได้
แต่ งตัง้ ให้ ส. เป็ นทนำยควำมของตนให้ มีสิทธิอุทธรณ์ ฎีกำได้ ใน
ชัน้ ฎีกำแล้ วจึงไม่ จำต้ องดำเนินกำรแก้ ไขในเรื่องนีอ้ ีก แต่
เห็นสมควรย้ อนสำนวนไปให้ ศำลอุทธรณ์ ภำค ๘ พิจำรณำ
พิพำกษำคดีนีใ้ หม่ เพื่อเป็ นไปตำมลำดับชัน้ ศำล
ฎ.๕๓๑/๒๕๓๔
• ส. เคยเป็ นทนำยควำมของจำเลย แต่ ถูกถอนออกไปแล้ ว เมื่อส.
ลงชื่อในอุทธรณ์ โดยไม่ ได้ รับแต่ งตัง้ ถือว่ ำเป็ นคำฟ้องอุทธรณ์ ท่ ี
ไม่ ชอบด้ วยกฎหมำย ศำลอุทธรณ์ ไม่ มีอำนำจพิจำรณำพิพำกษำ
คำฟ้องอุทธรณ์ แต่ ส. เคยทำหน้ ำที่ทนำยควำมแทนจำเลย กำร
ที่ศำลชัน้ ต้ นรับคำฟ้องอุทธรณ์ จงึ เป็ นกำรพิจำรณำที่ผิดระเบียบ
ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพจิ ำรณำควำมแพ่ ง มำตรำ ๒๗ ศำล
ฎีกำมีอำนำจสั่งให้ ศำลชัน้ ต้ นจัดกำรให้ จำเลยลงชื่อในฐำนะผู้
อุทธรณ์ ในคำฟ้องอุทธรณ์ ให้ ถูกต้ อง แล้ วส่ งสำนวนให้ศำล
อุทธรณ์ พจิ ำรณำพิพำกษำใหม่
การแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์
•
•
•
•
บทบัญญัติของกฎหมายในชันอุ
้ ทธรณ์ ไม่มีกล่าวไว้ โดยตรง
แนวคาพิพากษาศาลฎีกา แยกพิจารณาเป็ น ๒ กรณี
๑. การแก้ ไขเล็กน้ อย – แก้ ไขเมื่อพ้ นกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ได้
๒. การแก้ ไขโดยเพิ่มเติมประเด็นขึ ้นจากอุทธรณ์ฉบับเดิม หรื อมี
ข้ อเท็จจริงเพิ่มจากเดิมมาก – ต้ องยื่นแก้ ไขภายในระยะเวลาอุทธรณ์
หรื อระยะเวลาที่ศาลขยายระยะเวลาอุทธรณ์ให้
• ฎ.๑๘๔๓/๒๕๕๑ และ ฎ.๑๙๖๖/๒๕๑๕
ฎ.๑๘๔๓/๒๕๕๑
• คาร้ องขอแก้ ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ของจาเลยเป็ นการบรรยายข้ อเท็จจริง
เพิ่มเข้ ามาจานวนมากมิใช่เป็ นการขอแก้ ไขเพิ่มเติมในรายละเอียดเพียง
เล็กน้ อยจึงต้ องตกอยูใ่ นบังคับแห่งบทบัญญัตติ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙
และมาตรา ๒๓ ประกอบ พ.ร.บ.จัดตังศาลแขวงและวิ
้
ธีพิจารณาความ
อาญาในศาลแขวงฯ มาตรา ๔ ซึง่ จาเลยจะต้ องขอแก้ ไขเพิ่มเติม
อุทธรณ์เสียภายในวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ อันเป็ นระยะเวลาที่ศาล
ชันต้
้ นอนุญาตให้ ขยายระยะเวลาอุทธรณ์ได้ การที่จาเลยขอแก้ ไข
เพิ่มเติมอุทธรณ์เมื่อพ้ นกาหนดระยะเวลาที่ศาลชันต้
้ นอนุญาตให้
อุทธรณ์ได้ เช่นนี ้ เป็ นการยื่นอุทธรณ์ที่ฝ่าฝื นต่อบทบัญญัติดงั กล่าว
ฎ.๑๙๖๖/๒๕๑๕
• แม้ กระบวนพิจารณาในชันอุ
้ ทธรณ์จะไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแก้ ไข
เพิ่มเติมอุทธรณ์ คูค่ วามก็ชอบที่จะแก้ ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ที่ได้ ยื่นไว้ แล้ ว
ได้ การแก้ ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์โดยเพิ่มประเด็นขึ ้นจากการอุทธรณ์ฉบับ
เดิมที่ศาลสัง่ รับไว้ แล้ ว ก็ต้องถือว่าเท่ากับยื่นอุทธรณ์เหมือนกัน จึงต้ อง
ยื่นภายในกาหนดอายุอทุ ธรณ์ด้วย
• หำกมีกำรยื่นคำร้ องขอแก้ ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ เกิน
กำหนดเวลำดังกล่ ำว ถ้ ำศำลชัน้ ต้ นสั่งรั บอุทธรณ์ ไว้
คำสั่งศำลชัน้ ต้ นไม่ ชอบ
• ฎ.๗๑๙๘/๒๕๔๓
• คาร้ องขอแก้ ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ ต้ องอยูใ่ นบังคับแห่ง
บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๒๒๙ และมาตรา ๒๓จึงต้ องขอแก้ ไขเพิ่มเติม
อุทธรณ์เสียภายในระยะเวลาที่ศาลชันต้
้ นอนุญาต
ฎ.๗๑๙๘/๒๕๔๓ (ต่อ)
• จาเลยขอแก้ ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์เมื่อพ้ นกาหนดระยะเวลาทีศ่ าลชันต้
้ น
อนุญาตให้ อทุ ธรณ์ได้ แม้ ศาลชันต้
้ นจะอนุญาตให้ รับเป็ นอุทธรณ์
เพิ่มเติม ก็เป็ นการยื่นอุทธรณ์ที่ฝ่าฝื นต่อบทบัญญัตติ ามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๒๒๙ ประกอบมาตรา ๒๓
คาสัง่ ศาลชันต้
้ นจึงไม่ชอบ เพราะมิได้ ปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเกี่ยวกับการยื่นคาคูค่ วาม
ซึง่ มุง่ หมายจะยังให้ การเป็ นไปด้ วยความยุตธิ รรม และเป็ นข้ อกฎหมาย
อันเกี่ยวด้ วยความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน เมื่อความปรากฏแก่ศาล
อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ยอ่ มมีอานาจยกขึ ้นวินิจฉัยและพิพากษาคดีไปได้
ตามมาตรา ๒๔๖ประกอบมาตรา ๑๔๒(๕)
ศาลที่จะยืน่ อุทธรณ์
• หลัก ต้ องยื่นต่อศาลชันต้
้ นที่มีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ตามมาตรา
๒๒๙
• ปั ญหำ กรณีศาลอื่นบังคับคดีแทน จะต้ องยื่นอุทธรณ์ต่อศาลเดิม
หรื อศาลที่มีคาสัง่ ในเรื่ องบังคับคดีแทน (หากยื่นผิดศาลจะส่งผลถึง
อานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลอุทธรณ์ ว่าเป็ นอานาจ
ของศาลอุทธรณ์ใด)
• ฎ.๑๓๕๔/๒๕๕๐ – ต้ องยื่นต่อศาลที่มีคาสัง่ ซึง่ ก็คือศาลที่บงั คับคดี
แทน
ฎ.๑๓๕๔/๒๕๕๐
• ศาลจังหวัดชลบุรีได้ รับมอบหมายจากศาลแพ่งให้ ดาเนินการบังคับคดี
ยึดทรัพย์และขายทอดตลาดแทน จึงมีอานาจสัง่ ไต่สวนเพื่อมีคาสัง่ คา
ร้ องขอเพิกถอนการขายทอดตลาดได้ สาหรับการยื่นอุทธรณ์นนตาม
ั้
ป.
วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ คูค่ วามจะต้ องยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลชันต้
้ นซึง่ มีคา
พิพากษาหรื อคาสัง่ เมื่อศาลจังหวัดชลบุรีเป็ นศาลที่ดาเนินการไต่สวน
และมีคาสัง่ คาร้ องขอให้ เพิกถอนการบังคับคดีของจาเลยที่ ๒ จาเลยที่
๒ จึงยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลจังหวัดชลบุรีซงึ่ เป็ นศาลชันต้
้ นที่ไต่สวนและมี
คาสัง่ คาร้ องได้ ศาลจังหวัดชลบุรีอยูใ่ นเขตอานาจของศาลอุทธรณ์ภาค
๒ จึงชอบที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๒ จะพิจารณาพิพากษาอุทธรณ์ของ
จาเลยที่ ๒ ต่อไป
•
•
•
•
ข้ อสังเกต
การยื่นคาร้ องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ ก็ใช้ หลักเกณฑ์เดียวกัน
ฎ.๕๐๐๔/๒๕๔๐
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความมาตรา ๒๒๙ ประกอบด้ วย มาตรา
๒๔๗ คูค่ วามจะต้ องยื่นฎีกาต่อศาลชันต้
้ นซึง่ มีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ แต่ถ้า
ไม่อาจดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลชันต้
้ นที่มีเขตศาลเหนือคดีนนได้
ั ้ โดย
เหตุสดุ วิสยั คูค่ วามฝ่ ายที่เสียหายหรื ออาจเสียหายเพราะการนันจะยื
้ ่นคาขอ
ฝ่ ายเดียวโดยทาเป็ นคาร้ องต่อศาลชันต้
้ นซึง่ ตนมีภมู ิลาเนาหรื ออยูใ่ นเขตศาล
ในขณะนันก็
้ ได้ และให้ ศาลนันมี
้ อานาจทาคาสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่
เห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุตธิ รรมดังที่บญ
ั ญัตไิ ว้ ในมาตรา ๑๐
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ฎ.๕๐๐๔/๒๕๔๐ (ต่อ)
• คดีนี ้จาเลยที่ ๑ ยื่นคาร้ องต่อศาลจังหวัดนครราชสีมาซึง่ บังคับคดีแทนศาล
จังหวัดอุดรธานี ขอให้ เพิกถอน การขายทอดตลาดทรัพย์รายนี ้ ศาลจังหวัด
นครราชสีมาไต่สวนแล้ วมีคาสัง่ ให้ ยกคาร้ องจาเลยที่ ๑ ยื่นอุทธรณ์ ต่อศาล
จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ พิพากษายืนดังนี ้ จาเลยที่ ๑
จะต้ องยื่นฎีกาคดีนี ้ต่อศาลจังหวัดนครราชสีมา การที่ทนายจาเลยที่ ๑ ยื่นคา
ร้ องต่อศาลจังหวัดอุดรธานีซงึ่ มิใช่ศาลที่มีคาสัง่ หรื อคาพิพากษาเกี่ยวกับคาร้ อง
ขอให้ เพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย์รายนี ้เพื่อขอขยาย ระยะเวลายื่นฎีกาจึง
เป็ นการขอขยายระยะเวลาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๒๓ หาใช่เป็ นกรณีที่ไม่อาจดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลชันต้
้ นที่มี
เขตอานาจดังที่บญ
ั ญัตไิ ว้ ในมาตรา ๑๐ ไม่ อีกทังตามค
้
าร้ องขอขยาย
ระยะเวลายื่นฎีกาฉบับดังกล่าวเป็ นกรณีที่ไม่อาจถือได้ วา่ มีเหตุสดุ วิสยั คาสัง่
ให้ ขยายระยะเวลายื่นฎีกาของศาลจังหวัดอุดรธานีจงึ มิได้ ปฏิบตั ติ าม
บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายข้ างต้ นไม่ทาให้ จาเลยที่ ๑ มีสิทธิยื่นฎีกาคัดค้ านคา
พิพากษาศาลอุทธรณ์เมื่อพ้ นกาหนดระยะเวลาฎีกาตามมาตรา ๒๒๙ ประกอบ
มาตรา ๒๔๗ ต่อศาลจังหวัดอุดรธานีได้ ฎีกาของจาเลยที่ ๑ จึงต้ องห้ ามตาม
กฎหมาย ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
เรื่ องเกี่ยวกับการเงินในชั้นที่ยนื่ อุทธรณ์
• มีเงินที่เกี่ยวข้ องรวม ๒ ประเภท (มาตรา ๒๒๙)
• ๑. ค่าขึ ้นศาลในชันอุ
้ ทธรณ์ - ต้ องดูทนุ ทรัพย์ในชันอุ
้ ทธรณ์แล้ วเสียค่า
ขึ ้นศาลตามตาราง ๑ ท้ าย ปวิพ.
• ๒. เงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายตามคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ เป็ นเงินที่ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ในตอนท้ ายของคาพิพากษา เช่น
• “ให้ จาเลยใช้ คา่ ฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกาหนดค่าทนายความ
๕,๐๐๐ บาท”
• เจ้ าหน้ าที่การเงินจะต้ องคิดคานวณเงินในส่วนนี ้จากสานวนคดีในศาล
ชันต้
้ น แล้ วระบุไว้ ในบัญชีคา่ ฤชาธรรมเนียม
• เวลายื่นอุทธรณ์จะต้ องนาเงินทัง้ ข้ อ ๑ และข้ อ ๒ ข้ างต้ น มาวางต่อศาล
• ฎ.๖๙๕๕/๒๕๔๘ เงินค่าขึ ้นศาลชันอุ
้ ทธรณ์ เป็ นค่าธรรมเนียมอย่าง
หนึง่ ที่กฎหมายบังคับให้ จาเลยที่ ๒ ต้ องเสียในขณะยื่นฟ้องอุทธรณ์
เป็ นคนละส่วนกับเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ตามคา
พิพากษา เมื่อจาเลยไม่นาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ตาม
คาพิพากษามาวางศาลพร้ อมอุทธรณ์ อุทธรณ์ของจาเลยจึงไม่ชอบ
ด้ วยกฎหมาย ศาลอุทธรณ์ไม่รับอุทธรณ์ของจาเลย ชอบแล้ ว
ข้อแตกต่างระหว่างค่าขึ้นศาลในชั้นอุทธรณ์กบั เงินค่าธรรมเนียม
ซึ่งจะต้องใช้แก่คู่ความอีกฝ่ าย
• ค่าขึ ้นศาลในชันอุ
้ ทธรณ์ – เป็ นเรื่ องของมาตรา ๑๘ หากผู้อทุ ธรณ์ไม่
นามาชาระให้ ครบถ้ วน ศาลชันต้
้ นต้ องกาหนดเวลาให้ ผ้ อู ทุ ธรณ์นามา
ชาระให้ ครบถ้ วนก่อน หากไม่ชาระภายในกาหนด จึงจะมีคาสัง่ ไม่รับ
อุทธรณ์ได้ จะสัง่ ไม่รับอุทธรณ์ทนั ทีไม่ได้
• เงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่คคู่ วามอีกฝ่ าย – มิใช่เป็ นเรื่ องของ
มาตรา ๑๘ ผู้อทุ ธรณ์ต้องนามาวางศาลพร้ อมอุทธรณ์ หากไม่นามา
วางพร้ อมอุทธรณ์ มีผลทาให้ เป็ นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ศาลสัง่
ไม่รับอุทธรณ์ได้ ทนั ที โดยไม่ต้องสัง่ ให้ ชาระหรื อวางค่าธรรมเนียมให้
ถูกต้ องครบถ้ วนก่อน
ฎ.๙๖๘/๒๕๕๒
• ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ กาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ของผู้อทุ ธรณ์ที่จะต้ องนา
เงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตามคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ มาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์ จาเลยผู้อทุ ธรณ์จงึ มีหน้ าที่จะต้ อง
ปฏิบตั ติ ามโดยเคร่งครัดหาใช่เป็ นหน้ าที่ของศาลที่จะต้ องมีคาสัง่ ให้
จาเลยปฏิบตั เิ สียก่อนไม่ การที่จาเลยยื่นอุทธรณ์โดยชาระเพียงค่าชัน้
อุทธรณ์โดยมิได้ วางเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์และผู้ซื ้อทรัพย์
ตามคาพิพากษาด้ วย จึงเป็ นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมายศาลอุทธรณ์
ชอบที่จะมีคาสัง่ ให้ ยกอุทธรณ์ของจาเลยได้ ทนั ทีโดยไม่จาต้ องมีคาสัง่ ให้
จาเลยนาเงินค่าธรรมเนียมดังกล่าวมาวางศาลเสียก่อน กรณีมใิ ช่เรื่ องการ
มิได้ ชาระหรื อวางค่าธรรมเนียมศาลโดยถูกต้ องครบถ้ วนตามมาตรา ๑๘
ที่ศาลจะต้ องสัง่ ให้ ชาระหรื อวางค่าธรรมเนียมศาลให้ ถกู ต้ องครบถ้ วนเสีย
ก่อนที่จะสัง่ ไม่รับคาคูค่ วาม
ฎ.๒๘๑๕/๒๕๕๔
• การที่จาเลยวางเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ตามคา
พิพากษาศาลชันต้
้ นไม่ครบถ้ วน มิใช่เป็ นกรณีที่คคู่ วามมิได้
ชาระหรื อวางค่าธรรมเนียมศาลโดยถูกต้ องครบถ้ วนตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๘ วรรคสอง ซึง่ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ ให้ คคู่ วามชาระ
หรื อวางค่าธรรมเนียมศาลให้ ถกู ต้ องครบถ้ วนก่อนมีคาสัง่ รับ
หรื อไม่รับคาคูค่ วามดังนัน้ ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายกอุทธรณ์
ของจาเลยโดยไม่สงั่ ให้ จาเลยวางค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่
โจทก์ตามคาพิพากษาศาลชันต้
้ นให้ ถกู ต้ องครบถ้ วนจึงชอบแล้ ว
• ในบางกรณี ศำลชัน้ ต้ นอาจมีคาสัง่ ให้ ผ้ อู ทุ ธรณ์นาเงิน
ค่าธรรมเนียมที่จะต้ องใช้ แทน ฯ มาวางให้ ถกู ต้ องครบถ้ วนก่อน
พิจารณาสัง่ อุทธรณ์ ก็สามารถทาได้ ศาลฎีกาถือว่าเป็ น
กระบวนพิจารณาชันตรวจค
้
าฟ้องอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๒
เป็ นอานาจของศาลชันต้
้ นโดยเฉพาะ คาสัง่ ดังกล่าวมิใช่คาสัง่
ไม่รับอุทธรณ์ ผู้อทุ ธรณ์จงึ ยังไม่มีสิทธิอทุ ธรณ์คาสัง่
• ฎ.๖๐๒๖/๒๕๔๙
• ฎ.๑๓๒/๒๕๔๙
ฎ.๖๐๒๖/๒๕๔๙
• ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ พิพากษาให้ จาเลยทังสองแพ้
้
คดีโดยขาดนัด จาเลยที่
๒ ยื่นคาร้ องขอให้ พิจารณาคดีใหม่ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ ยกคาร้ อง
จาเลยที่ ๒ อุทธรณ์คาสัง่ วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๕ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่
วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๕ ให้ จาเลยที่ ๒ นาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ อง
ใช้ แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ มาวางภายใน ๑๕
วัน เท่านัน้ คาสัง่ ของศาลชันต้
้ นดังกล่าวถือเป็ นกระบวนพิจารณาในชัน้
ตรวจฟ้องอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๒ ซึง่ เป็ นอานาจหน้ าที่ของ
ศาลชันต้
้ น คาสัง่ ดังกล่าวมิใช่เป็ นคาสัง่ ไม่รับอุทธรณ์ซงึ่ ผู้อทุ ธรณ์อาจ
อุทธรณ์คาสัง่ ไปยังศาลอุทธรณ์ได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔ จาเลยที่ ๒
จึงยังไม่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาสัง่ ดังกล่าว
ฎ.๑๓๒/๒๕๔๙
• จาเลยอุทธรณ์คาสัง่ ของศาลชันต้
้ นที่ไม่อนุญาตให้ จาเลยเลือ่ นคดี โดยขอให้
ศาลอุทธรณ์ยกคาสัง่ ของศาลชันต้
้ นให้ ศาลชันต้
้ นสืบพยานต่อไปแล้ วมีคา
พิพากษาใหม่ จึงอยูภ่ ายใต้ บงั คับ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ เมื่อจาเลยมิได้
วางเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ ศาลชันต้
้ นจึงชอบทีจ่ ะสัง่ ไม่รับ
อุทธรณ์ได้ ทนั ที การที่ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ จาเลยนาเงินดังกล่าวมาวางศาล
ภายในเวลาที่กาหนดเท่ากับเปิ ดโอกาสให้ จาเลยปฏิบตั ใิ ห้ ถกู ต้ องอีกครัง้ หนึง่
ก่อนที่จะพิจารณาสัง่ อุทธรณ์วา่ จะให้ สง่ หรื อปฏิเสธไม่สง่ อุทธรณ์ไปยังศาล
อุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๒ ซึง่ เป็ นอานาจหน้ าที่ของศาลชันต้
้ นโดยเฉพาะ
คาสัง่ ของศาลชันต้
้ นเช่นนี ้จาเลยยังไม่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์ เพราะมิใช่คาสัง่ ไม่รับ
อุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๔
• แต่หากเป็ นกรณีศาลอุทธรณ์มีคาสัง่ ให้ จาเลยนาเงิน
ค่าธรรมเนียมใช้ แทนฯ มาวางศาลพร้ อมอุทธรณ์ก่อน ศาลฎีกา
ถือว่า สามารถมีคาสัง่ ได้ โดยถือเป็ นอานาจทัว่ ไปของศาล
อุทธรณ์เช่นกัน แต่ หำกผู้อุทธรณ์ ไม่ ปฏิบตั ติ ำม ถือว่ ำเป็ น
กำรทิง้ ฟ้องอุทธรณ์
• ฎ.๖๖๑๖/๒๕๔๖
ฎ.๖๖๑๖/๒๕๔๖
• จำเลยยื่นอุทธรณ์ โดยไม่ นำเงินค่ ำธรรมเนียม ที่จะต้ องใช้ แก่
โจทก์ มำวำงศำลพร้ อมกับอุทธรณ์ เป็ นอุทธรณ์ ท่ ไี ม่ ชอบ
ศำลอุทธรณ์ ชอบที่จะไม่ รับวินิจฉัยอุทธรณ์ ของจำเลยได้ แต่
เมื่อศำลอุทธรณ์ ได้ ให้ โอกำสจำเลยนำเงินค่ ำธรรมเนียมมำ
วำงต่ อศำลภำยในเวลำที่ศำลชัน้ ต้ นเห็นสมควรกำหนด จึง
เป็ นอำนำจทั่วไปของศำลอุทธรณ์ ท่ จี ะกระทำได้ กำรที่จำเลย
ทรำบคำสั่งศำลชัน้ ต้ นแล้ วไม่ ดำเนินกำรในเวลำที่ศำลชัน้ ต้ น
กำหนดจึงถือได้ ว่ำเป็ นกำรทิง้ อุทธรณ์ ตำมปวิพ.มำตรำ ๑๗๔
(๒) ประกอบมำตรำ ๒๔๖
กรณี ที่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน
• ๑. เมื่อมีการอุทธรณ์คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดคดีของศาล
ชันต้
้ น
• ๒. เมื่อมีการอุทธรณ์คาสัง่ ของศาลชันต้
้ น ที่หากศาลอุทธรณ์มี
คาพิพากษาแล้ ว จะมีผลเป็ นการยกเลิก เพิกถอนคาพิพากษา
ศาลชันต้
้ นไปในตัว เช่น
กำรอุทธรณ์ คำสั่งศำลที่ไม่ อนุญำตให้ แก้ ไขเพิ่มเติมคำให้ กำร
๒๗๕๗/๒๕๕๔
• อุทธรณ์ของจาเลยที่ ๑ และที่ ๒ ที่ขอให้ ยกคาสัง่ ศาลชันต้
้ นที่ไม่อนุญาต
ให้ จาเลยที่ ๑ และที่ ๒ แก้ ไขและเพิ่มเติมคาให้ การ และไม่อนุญาตให้
ส่งสานวนไปให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยนัน้ หากศาลอุทธรณ์พิพากษา
ยกคาสัง่ ศาลชันต้
้ นและให้ ศาลชันต้
้ นดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป
แล้ ว ย่อมมีผลกระทบโดยตรงต่อคาพิพากษาศาลชันต้
้ นกล่าวคือคา
พิพากษาศาลชันต้
้ นต้ องถูกยกเลิกเพิกถอนไปในตัว จึงเท่ากับเป็ นการ
อุทธรณ์คาพิพากษาศาลชันต้
้ นนัน่ เอง ในการอุทธรณ์จาเลยที่ ๑ และที่
๒ ต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ตามคาพิพากษามาวาง
๒๗๕๗/๒๕๕๔ (ต่อ)
• ศาลพร้ อมกับอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ เมื่อจาเลยที่ ๑ และที่
๒ ไม่ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว อุทธรณ์ของจาเลยที่
๑ และที่ ๒ จึงเป็ นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบ และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะมีคาสัง่
ยกอุทธรณ์ของจาเลยที่ ๑ และที่ ๒ เสีย คาสัง่ ศาลอุทธรณ์ที่ให้ ยก
อุทธรณ์ของจาเลยที่ ๑ และที่ ๒ จึงชอบแล้ ว
การอุทธรณ์คาสัง่ ศาลที่ไม่อนุญาตให้เลื่อนคดี
๘๓๒/๒๕๕๐
• บทบัญญัติ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ ใช้ บงั คับแก่การอุทธรณ์คาพิพากษา
และคาสัง่ ในทุกกรณี หาได้ ใช้ บงั คับเฉพาะการอุทธรณ์คาพิพากษาและ
คาสัง่ ที่เป็ นการวินิจฉัยชี ้ขาดคดีเท่านันไม่
้ แม้ เป็ นคาสัง่ ในระหว่าง
พิจารณา ผู้อทุ ธรณ์ก็อยูใ่ นบังคับต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้
แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ มาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์เช่นเดียวกัน ดังนัน้
การที่จาเลยที่ ๓ อุทธรณ์ของคาสัง่ ศาลชันต้
้ นที่ไม่อนุญาตให้ เลื่อนคดี
ซึง่ เป็ นคาสัง่ ในระหว่างพิจารณาเท่ากับขอให้ ศาลอุทธรณ์ภาค ๕
๘๓๒/๒๕๕๐ (ต่อ)
• มีคาพิพากษายกคาพิพากษาศาลชันต้
้ นและทาการสืบพยานจาเลยทัง้
สามต่อไป การอุทธรณ์เช่นนี ้ย่อมมีผลกระทบต่อคาพิพากษาศาลชันต้
้ น
โดยตรง จาเลยที่ ๓ จึงต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่คคู่ วาม
อีกฝ่ ายหนึง่ ตามคาพิพากษามาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์ตาม
บทบัญญัตขิ องกฎหมายดังกล่าว เมื่อจาเลยที่ ๓ ไม่นาเงิน
ค่าธรรมเนียมดังกล่าวมาวางพร้ อมกับอุทธรณ์ อุทธรณ์ของจาเลยที่ ๓
จึงเป็ นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย แม้ ศาลชันต้
้ นสัง่ รับอุทธรณ์ของ
จาเลยที่ ๓ มา ก็ไม่มีผลทาให้ อทุ ธรณ์ของจาเลยที่ ๓ ที่ไม่ชอบด้ วย
กฎหมายกลับเป็ นอุทธรณ์ที่ชอบด้ วยกฎหมายไปได้
การอุทธรณ์คาสัง่ ศาลที่ไม่อนุญาตให้ส่งสานวนคดีไปศาล
๗๑๑/๒๕๕๕
• ปวิพ.มาตรา ๒๒๙ กาหนดหน้ าที่ของผู้อทุ ธรณ์ที่จะต้ องปฏิบตั ิเมื่อยื่น
อุทธรณ์ จาเลยที่ ๓ อุทธรณ์ ขอให้ ศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษากลับ
คาสัง่ ศาลชันต้
้ นเพื่อส่งสานวนไปให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินจิ ฉัยและ
อนุญาตให้ จาเลยที่ ๓ เพิ่มเติมคาให้ การได้ หากศาลอุทธรณ์เห็นพ้ อง
ด้ วยกับอุทธรณ์ของจาเลยที่ ๓ ศาลอุทธรณ์จะต้ องพิพากษาให้ ยก
คาสัง่ และคาพิพากษาศาลชันต้
้ น และให้ ศาลชันต้
้ นดาเนินการตามที่
จาเลยที่ ๓ มีคาขอ
๗๑๑/๒๕๕๕ (ต่อ)
• จึงมีผลเท่ากับเป็ นการอุทธรณ์ขอให้ ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคา
พิพากษาศาลชันต้
้ น จาเลยที่ ๓ จึงต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมที่จะต้ อง
ให้ แทนโจทก์มาวางศาลพร้ อมอุทธรณ์ ตาม ป.วิ.พ มาตรา ๒๒๙ ด้ วย
การที่จาเลยที่ ๓ ยื่นอุทธรณ์โดยมิได้ นาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้
แทนโจทก์มาวางศาลพร้ อมอุทธรณ์ จึงเป็ นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้ วย
กฎหมาย ที่ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยอุทธรณ์ของจาเลยที่ ๓ นัน้ ชอบ
แล้ ว
การอุทธรณ์ขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
๔๗๐๙/๒๕๕๕
• ฎีกาของจาเลยที่ขอให้ เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบของศาล
ชันต้
้ นตังแต่
้ ชนการส่
ั้
งหมายเรี ยกสาเนาคาฟ้อง และให้ ศาลชันต้
้ น
ดาเนินการพิจารณาคดีใหม่เกิดขึ ้นภายหลังจากศาลชันต้
้ นพิพากษาชี ้
ขาดคดีแล้ ว หากฎีกาของจาเลยฟั งขึ ้นน จะทาให้ คาพิพากษาศาล
ชันต้
้ นที่บงั คับให้ จาเลยชาระหนี ้แก่โจทก์ถกู เพิกถอนไป กรณีจงึ อยู่
ภายใต้ บงั คับของมาตรา ๒๒๙ ประกอบมาตรา ๒๔๗ ซึง่ บัญญัติให้
เป็ นหน้ าที่ของผู้ฎีกาต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่คคู่ วามอีก
ฝ่ ายหนึง่ ตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ มาวางศาล พร้ อมกับฎีกานันด้
้ วย
การอุทธรณ์คาสัง่ ศาลที่ไต่สวนคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่
แล้วไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่
๗๙๘๘/๒๕๕๓
• ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ บัญญัติให้ เป็ นหน้ าที่ของผู้อทุ ธรณ์ซงึ่ อุทธรณ์คา
พิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลชันต้
้ นที่มีผลเปลี่ยนแปลงคาพิพากษาศาล
ชันต้
้ นหรื อมีผลทาให้ คาพิพากษาศาลชันต้
้ นถูกยกเลิกเพิกถอนไปต้ อง
นาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตามคาพิพากษา
หรื อคาสัง่ มาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์ แม้ อทุ ธรณ์คาสัง่ ของจาเลยเป็ น
อุทธรณ์คาสัง่ กรณีขาดนัดยื่นคาให้ การ จาเลยก็ต้องวางเงิน
ค่าธรรมเนียมใช้ แทนดังกล่าว เพราะหากศาลอุทธรณ์ภาค ๓ เห็นว่า
๗๙๘๘/๒๕๕๓ (ต่อ)
• จาเลยมิได้ จงใจขาดนัดยื่นคาให้ การและมีคาสัง่ อนุญาตให้ พิจารณาคดี
ใหม่ตามอุทธรณ์ของจาเลยก็จะทาให้ คาพิพากษาศาลชันต้
้ นที่บงั คับให้
จาเลยไปจดทะเบียนไถ่ถอนจานองที่ดนิ ให้ แก่โจทก์เป็ นอันต้ องถูกเพิก
ถอนไปทันที อุทธรณ์คาสัง่ ของจาเลยจึงเท่ากับเป็ นการอุทธรณ์ให้ ยกคา
พิพากษาศาลชันต้
้ นอยูใ่ นตัว จาเลยจึงต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมใช้ แทน
ดังกล่าวมาวางศาลพร้ อมกับอุทธรณ์คาสัง่ นันด้
้ วย
กรณีที่ไม่ต้องวางเงินค่าธรรมเนียมใช้ แทน
เช่น กรณีอทุ ธรณ์คาสัง่ ที่ไม่อนุญาตให้ ขยายเวลายื่นอุทธรณ์
• คร. ๑๘๑๑/๒๕๔๗ (ญ)
• คดีนี ้จาเลยที่ ๑ ไม่ได้ ฎีกาในเนื ้อหาแห่งคดี แต่เป็ นเรื่ องฎีกาคา
พิพากษาศาลอุทธรณ์ที่ไม่อนุญาตให้ ขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์แก่
จาเลยที่ ๑ ซึง่ ผลของการฎีกาไม่ทาให้ คาพิพากษาศาลชันต้
้ นต้ องถูก
ยกไปด้ วย อันมิใช่เป็ นกรณีที่จะต้ องวาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ ต้ องใช้ แก่
คูค่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ ประกอบกับมาตรา ๒๔๗
จึงให้ ศาลชันต้
้ นรับฎีกาของจาเลยที่ ๑ ไว้ พิจารณาต่อไป
กรณี ที่ไม่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน (ต่อ)
• อุทธรณ์คาสัง่ ที่ศาลยกคาร้ องขอพิจารณาคดีใหม่โดยที่ยงั ไม่มีการไต่สวน
• ๘๐๒๕/๒๕๕๓ , ๔๗๘๙/๒๕๕๓
๔๗๘๙/๒๕๕๓
• ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ ซึง่ บัญญัติบงั คับให้ ผ้ อู ทุ ธรณ์ต้องนาเงิน
ค่าธรรมเนียมที่จะต้ องใช้ แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตามคา
พิพากษาหรื อคาสัง่ มาวางศาลพร้ อมอุทธรณ์นนใช้
ั ้ บงั คับเฉพาะ
กรณีอทุ ธรณ์คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสินคดีของศาล
ชันต้
้ นตลอดจนการอุทธรณ์คาสัง่ อื่นๆ ของศาลชันต้
้ นที่มี
ผลกระทบต่อคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสินคดีของศาล
ชันต้
้ นเท่านัน้ คดีนี ้ปรากฏว่าหลังจากศาลชันต้
้ นมีคาพิพากษา
ให้ จาเลยทังสองช
้
าระหนี ้แก่โจทก์
๔๗๘๙/๒๕๕๓ (ต่อ)
• จาเลยที่ ๑ ได้ ยื่นคาร้ องขอให้ พิจารณาคดีใหม่ศาลชันต้
้ นเห็นว่าคาร้ อง
ของจาเลยที่ ๑ ยื่นเมื่อพ้ นเวลาที่กฎหมายกาหนดและมีคาสัง่ ยกคาร้ อง
จาเลยที่ ๑ จาเลยที่ ๑ อุทธรณ์คาสัง่ ซึง่ ตามอุทธรณ์ดงั กล่าวแม้ จะขอให้
ศาลอุทธรณ์ภาค ๖ กลับคาสัง่ ของศาลชันต้
้ นและมีคาสัง่ ให้ พิจารณา
คดีใหม่ก็ตามแต่หากศาลอุทธรณ์ภาค ๖ เห็นด้ วยกับอุทธรณ์ของจาเลย
ที่ ๑ ก็ทาได้ เพียงแต่พิพากษายกคาพิพากษาของศาลชันต้
้ นและให้ ศาล
ชันต้
้ นรับคาร้ องขอพิจารณาคดีใหม่ไว้ พิจารณาและมีคาสัง่ ต่อไปตาม
รูปคดี การอุทธรณ์คาสัง่ ของจาเลยที่ ๑ ในชันนี
้ ้ไม่มีผลกระทบโดยตรง
ต่อคาพิพากษาศาลชันต้
้ น ดังนัน้ จาเลยที่ ๑ จึงไม่ต้องนาเงิน
ค่าธรรมเนียมซึง่ ต้ องใช้ แก่โจทก์ตามคาพิพากษาศาลชันต้
้ นมาวางศาล
พร้ อมกับอุทธรณ์ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙
กรณี ที่ไม่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน (ต่อ)
• อุทธรณ์คาสัง่ ศาลที่ไม่อนุญาตให้ เลื่อนคดี ในชันไต่
้ สวนคาร้ องขอให้
พิจารณาใหม่
• ๖๔๔๗/๒๕๔๘
๖๔๔๗/๒๕๔๘ (ต่อ)
• ศาลชันต้
้ นพิพากษาให้ จาเลยชาระหนี ้แก่โจทก์กบั ให้ จาเลยใช้ คา่ ฤชา
ธรรมเนียมแทนโจทก์โดยกาหนดค่าทนายความ ๓๐,๐๐๐ บาท จาเลย
ยื่นคาร้ องขอให้ พิจารณาคดีใหม่ ศาลชันต้
้ นนัดไต่สวน ระหว่างไต่สวน
คาร้ องจาเลยยื่นคาร้ องขอเลื่อนคดี ศาลชันต้
้ นไม่อนุญาตให้ เลื่อนคดี
และถือว่าจาเลยไม่มีพยานมาสืบ มีคาสัง่ ยกคาร้ อง จาเลยอุทธรณ์คาสัง่
ที่ไม่อนุญาตให้ เลื่อนคดี แม้ ตามคาขอท้ ายอุทธรณ์ของจาเลยมีคาขอให้
ศาลอุทธรณ์ภาค ๔ อนุญาตให้ จาเลยพิจารณาคดีใหม่
๖๔๔๗/๒๕๔๘ (ต่อ)
• แต่เนื ้อหาในอุทธรณ์โต้ แย้ งคัดค้ านเฉพาะเรื่ องการไม่อนุญาตให้ เลื่อน
คดี และให้ ศาลชันต้
้ นไต่สวนคาร้ องใหม่แล้ วมีคาสัง่ ใหม่ตามรูปคดี
เท่านัน้ ศาลอุทธรณ์ภาค ๔ ไม่อาจอนุญาตให้ พิจารณาคดีใหม่ตามคา
ขอท้ ายอุทธรณ์ได้ เพราะยังไม่มีข้อเท็จจริงที่จะนามาวินจิ ฉัยว่าการขาด
นัดยื่นคาให้ การนันมิ
้ ได้ เป็ นไปโดยจงใจหรื อมีเหตุอนั สมควรหรื อไม่
อุทธรณ์ของจาเลยยังไม่มีผลโดยตรงต่อคาพิพากษาศาลชันต้
้ นให้ ต้อง
ถูกยกเลิกหรื อสิ ้นผลบังคับ จาเลยจึงไม่ต้องนาเงินค่าธรรมเนียมซึง่
จะต้ องใช้ แก่โจทก์ตามคาพิพากษาศาลชันต้
้ นวางศาลพร้ อมอุทธรณ์
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๒๒๙
ข้อสังเกตอื่น ๆ เกี่ยวกับการวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน
• ๑. ขอทุเลาไม่ได้
• คร.๑๗๐/๒๕๐๙
• ผู้ฎีกาจะต้ องวางเงินค่าธรรมเนียมและค่าทนายความที่จะต้ องใช้ แก่
คูค่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตามคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ จะขอทุเลาการบังคับ
คดีไม่ได้
ข้อสังเกตอื่น ๆ เกี่ยวกับการวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน (ต่อ)
• ๒. ใช้ วิธีหาประกันมาวางแทนเงินไม่ได้
• ๑๙๗/๒๔๘๕
• ผู้อทุ ธรณ์ในคดีทกุ เรื่ องต้ องนาเงินค่าธรรมเนียมซึง่ ต้ องใช้ แก่อีกฝ่ ายหนึง่
ตามคาพิพากษามาวางศาล เว้ นแต่ในคดีอนาถา ส่วนการหาประกัน
แทนเป็ นเรื่ องทุเลาการบังคับเท่านัน้
• ประชุมใหญ่ครัง้ ที่ ๔และ๕/๒๔๘๕
ข้อสังเกตอื่น ๆ เกี่ยวกับการวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน (ต่อ)
• ๓. กรณีมีผ้ อู ทุ ธรณ์หลายคน แยกยื่นอุทธรณ์ แต่มลู ความแห่งคดีเป็ น
การชาระหนี ้ที่ไม่อาจแบ่งแยกจากกันได้ หากผู้อทุ ธรณ์คนใดคนหนึง่
วางเงินค่าธรรมเนียมใช้ แทนแล้ ว ถือว่ามีผลไปยังผู้อทุ ธรณ์คนอื่นด้ วย
• ๒๕๗๑/๒๕๔๑ (เทียบฎีกา ๕๕๙๐/๒๕๔๘)
๒๕๗๑/๒๕๔๑
• เงินค่าธรรมเนียมใช้ แทนโจทก์ที่จาเลยที่ ๒ ถึงที่ ๕ได้ วางต่อศาลพร้ อม
ฎีกานันเป็
้ นการปฏิบตั ติ ามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๒๒๙ ประกอบมาตรา ๒๔๗ แต่เมื่อมูลความแห่งคดีนี ้เป็ นการ
ชาระหนี ้อันแบ่งแยกมิได้ เมื่อจาเลยที่ ๑ ซึง่ เป็ นจาเลยร่วม คนหนึง่ ได้
นาเงินค่าธรรมเนียมที่ต้องใช้ แก่โจทก์มาวางศาลครบถ้ วนแล้ วจึงมีผลถึง
จาเลยที่ ๒ ถึงที่ ๕ ซึง่ เป็ นจาเลยร่วมกับจาเลยที่ ๑ ด้ วย ดังนัน้ จาเลยที่
๒ ถึงที่ ๕ ไม่จาต้ องวางเงินค่าธรรมเนียมที่ต้องใช้ แก่โจทก์ในการใช้ สทิ ธิ
ยื่นฎีกานี ้อีก ที่ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ จาเลยที่ ๒ ถึงที่ ๕ นาเงิน
ค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ มาวางศาลพร้ อมฎีกา จึงไม่ถกู ต้ อง
สมควรสัง่ ให้ คืนเงิน ค่าธรรมเนียมซึง่ ต้ องใช้ แก่โจทก์ทจี่ าเลยที่ ๒ ถึงที่ ๕
ได้ วางต่อศาลพร้ อมฎีกาให้ แก่จาเลยที่ ๒ ถึงที่ ๕
๕๕๙๐/๒๕๔๘
• เมื่อจาเลยที่ ๒ และจาเลยร่วมมิได้ ยื่นอุทธรณ์ฉบับเดียวกันโดยจาเลยที่
๒ แยกยื่นอุทธรณ์อีกฉบับต่างหาก จึงต้ องวางเงินค่าธรรมเนียมซึง่
จะต้ องใช้ แทนโจทก์มาพร้ อมกับอุทธรณ์ด้วยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙
แม้ วา่ จาเลยที่ ๒ จะได้ ขอให้ ศาลชันต้
้ นเรี ยกจาเลยร่วมเข้ ามาในคดี แต่
มาตรา ๕๙ ห้ ามมิให้ โจทก์ร่วมหรื อจาเลยร่วมแทนซึง่ กันและกัน เว้ นแต่
มูลความแห่งคดีเป็ นการชาระหนี ้ซึง่ แบ่งแยกจากกันมิได้ คดีนี ้จาเลยที่
๒ ถูกฟ้องให้ รับผิดในฐานะนายจ้ างของจาเลยที่ ๑ ผู้ทาละเมิด ซึง่ เป็ น
ความรับผิดในมูลละเมิดโดยผลของกฎหมาย ส่วนจาเลยร่วมถูกจาเลย
ที่ ๒ ขอให้ ศาลชันต้
้ นเรี ยกเข้ ามาให้ ร่วมรับผิดกับจาเลยที่ ๒ ในฐานะ
ผู้รับประกันภัยค ้าจุนรถยนต์คนั เกิดเหตุซงึ่ เป็ นความรับผิดในมูลสัญญา
ความรับผิดของจาเลยที่ ๒ และความรับผิดของจาเลยร่วมจึงแตกต่าง
กัน มูลความแห่งคดีมิได้ เป็ นการชาระหนี ้ซึง่ แบ่งแยกจากกันมิได้
๕๕๙๐/๒๕๔๘ (ต่อ)
• จาเลยที่ ๒ จึงต้ องนาเงินค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความเต็ม
จานวนที่ตนจะต้ องรับผิดตามคาพิพากษาศาลชันต้
้ นมาวางศาลพร้ อม
กับอุทธรณ์ของจาเลยที่ ๒ ด้ วย
ข้อสังเกตอื่น ๆ เกี่ยวกับการวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน (ต่อ)
• ๔. ผู้อทุ ธรณ์รายเดียวยื่นอุทธรณ์รวม ๒ ฉบับ แต่ละฉบับเป็ นกรณีที่
ต้ องวางค่าธรรมเนียมใช้ แทน เมื่อมีการวางค่าธรรมเนียมใช้ แทนในการ
ยื่นอุทธรณ์ฉบับใดแล้ ว ก็ไม่ต้องวางในการยื่นอุทธรณ์อกี ฉบับหนึง่
• ๕๖๗๑/๒๕๔๘
๕๖๗๑/๒๕๔๘
• จาเลยยื่นอุทธรณ์คาสัง่ ที่ไม่อนุญาตให้ เลื่อนคดีและอุทธรณ์คาพิพากษา
รวม ๒ ฉบับ โดยยื่นคนละคราวกัน สาหรับอุทธรณ์คาสัง่ ที่ไม่อนุญาต
ให้ เลื่อนคดีเป็ นอุทธรณ์ที่มีผลกระทบต่อคาพิพากษาศาลชันต้
้ นเพราะ
หากอุทธรณ์ของจาเลยฟั งขึ ้น ศาลอุทธรณ์ก็จะอนุญาตให้ จาเลยเลื่อน
คดีและให้ ศาลชันต้
้ นดาเนินกระบวนพิจารณาใหม่ ซึง่ มีผลทาให้ คา
พิพากษาศาลชันต้
้ นถูกเพิกถอนไปด้ วย จาเลยจึงต้ องนาเงิน
ค่าธรรมเนียมซึง่ จะต้ องใช้ แก่โจทก์ตามคาพิพากษามาวาง พร้ อมกับ
อุทธรณ์คาสัง่ ตามป.วิ.พ.มาตรา ๒๒๙ และหากจาเลยได้ วางครบถ้ วน
แล้ ว ก็ไม่จาต้ องวางค่าธรรมเนียมในส่วนอุทธรณ์คาพิพากษาซ ้าอีก
ข้อสังเกตอื่น ๆ เกี่ยวกับการวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน (ต่อ)
• ๕. ผู้อทุ ธรณ์อาจขอขยายระยะเวลาวางเงินออกไปได้ โดยอาศัย ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๓
• ๖๐๓/๒๕๒๐
• จาเลยฎีกาภายในกาหนดอายุฎีกา แต่มีเงินค่าธรรมเนียมไม่พอศาล
ชันต้
้ นสัง่ ขยายเวลาให้ เกิน ๑ เดือนออกไป เมื่อจาเลยวางเงินแล้ วจึงสัง่
รับฎีกา ดังนี ้ชอบแล้ ว