ร่างพรบ.กองทุนยุติธรรม

Download Report

Transcript ร่างพรบ.กองทุนยุติธรรม

ร่ างพระราชบัญญัติ
กองทุนยุตธิ รรม พ.ศ....
ปกป้อง ศรี สนิท
ภารกิจในการอานวยความยุตธิ รรม
ให้ ประชาชนในปั จจุบัน
1. การช่ วยเหลือประชาชนเข้ าถึงความยุตธิ รรม
- กองทุนยุตธิ รรม
2. การเยียวยาผู้เสียหายและจาเลยที่ถูกยกฟ้อง
- พระราชบัญญัตคิ ่ าตอบแทนผู้เสียหาย
และค่ าทดแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยใน
คดีอาญา พ.ศ. 2544
ข้ อเสนอในการปฏิรูปกองทุนยุตธิ รรม
- รวมภารกิจการช่ วยเหลือประชาชนเข้ าถึงความ
ยุตธิ รรมกับการเยียวยาผู้เสียหายและจาเลยที่
ถูกยกฟ้องให้ เป็ นหน้ าที่ของกองทุนยุตธิ รรม
- เปิ ดให้ มีคณะกรรมการบริหารกองทุนจากหลาย
ภาคส่ วน ทัง้ ภาครัฐ และภาคประชาชน
- ตัง้ เป็ นนิตบิ ุคคล เพื่อมีสถานะทางกฎหมายใน
การดาเนินคดี
การช่ วย
ประชาชน
เข้ าถึงความ
ยุตธิ รรม
การเยียวยา
ผู้เสียหายและ
จาเลยที่ถูกยกฟ้อง
กองทุน
ยุตธิ รรม
(ใหม่ )
แนวคิดในการพัฒนากองทุนยุตธิ รรม
- เพิ่มรายได้ โดยใช้ หลัก solidarity
- ลดรายจ่ ายที่ไม่ จาเป็ น
1. ภารกิจในการช่ วยเหลือประชาชน
ในการเข้ าถึงความยุตธิ รรมในปั จจุบัน
- ให้ ค่าขึน้ ศาลกับประชาชน
- ให้ ค่าทนายความ
- ให้ เงินเป็ นหลักประกันกับผู้ต้องหาหรื อ
จาเลยที่น่าเชื่อว่ าจะไม่ ได้ กระทา
ความผิด
ปั ญหาในปั จจุบัน
- เงินไม่ พอเพราะเงินของกองทุนมาจาก
งบประมาณของรั ฐ
- ความต้ องการของประชาชนให้ กองทุน
ช่ วยเหลือมีมาก
- รัฐมีค่าเสียโอกาส (opportunity costs) ที่จะ
นางบประมาณไปพัฒนาส่ วนอื่น
แนวทางแก้ ปัญหา
เพิ่มรายได้ ของกองทุนให้ สอดคล้ องกับภารกิจ
- ให้ ศาลนาส่ งเงินสมทบมาเข้ ากองทุน โดยนาเงินบางส่ วน
จากค่ าขึน้ ศาล เพื่อใช้ เป็ นค่ าขึน้ ศาลให้ กับผู้ยากไร้
- ให้ ทนายความนาส่ งเงินเข้ ากองทุน เพื่อไปเป็ นค่ าใช้ จ่าย
ด้ านทนายความให้ กับผู้ยากไร้
- ให้ นาเงินที่ศาลบังคับหลักประกันของผู้ต้องหาหรื อจาเลย
ที่หลบหนีบางส่ วนส่ งเข้ ากองทุน เพื่อมาใช้ ประกันตัว
ผู้ต้องหาหรื อจาเลย
ลดรายจ่ ายที่ไม่ จาเป็ นของกองทุน
- ปรั บแนวทางปฏิบัตขิ ององค์ กรในกระบวนการยุตธิ รรมทาง
อาญา คือ ควรพิจารณาให้ ปล่ อยชั่วคราวจากพฤติการณ์
ของผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่ ใช่ พจิ ารณาจากหลักประกัน
เหมือนปั จจุบัน
- หากปรั บตามแนวทางนีไ้ ด้ จะมีผลเป็ นการลดรายจ่ าย 2
ชัน้ คือ ลดรายจ่ ายเรื่ องประกันตัว และลดรายจ่ ายของ
กองทุนในการเยียวยาจาเลยที่ถูกยกฟ้องอีกด้ วย
-นอกจากนีย้ ังสร้ างความเป็ นธรรมให้ กับสังคมระหว่ างคน
ฐานะต่ างกัน
2. ภารกิจในการเยียวยาผู้เสียหายและจาเลย
ที่ถูกยกฟ้องคดีอาญา
- ให้ เงินกับผู้เสียหาย (เหยื่อ) ที่ถกู กระทา
ความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่ างกาย เพศ
- ให้ เงินกับจาเลย (แพะ) ที่ศาลพิพากษายก
ฟ้องเพราะไม่ มีความผิด
ปั ญหาที่เกิดขึน้
- ไม่ มีกองทุน เงินที่ใช้ คืองบประมาณ
ของรั ฐ
- รายจ่ ายมาก รายได้ ไม่ พอ
- ขาดการรั บช่ วงสิทธิเพื่อไปไล่ เบีย้ กับ
ผ้ ูกระทาความผิดที่แท้ จริง
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา
- เพิ่มรายได้ ตามหลัก solidarity โดยหักเงิน
บางส่ วนของเบีย้ ประกันภัยของทัง้ ประเทศเข้ า
กองทุน เพื่อไปเยียวยาผู้เสียหายที่ยากไร้ ท่ ไี ม่
มีโอกาสประกันภัย
- กาหนดให้ กองทุนซึ่งเป็ นนิตบิ ุคคลสามารถรับ
ช่ วงสิทธิของผู้เสียหายไปไล่ เบีย้ กับผู้กระทา
ความผิดที่แท้ จริงได้
ร่ างพระราชบัญญัตกิ องทุนยุตธิ รรม พ.ศ....
หมวด 1 กองทุนยุตธิ รรม
หมวด 2 คณะกรรมการกองทุนยุตธิ รรม
หมวด 3 การเข้ าถึงกระบวนการยุตธิ รรม
หมวด 4 การเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญา
และจาเลยที่ถูกยกฟ้องคดีอาญา
จบ