นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา (ครัง้ ที่ ๓) การแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องและคาให้การ หลักเกณฑ์ คูค่ วามมีสทิ ธิทจ่ี ะขอแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การของตนตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในมาตรา ๑๗๙ วรรคหนึ่ง โดยมีขอ้ สังเกต กล่าวคือ ๑.

Download Report

Transcript นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา (ครัง้ ที่ ๓) การแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องและคาให้การ หลักเกณฑ์ คูค่ วามมีสทิ ธิทจ่ี ะขอแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การของตนตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในมาตรา ๑๗๙ วรรคหนึ่ง โดยมีขอ้ สังเกต กล่าวคือ ๑.

นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา
(ครัง้ ที่ ๓)
การแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องและคาให้การ
หลักเกณฑ์
คูค่ วามมีสทิ ธิทจ่ี ะขอแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การของตนตามทีบ่ ญ
ั ญัตไิ ว้ในมาตรา
๑๗๙ วรรคหนึ่ง โดยมีขอ้ สังเกต กล่าวคือ
๑. คาฟ้องหรือคาให้การเดิมทีจ่ ะขอแก้ไขเพิม่ เติมนัน้ ต้องเป็ นคาฟ้องหรือ
คาให้การทีส่ มบูรณ์และชอบด้วยกฎหมาย รวมทัง้ มีขอ้ โต้แย้งสิทธิหรือหน้าทีข่ องบุคคล
โดยถูกต้องในขณะทีย่ น่ื คาฟ้องแล้ว
๑.๑ กรณีทผ่ี ฟู้ ้ องหรือผูถ้ ูกฟ้องไม่อาจเป็นคูค่ วามในคดีได้กไ็ ม่อาจแก้ไขเพิม่ เติม
ได้
ฎ.๔๑๘๑/๒๕๓๓ โจทก์มไิ ด้เป็ นผูจ้ ดั การมรดกแต่เพียงผูเ้ ดียว เมือ่ โจทก์ผเู้ ดียว
เป็ นผูย้ น่ื ฟ้องจาเลย จึงเป็ นการกระทาทีไ่ ม่มอี านาจและไม่ชอบด้วยวิธพี จิ ารณามา
.
แต่ตน้ แม้โจทก์จะขอแก้ไขคาฟ้องว่า ผูจ้ ดั การมรดกอีกคนหนึ่งมอบหมายให้โจทก์ม ี
อานาจจัดการมรดกไปฝา่ ยเดียวก็หาทาให้ฟ้องทีเ่ สียใช้ไม่ได้แล้วนัน้ กลับคืนดีมาเป็ น
ฟ้องทีช่ อบด้วยกฎหมายในภายหลังไม่
ฎ.๘๑๒๘/๒๕๔๔ ขณะโจทก์ฟ้อง อ. ถึงแก่กรรมไปก่อนแล้ว อ.จึงไม่มสี ภาพ
บุคคลตามกฎหมาย โจทก์ยอ่ มไม่มอี านาจฟ้อง อ.เป็ นจาเลยได้ การทีโ่ จทก์ขอแก้ไขคา
ฟ้องให้จาเลยที่ ๓ ซึง่ เป็ นทายาทของ อ.มารับผิดแทน อ. จึงมิใช่เป็ นการแก้ไขคาฟ้อง
ตามมาตรา ๑๗๙ โจทก์ชอบทีจ่ ะไปฟ้องจาเลยที่ ๓ ในฐานะทายาทโดยธรรมของ อ.
เป็ นคดีใหม่
.
๑.๒ โจทก์จะแก้ไขเพิม่ เติมฟ้องโดยเพิม่ โจทก์คนใหม่ หรือเปลีย่ นตัวจาเลยหรือ
เพิม่ จาเลยไม่ได้
ฎ.๒๐๙๕/๒๕๔๓ ตามคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องของโจทก์เป็ นการขอเพิม่ เติมชือ่
โจทก์ทจ่ี ะต้องระบุให้แน่ชดั ตามมาตรา ๕๕ ประกอบมาตรา ๖๗ เข้ามาในภายหลัง จึง
เป็ นการเพิม่ จานวนผูเ้ ป็ นโจทก์เข้ามาในคาฟ้องเดิม มิใช่เรือ่ งการขอไขคาฟ้อง คาสัง่
อนุ ญาตให้แก้ฟ้องจึงไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่มผี ลบังคับ เมือ่ ตามคาฟ้องของโจทก์
ระบุวา่ โจทก์เป็ นคณะบุคคลตามกฎหมายชือ่ “คณะบุคคลก.-ม.” ซึง่ เป็ นเพียงคณะ
บุคคลหรือกลุม่ บุคคลทีร่ วมกันเป็ นหน่วยภาษีเท่านัน้ มิใช่นิตบิ ุคคลตามกฎหมาย
โจทก์จงึ มิใช่บุคคลธรรมดาและมิใช่นิตบิ ุคคลอันอาจเป็ นคูค่ วามในคดีได้
.
ฎ.๑๑๑๗/๒๕๒๗ การแก้ไขคาฟ้องตามมาตรา ๑๗๙ จะต้องเป็ นการขอแก้ไขข้อหา
ข้ออ้างทีม่ ตี ่อจาเลย คือตัวบุคคลทีร่ ะบุแน่ชดั ตามมาตรา ๕๕ ประกอบมาตรา ๖๗ โดยการเพิม่
หรือลดจานวนทุนทรัพย์ หรือราคาทรัพย์ทพ่ี พิ าทในฟ้องเดิม หรือสละข้อหาในฟ้องเดิมบางข้อ
หรือเพิม่ เติมฟ้องเดิมให้บริบรู ณ์ ดังนัน้ การทีโ่ จทก์ยน่ื คาร้องขอเพิม่ ชือ่ ช.เข้ามาเป็ นจาเลยใน
คดีอกี คนหนึ่ง จึงมิใช่เป็ นเรือ่ งตามมาตรา ๑๗๙
ฎ.๑๕๘๖/๒๕๔๒ เดิมโจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยคือป.ลงลายมือชือ่ สังจ่
่ ายเช็คพิพาท
การทีโ่ จทก์ยน่ื คาร้องขอแก้ไขคาฟ้องหลังจากจาเลยยืน่ คาให้การแล้วว่า จาเลยมิได้ลงลายมือ
ชือ่ สังจ่
่ ายเช็คพิพาท ผูล้ งลายมือชือ่ สังจ่
่ ายคือเจ้าของบัญชีรว่ มกับจาเลย แม้ศาลชัน้ ต้นจะยัง
ไม่ได้สงรั
ั ่ บคาให้การก็ตาม แต่เมือ่ ปรากฏว่าผูล้ งลายมือชือ่ สังจ่
่ ายเช็คพิพาทเป็ นผูอ้ ่นื ทีไ่ ม่ใช่
บุคคลทีม่ ชี อ่ื ตามฟ้อง การขอแก้ไขคาฟ้องของโจทก์จงึ ไม่ใช่เพียงการแก้ไขชือ่ จาเลย แต่เป็ น
เรือ่ งทีฟ่ ้ องผิดคนแล้วขอแก้ไขคาฟ้อง ซึง่ ถ้าศาลสังอนุ
่ ญาตจะมีผลเป็ นการเปลีย่ นตัวบุคคล
ซึง่ เป็ นจาเลยจากบุคคลหนึ่งเป็ นอีกบุคคลหนึ่ง ศาลจึงต้องยกคาร้องโจทก์
.
แม้จะไม่สามารถขอแก้ไขคาฟ้องตามมาตรา ๑๗๙ นี้ได้ แต่อาจสามารถใช้
มาตรา ๕๗ (๓) เพือ่ บังคับ
ฎ. ๒๔๑๒/๒๕๒๗ โจทก์และจาเลยเป็ นบุตรของจาเลยร่วม ทัง้ สามต่างเป็ น
เจ้าของกรรมสิทธิที์ ด่ นิ ร่วมกัน โจทก์ตอ้ งการโฉนดมาเพือ่ ทานิตกิ รรมจาหน่ายส่วนของ
ตน และเข้าใจว่าจาเลยเป็ นผูเ้ ก็บโฉนดไว้ไม่ยอมมอบให้ จึงฟ้องจาเลยขอให้สง่ มอบ
โฉนดและเรียกค่าเสียหาย ต่อมาความปรากฏต่อศาลว่า จาเลยร่วมซึง่ เป็ นบิดาเป็ นผู้
เก็บรักษาโฉนดไว้ ศาลย่อมมีคาสังเรี
่ ยกจาเลยร่วมเข้ามาในคดีตามมาตรา ๕๗ (๓) (ข)
และพิพากษาบังคับให้จาเลยร่วมรับผิดตามฟ้องโจทก์ได้
คาพิพากษานี้เป็ นกรณีศาลใช้อานาจเรียกเข้ามาเองจึงไม่ถอื ว่าเป็ นการที่
โจทก์ฟ้องบุพการีอนั ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๖๒
.
ข้อแตกต่างระหว่างการขอแก้ไขเพิม่ เติมฟ้องกับการขอให้เรียกบุคคลภายนอกเข้า
มาในคดี คือ หากมีการฟ้องมาแล้วต่อมาขอแก้ไขเพิม่ เติมฟ้องภายหลังอายุความเดิมล่วงพ้น
ไปแล้วสามารทาได้
ฎ. ๒๗๐๐/๒๕๒๖ โจทก์ฟ้องจาเลยฐานละเมิดภายใน ๑ ปี อายุความย่อมสะดุด
หยุดลงจนกว่าคดีจะได้วนิ ิจฉัยถึงทีส่ ุดหรือเสร็จไปโดยประการอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕ ก่อนวันชีส้ องสถานโจทก์ยน่ื ฟ้องเพิม่ เติม เมือ่ เกีย่ วกับฟ้องเดิม
พอทีจ่ ะรวมการพิจารณาและชีข้ าดตัดสินเข้าด้วยกันได้ตามมาตรา ๑๗๙ แม้ฟ้องเพิม่ เติมจะ
ยืน่ พ้น ๑ ปีแล้วนับแต่วนั ละเมิดก็ไม่ขาดอายุความ
ขณะทีก่ ารขอเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาในคดีผลจะต่างกัน
ฎ. ๒๑๘๕/๒๕๑๗ โจทก์ยน่ื คาร้องขอเพิม่ เติมฟ้องและขอให้เรียก ป.เข้ามาเป็ น
จาเลยร่วมในคดีละเมิดเมือ่ พ้น ๑ ปี นับแต่วนั ทีโ่ จทก์รถู้ งึ การละเมิดและรูต้ วั ผูพ้ งึ ใช้คา่ สินไหม
ทดแทน เมือ่ จาเลยร่วมยกอายุความขึน้ ต่อสู้ คดีโจทก์ทเ่ี กีย่ วกับจาเลยร่วมย่อมขาดอายุความ
.
อย่างไรก็ตาม หากไม่ใช่เรือ่ งฟ้องผิดตัวก็สามารถแก้ไขชื่อของจาเลยคนเดิมนัน้ ให้
ชัดเจนขึน้ ได้ (ฎ.๓๔๘/๒๕๒๙,ฎ.๖๓๐๔/๒๕๔๐)
๒. กรณีทศ่ี าลชัน้ ต้นมีคาสั ่งไม่รบั คาฟ้องหรือคาให้การย่อมไม่มคี าฟ้องหรือ
คาให้การทีจ่ ะขอแก้ไขเพิม่ เติมได้
ฎ.๘๐๙๘/๒๕๔๓ ศาลมิได้รบั คาฟ้องอุทธรณ์ของจาเลยจึงไม่มตี วั คาฟ้องอุทธรณ์ท่ี
จะต้องขอแก้ไขเพิม่ เติม จาเลยย่อมไม่อาจขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ไปเพือ่ ขอแก้ไขคา
ฟ้องอุทธรณ์ใหม่
ฎ.๒๐๗๙/๒๕๔๓ ศาลเพียงแต่ให้ยกคาร้องขอดาเนินคดีอย่างคนอนาถาของโจทก์
หาได้สงยกฟ
ั ่ ้ องหรือไม่รบั คาฟ้องทีย่ น่ื มาพร้อมกันไม่ คาฟ้องจึงยังมีอยูเ่ ช่นเดิม แต่คา
ร้องขอแก้ไขคาฟ้องไม่ปรากฏว่ามีขอ้ ความในลักษณะเป็ นการแก้ไขโดยสละข้อหาเดิม
บางข้อ หรือลดจานวนทุนทรัพย์ทพ่ี พิ าทในฟ้องเดิมทีจ่ ะสังให้
่ แก้ไขได้ ชอบทีจ่ ะให้โจทก์
ยืน่ คาร้องใหม่ให้ถกู ต้อง
.
๓. การแก้ไขในชัน้ บังคับคดีไม่อยูใ่ นบังคับมาตรา ๑๗๙ และหากการแก้ไขนัน้ เป็ น
การแก้ไขเพิม่ เติมรายละเอียดไม่ได้เปลีย่ นแปลงผลคาพิพากษาศาลชัน้ ต้นมีอานาจสัง่
ให้แก้ไขได้
ฎ.๗๒๐๖/๒๕๔๔ สหกรณ์แท็กซีร่ ว่ มมิตรจากัด กับสหกรณ์แท็กซีร่ วมมิตรจากัด
เป็ นนิตบิ ุคคลเดียวกัน การขอแก้ไขเพิม่ เติมเป็ นชือ่ สหกรณ์แท็กซีร่ วมมิตรจากัดเข้ามา
จึงมิใช่กรณีฟ้องผิดตัวหรือฟ้องคดีต่างนิตบิ ุคคลกันและมิใช่เป็ นการเพิม่ เติมข้อหาใหม่
หากแต่เป็ นการเพิม่ เติมในรายละเอียดให้ชดั เจนถูกต้องตรงตามความเป็ นจริง แม้จะอยู่
ในชัน้ บังคับคดีแต่มไิ ด้เป็ นการเปลีย่ นแปลงผลของคาพิพากษาหรือเป็ นการบังคับคดี
นอกเหนือไปจากคาพิพากษา ทัง้ มิใช่การแก้ไขคาฟ้องตามมาตรา ๑๗๙ จึงไม่อยูใ่ น
บังคับมาตรา ๑๘๐และมาตรา ๑๘๑ ศาลชัน้ ต้นอนุ ญาตได้ (ฎ.๖๑๓๔/๒๕๔๘)
.
๔. การแก้ไขข้อบกพร่องในเรือ่ งความสามารถในการฟ้องคดีเป็ นเรือ่ งของ
มาตรา ๕๖ ทีบ่ ญ
ั ญัตไิ ว้โดยเฉพาะแล้ว มิใช่เรือ่ งของการแก้คาฟ้องหรือคาให้การ
จึงไม่อยูใ่ นบังคับมาตรา ๑๗๙ ถึงมาตรา ๑๘๑ (ฎ.๔๓๕/๒๕๑๗) รวมทัง้ การ
เปลีย่ นตัวผูร้ บั มอบอานาจให้ฟ้องคดีแทนคนใหม่แทนคนเดิมก็สามารถทาได้โดย
ไม่ตอ้ งแก้ไขคาฟ้อง (ฎ.๑๒๖๘/๒๕๓๕)
ข้อจากัดทีข่ อแก้ไข
มาตรา ๑๗๙ วรรคสองมีดงั นี้
๑. การแก้ไขคาฟ้อง
๑.๑ เพิม่ หรือลดจานวนทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์ทพ่ี พิ าทในฟ้องเดิม
(มาตรา ๑๗๙(๑)) แสดงว่าจะต้องแก้ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับสภาพแห่งข้อหา
และข้ออ้างทีอ่ าศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาเดิม
.
ฎ.๒๑๒๔/๒๕๑๘ โจทก์ฟ้องว่าจาเลยบุกรุกทารัว้ เข้าไปในทีด่ นิ โจทก์ ส่วนทีบ่ ุกรุกมีราคา
๑,๐๐๐ บาท โดยคาฟ้องบรรยายถึงขนาดรูปทีด่ นิ ทีบ่ ุกรุกมาชัดเจนเป็ นทีแ่ น่นอน ในการทา
แผนทีก่ ลางจาเลยนาชีน้ อกเหนือไปจากทีพ่ พิ าทว่าเป็ นของจาเลยด้วย ส่วนทีเ่ กินคิดเป็ นเงิน
๔,๐๐๐ บาท โจทก์ขอแก้ไขเพิม่ เติมราคาอีก ๔,๐๐๐ บาทรวมเป็ น ๕,๐๐๐ บาท ดังนี้ เป็ นการ
ตัง้ ทุนทรัพย์ใหม่ขน้ึ มาไม่ได้ฟ้องมาแต่ตน้ อันเป็ นทุนทรัพย์นอกทีพ่ พิ าทและนอกฟ้องเดิมตาม
มาตรา ๑๗๙ (๑) ศาลชัน้ ต้นอนุญาตให้แก้ไขคาขอท้ายฟ้องโดยเพิม่ ทุนทรัพย์และเสียค่าขึน้
ศาลเพิม่ เป็ นการไม่ชอบ
ข้อสังเกต - หากแก้ไขลดทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์ทพ่ี พิ าทจากฟ้องเดิมลงมาอาจมีผลต่อ
การโอนคดีระหว่างศาลจังหวัดกับศาลแขวง (ฎ.๒๐๔๐/๒๕๕๐) และสิทธิในการอุทธรณ์ฎกี า
- การเพิม่ ทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์สนิ ทีพ่ พิ าทจากฟ้องเดิมนัน้ ต้องเสีย
ค่าธรรมเนียมศาลเพิม่ ตามมาตรา ๑๕๐ แต่หากลดจานวนลงน่าจะอนุโลมเป็ นการถอนฟ้อง
บางส่วนซึง่ ศาลอาจคืนค่าธรรมเนียมตามส่วนให้ทงั ้ หมดหรือบางส่วนตามมาตรา ๑๕๑ วรรค
สอง
.
๑.๒ สละข้อหาในฟ้องเดิมเสียบางข้อ หรือเพิม่ เติมฟ้องเดิมให้บริบรู ณ์โดยวิธเี สนอคา
ฟ้องเพิม่ เติม หรือเสนอคาฟ้องเพือ่ คุม้ ครองสิทธิของตนในระหว่างพิจารณา หรือเพือ่ บังคับ
ตามคาพิพากษาหรือคาสังตามมาตรา
่
๑๗๙ (๒) ซึง่ สามารถแบ่งเป็ นสองกรณีคอื
๑) สละข้อหาเสียแต่บางข้อ ซึง่ นอกจากจะทาตามมาตรานี้อนั ต้องอยูภ่ ายใต้กาหนดเวลา
ตามมาตรา ๑๘๐ แล้ว ยังสามารถใช้วธิ ถี อนคาฟ้องตามมาตรา ๑๗๕ ก่อนศาลชัน้ ต้นพิพากษา
ก็ได้ หรืออาจสละข้อหาในวันชีส้ องสถานตามมาตรา ๑๘๓ ก็ได้เช่นกัน
๒) เพิม่ เติมฟ้องเดิมให้บริบรู ณ์โดยวิธเี สนอคาฟ้องเพิม่ เติม หรือเสนอคาฟ้องเพือ่
คุม้ ครองสิทธิของตนในระหว่างพิจารณา หรือเพือ่ บังคับตามคาพิพากษาหรือคาสัง่
ก. การเพิม่ เติมฟ้องเดิมให้บริบรู ณ์โดยวิธเี สนอคาฟ้องเพิม่ เติม กรณีน้ีจะทานองเดียวกับ
มาตรา ๑๗๙ (๑) คือ ต้องมิใช่การตัง้ ข้อหาหรือเปลีย่ นแปลงข้ออ้างอันอาศัยเป็ นหลักแห่ง
ข้อหาใหม่จากเดิม และต้องเกีย่ วข้องกันตามวรรคสามด้วย
.
ฎ.๑๐๖๒/๒๕๕๑ คาฟ้องโจทก์ขอแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องเดิมเป็ นการเรียกค่าจ้างโฆษณา
งานประเภทเดียวกัน อันเกิดจากนิตกิ รรมประเภทเดียวกันและจากสัญญาเดียวกันทีโ่ จทก์กบั
จาเลยตกลงทากันขึน้ จึงเกีย่ วข้องกันพอทีจ่ ะรวมการพิจารณาและชีข้ าดตัดสินเข้าด้วยกันได้
ทัง้ ศาลชัน้ ต้นได้ให้โอกาสแก่จาเลยเพือ่ แก้ไขเพิม่ เติมคาให้การโดยจาเลยได้กล่าวแก้ขอ้ หาของ
โจทก์ทเ่ี พิม่ เติมเข้ามาใหม่โดยบริบรู ณ์ จาเลยจึงไม่เสียเปรียบ คาสังของศาลชั
่
น้ ต้นทีอ่ นุญาต
ให้โจทก์แก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องโดยให้โจทก์ไปจัดเตรียมคาฟ้องฉบับใหม่ตามข้อเท็จจริงทีข่ อ
แก้ไขเพิม่ เติมแล้วนามาเสนอต่อศาลแทนคาฟ้องเดิมจึงชอบด้วยมาตรา ๑๗๙ วรรคสอง (๒)
ฎ.๔๖๐๔/๒๕๓๑ ฟ้องเดิมโจทก์ขอให้จาเลยชาระหนี้ตามสัญญาTR แม้โจทก์จะบรรยาย
ฟ้องว่าจาเลยขอให้โจทก์เปิด LC เพือ่ ชาระค่าสินค้าทีจ่ าเลยสังซื
่ อ้ จากต่างประเทศ และต่อมา
โจทก์ได้ชาระราคาสินค้าแทนจาเลยแล้วก็เป็ นเพียงการบรรยายถึงมูลเหตุแห่งการทาสัญญา
TR ตามฟ้อง การทีข่ อแก้ไขคาฟ้องโดยไม่ขอบังคับตามสัญญา TR แต่ขอให้จาเลยชาระหนี้
ตามสัญญา LC เป็ นการตัง้ ข้อหาใหม่เปลีย่ นแปลงข้อหาฟ้องเดิม มิใช่เป็ นการสละข้อหา จึง
ไม่ชอบตามมาตรา ๑๗๙
.
สาหรับความหมายของการเพิม่ เติมฟ้องเดิมให้บริบรู ณ์นนั ้ มีความหมายที่
กว้างทัง้ ลักษณะคาฟ้องตามมาตรา ๑๗๒ แต่จะต้องอยูภ่ ายใต้มาตรา ๑๗๙ วรรคสาม
ด้วย
ฎ. ๔๖๗๕/๒๕๔๓ มาตรา ๑๗๙ มิได้ห้ามการเพิ่มเติมคาฟ้ องโดยการ
เพิ่มสภาพแห่งข้อหา คาขอบังคับหรือข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาแต่อย่าง
ใด คาว่า เพิม่ เติมฟ้องเดิมให้บริบรู ณ์มไิ ด้หมายความว่าคาฟ้องเดิมมีความบกพร่อง
หรือไม่สมบูรณ์ ซึง่ โจทก์อาจขอเพิม่ เติมคาฟ้องเพียงเพือ่ ให้คาฟ้องเดิมถูกต้องและ
สมบูรณ์ แต่มีความหมายเพียงว่าข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่โจทก์ขอเพิ่มเติม
จากคาฟ้ องเดิมนัน้ เป็ นเรือ่ งเกี่ยวข้องกับคาฟ้ องเดิมเท่านัน้
.
ข. การเสนอคาฟ้องเพือ่ คุม้ ครองสิทธิของตนในระหว่างพิจารณา อันเป็ นไปเพือ่ การ
ใช้สทิ ธิตามมาตรา ๒๕๔ หรือ ๒๖๔ เช่น หากฟ้องเดิมมีขอ้ อ้างว่าโจทก์มสี ทิ ธิดกี ว่าจาเลยแต่
คงมีคาขอท้ายฟ้องเพียงให้ศาลแสดงว่าตนมีสทิ ธิในเครือ่ งหมายการค้าดีกว่าจาเลยเท่านัน้
ปกติจะไม่สามารถขอให้ศาลใช้วธิ กี ารชัวคราวก่
่
อนพิพากษาโดยการสังห้
่ ามจาเลยใช้
เครือ่ งหมายการค้านัน้ ก่อนพิพากษาได้ ดังนี้ หากมีความจาเป็ นโจทก์ตอ้ งขอแก้ไขเพิม่ เติมคา
ขอท้ายฟ้องในเรือ่ งดังกล่าวเสียก่อน หากศาลอนุ ญาตแล้วจึงจะขอให้ใช้วธิ กี ารชัวคราวก่
่
อน
พิพากษาโดยการสังห้
่ ามจาเลยใช้เครือ่ งหมายการค้านัน้ ชัวคราวตามมาตรา
่
๒๕๔ (๒) ได้
ค. การเสนอคาฟ้องเพือ่ บังคับตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ เช่น คาฟ้องเดิมมีการ
บรรยายถึงสภาพข้อหา และข้ออ้างทีอ่ าศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาในส่วนของจาเลยทัง้ สองแล้ว
เพียงแต่มคี าขอบังคับเฉพาะแต่จาเลยที่ ๑ ดังนัน้ โจทก์อาจขอแก้ไขให้ศาลบังคับเอาจาก
จาเลยที่ ๒ ด้วยก็ได้
.
๑.๓ การแก้ไขคาฟ้องนัน้ ต้องมีความเกีย่ วข้องกับฟ้องเดิมตามมาตรา ๑๗๙ วรรคสาม
ฎ. ๕๐๑๖-๕๐๑๗/๒๕๕๐มีปญั หาตามทีโ่ จทก์ทงั ้ สองฎีกาว่าคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องของโจทก์
ทัง้ สองทีข่ อแก้ไขเพิม่ เติมคาขอท้ายฟ้องให้จาเลยชดใช้ค่าเสียหายเพิม่ อีก ๓๐,๙๐๕,๒๘๐ บาท โดย
อ้างว่าค่าเสียหายส่วนนี้โจทก์ทงั ้ สองไม่อาจยืน่ ได้ก่อนวันสืบพยานเนื่องจากเป็ นค่าเสียหายที่เกิดขึ้น
ในระหว่างพิจารณาของศาลชัน้ ต้นที่มีคาสังให้
่ ยกเลิกคาสังคุ
่ ้มครองประโยชน์ ชวคราวของ
ั่
โจทก์ทงั ้ สองในระหว่างพิจารณาในเหตุฉุกเฉินนัน้ โจทก์ทงั ้ สองมีสทิ ธิขอแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องได้
หรือไม่ เห็นว่า ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๙ วรรคสาม บัญญัตหิ า้ มมิให้
คูค่ วามเสนอคาฟ้องเพิม่ เติมภายหลังทีไ่ ด้ยน่ื คาฟ้องเดิมต่อศาลแล้ว เว้นแต่คาฟ้องเดิมและคาฟ้อง
ภายหลังนี้จะเกีย่ วข้องกันพอทีจ่ ะรวมการพิจารณาและชีข้ าดตัดสินเข้าด้วยกันได้ ข้อเท็จจริงได้ความ
ตามคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องของโจทก์ทงั ้ สองว่า ภายหลังจากศาลชัน้ ต้นได้มคี าสังคุ
่ ม้ ครองประโยชน์
ชัวคราวแก่
่
โจทก์ทงั ้ สองในเหตุฉุกเฉิน อันมีผลทาให้โจทก์ทงั ้ สองสามารถกลับมาประกอบการค้าข้าว
ตามใบอนุ ญาตส่งข้าวออกไปนอกราชอาณาจักรได้ตามปกติอกี ครัง้ หนึ่งเป็ นการชัวคราวในระหว่
่
างการ
พิจารณา โจทก์ทงั ้ สองจึงได้ทาสัญญาขายข้าวแก่ผซู้ ้อื ในต่างประเทศอีกหลายราย แต่ต่อมาศาลชัน้ ต้น
กลับยกเลิกคาสังคุ
่ ม้ ครองประโยชน์ชวคราวในเหตุ
ั่
ฉุกเฉินดังกล่าว ทาให้โจทก์ทงั ้ สองไม่อาจส่งมอบ
ข้าวให้แก่ผซู้ ื้อในต่างประเทศที่ทาสัญญาไว้ ซึ่งเป็ นการกล่าวอ้างมูลคดีที่เกิดขึน้ ภายหลังโจทก์
ทัง้ สองฟ้ องคดีนี้แล้ว ดังนี้ แม้มูลคดีตามคาฟ้ องเดิมกับคาฟ้ องแก้ไขเพิ่มเติมจะมีลกั ษณะอย่าง
เดียวกัน แต่มูลคดีเกิดขึน้ คนละคราวไม่เกี่ยวข้องกัน ซึง่ หากจะฟงั ว่าโจทก์ทงั ้ สองมีสทิ ธิเรียกร้อง
ตามคาฟ้องแก้ไขเพิม่ เติมก็เป็ นสิทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังจากโจทก์ทงั ้ สองฟ้องคดีน้ีแล้ว ถือไม่ได้วา่ คา
ฟ้องแก้ไขเพิม่ เติมของโจทก์ทงั ้ สองเกีย่ วข้องกับฟ้องเดิม
.
๒. แก้ไขคาให้การตามมาตรา ๑๗๙ (๓) โดยยกข้อต่อสูข้ น้ึ ใหม่ เป็ นข้อแก้ขอ้ หาเดิม หรือ
ทีย่ น่ื ภายหลัง หรือเปลีย่ นแปลงแก้ไขข้ออ้าง หรือข้อเถียงเพือ่ สนับสนุนข้อหา หรือเพือ่ หักล้าง
ข้อหาของคูค่ วามอีกฝา่ ยหนึ่ง มีขอ้ สังเกตดังนี้
๒.๑ การแก้ไขคาให้การไม่ต้องคานึ งว่าคาให้การทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติมจะเกีย่ วข้องกับ
คาให้การเดิมหรือไม่ (ฎ.๒๒๓๖/๒๕๔๕, ฎ.๔๓๙๙/๒๕๔๕) เพราะไม่อยูใ่ นบังคับของมาตรา
๑๗๙ วรรคสาม (ฎ.๒๒๙๗/๒๕๑๕)
๒.๒ คาร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมคาให้การทีย่ กข้อต่อสูข้ น้ึ ใหม่หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้ออ้าง
หรือข้อเถียงเพือ่ สนับสนุน หรือเพือ่ หักล้างข้อหาของคูค่ วามอีกฝา่ ยหนึ่งนัน้ จาเลยมีสทิ ธิฟ้อง
แย้งมาในคาร้องดังกล่าวได้ (ฎ.๖๒๙/๒๕๒๔ ป.) แต่อย่างไรก็ตามฟ้องแย้งก็ตอ้ งเกีย่ วกับฟ้อง
เดิมตามมาตรา ๑๗๙ วรรคสามด้วย
๒.๓ คาฟ้องเดิมหากมีการแก้ไข จาเลยมีสทิ ธิตามมาตรา ๑๘๑ (๒) ทีจ่ ะแก้ไขคาให้การ
เช่นกัน ทัง้ นี้ จาเลยอาจฟ้องแย้งเข้ามาในคาร้องขอแก้ไขคาให้การก็ได้
(ฎ.๖๒๙/๒๕๒๔ ประชุมใหญ่)
.
วิธกี ารและกาหนดเวลาแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การ (มาตรา ๑๘๐)
๑. ต้องทาเป็ นคาร้องจะทาเป็ นคาแถลงการณ์ไม่ได้ (ฎ.๙๘๘/๒๔๘๕)
๒. ต้องยืน่ ต่อศาลก่อนวันชีส้ องสถานคือวันทีศ่ าลดาเนินกระบวนพิจารณาเพือ่
กาหนดประเด็นข้อพิพาทและหน้าทีน่ าสืบตามมาตรา ๑๘๒ และมาตรา ๑๘๓ จะขอ
แก้ไขในวันชีส้ องสถานไม่ได้ (ฎ.๑๐๓๖/๒๕๒๘,๑๐๔/๒๕๓๐) ทัง้ นี้หากไม่มกี ารชีส้ อง
สถานตามวันทีก่ าหนดไว้จะเท่ากับกรณีทไ่ี ม่มกี ารชีส้ องสถาน ซึง่ ต้องยืน่ ก่อนวัน
สืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวันในกรณีไม่มกี ารชีส้ องสถานนันเอง
่
วันทีส่ บื พยานหมายความถึงวันทีเ่ ริม่ ต้นทาการสืบพยานตามมาตรา ๑ (๑๐) ซึง่
คือวันทีไ่ ด้มกี ารสืบพยานนัดแรก และมีการสืบพยานกันจริงๆ
(ฎ.๙๕๙/๒๔๙๓,ฎ.๗๒๐/๒๕๐๙)
.
ในกรณีทศ่ี าลงดการชีส้ องสถานและงดสืบพยานกับให้นดั ฟงั คาพิพากษา อัน
เท่ากับคดีไม่มที งั ้ การชีส้ องสถานและวันนัดสืบพยาน ต้องยืน่ คาร้องก่อนศาลชัน้ ต้นมี
คาพิพากษา (ฎ.๑๕๘๗/๒๕๑๔ (ป.),ฎ.๔๑๗๖/๒๕๒๘,ฎ.๗๑๑๕/๒๕๕๒)
ข้อยกเว้น
๒.๑ มีเหตุอนั สมควรทีไ่ ม่อาจยืน่ คาร้องตามกาหนดได้ เช่นการทีค่ ู่ความทราบ
ข้อเท็จจริงภายหลังจากกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๘๐ (ฎ.๑๘๐๓/๒๕๓๓,ฎ.๕๙๗๘๕๙๗๙/๒๕๓๔) โดยข้อเท็จจริงดังกล่าวต้องเป็ นการเกิดขึน้ มาภายหลังมิใช่สามารถ
ตรวจสอบได้ในขณะทีย่ น่ื คาฟ้องหรือคาให้การอยูแ่ ล้ว
.
ฎ.๔๘๕๖-๔๘๕๗/๒๕๔๘ ศาลชัน้ ต้นไม่ได้ชส้ี องสถาน โดยนัดสืบพยานวันที่ ๒๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ หลังจากสืบพยานผูร้ อ้ งไปบางส่วนแล้ว เมือ่ วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔
คูค่ วามแถลงร่วมกันขอให้ทาแผนทีพ่ พิ าท ศาลชัน้ ต้นจึงสังให้
่ จดั ทาแผนที่พพิ าท สานักงาน
ทีด่ นิ จังหวัดระยองจัดทาแผนทีด่ นิ พิพาทส่งมาถึงศาลวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ซึง่ คดีอยูใ่ น
ระหว่างการสืบพยานผูค้ ดั ค้าน ข้อเท็จจริงจึงปรากฏว่าเนื้อทีด่ นิ ทีร่ กุ ล้าอยูน่ นั ้ เป็ นจานวนเนื้อที่
๒๕.๗ ตารางวา ไม่ใช่ ๑๔ ตารางวา ตามทีผ่ รู้ อ้ งคิดคานวณเองและระบุในคาร้อง ซึ่งก่อน
หน้ านี้ ผรู้ ้องก็ไม่อาจทราบได้ จึงเป็ นกรณีทม่ี เี หตุอนั สมควรทีไ่ ม่อาจยืน่ คาร้องได้ก่อนนัน้
ประกอบกับตามคาร้องขอทีผ่ รู้ อ้ งเสนอคดีต่อศาลระบุอาคารของผูร้ อ้ งบางส่วนปลูกสร้างอยูบ่ น
ทีด่ นิ พิพาท ผูร้ อ้ งคานวณเนื้อทีส่ ว่ นนี้ได้ ๑๔ ตารางวา ผูร้ อ้ งครอบครองอย่างเป็ นเจ้าของซึง่
หมายถึงครอบครองส่วนทีร่ กุ ล้าอยูท่ งั ้ หมด จานวนเนื้อทีร่ ะบุในคาร้องขอจึงเป็ นส่วนของ
รายละเอียดในคาร้องขอ จึงเป็ นการขอแก้ไขในส่วนของรายละเอียดให้ชดั เจน ถือเป็ นการ
แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือผิดหลงเล็กน้อย แม้ขณะร้องขอแก้ไขได้มกี ารสืบพยานเสร็จ
แล้ว คดีอยูร่ ะหว่างนัดฟงั คาพิพากษาแต่กถ็ อื ว่าคดียงั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณา ผูร้ อ้ งยืน่ คา
ร้องขอแก้ไขได้ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๘๐
.
ฎ. ๑๑๔๗/๒๕๔๕ โจทก์สง่ สาเนาบัญชีกระแสรายวันให้จาเลยแล้วตัง้ แต่
ขณะยืน่ ฟ้องตามเอกสารท้ายฟ้อง จาเลยสามารถตรวจสอบยอดหนี้และรายการคิด
ดอกเบีย้ ได้มาตัง้ แต่ตน้ การทีจ่ าเลยเพิง่ มายืน่ คาร้องขอแก้ไขคาให้การภายหลังวัน
สืบพยานว่าเป็ นหนี้โจทก์อยูเ่ พียงประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ บาท จึงไม่ใช่กรณีทจ่ี าเลยไม่
อาจยืน่ คาร้องขอแก้ไขคาให้การก่อนวันดังกล่าวได้ ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณา
ความแพ่ง มาตรา ๑๘๐
.
๒.๒ การขอแก้ไขในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
เช่น ปญั หาว่าเป็ นฟ้องซ้อน (ฎ.๙๗๗/๒๕๕๐) แก้ไขคาให้การว่าโจทก์ไม่มอี านาจฟ้อง
(ฎ.๑๔๒๑/๒๕๓๑,ฎ.๖๓๐๓/๒๕๓๔.ฎ.๒๙๐๕/๒๕๕๒) แต่การขอแก้ไขคาให้การว่าคดี
ขาดอายุความไม่ใช่ปญั หาทีเ่ กีย่ วกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน (ฎ.๒๓๕๔/
๒๕๒๙,ฎ.๔๖๘๕/๒๕๔๙,ฎ.๖๑๔๕/๒๕๕๐)
๒.๓ การแก้ไขข้อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้อย เช่น การแก้ตวั เลขทีม่ กี ารพิมพ์
ผิดในส่วนทีอ่ กี ฝา่ ยมิได้ต่อสู้ เพือ่ ให้ตรงกับความเป็ นจริง (ฎ.๑๐๐๑/๒๕๑๔,ฎ.๔๐๘/
๒๕๓๘,ฎ.๑๖๗๗/๒๕๕๖,ฎ.๓๙๑๕/๒๕๔๙)
.
เงือ่ นไขและการสังค
่ าร้องขอแก้ไขคาฟ้องและคาให้การ (มาตรา ๑๘๑)
๑. กรณีทค่ี าร้องอาจทาได้ฝา่ ยเดียวนัน้ จะไม่อยูใ่ นเงือ่ นไขมาตรา ๑๘๑ (๑) (๒)
คือ การทีโ่ จทก์ขอแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้องเมือ่
- เป็ นคาร้องขอในคดีไม่มขี อ้ พิพาท
- ขอแก้ไขเพิม่ เติมก่อนถึงกาหนดจาเลยยืน่ คาให้การและยังไม่มกี ารยืน่ คาให้การ
(ทัง้ ทีย่ งั มิได้สง่ หมายเรียกและสาเนาคาฟ้องและส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องแล้ว)
- ขอแก้ไขเพิม่ เติมเมือ่ จาเลยขาดนัดยืน่ คาให้การ
- ขอแก้ไขระหว่างส่งสาเนาคาฟ้องและคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
เหล่านี้ศาลอาจสังอนุ
่ ญาตหรือยกคาร้องได้โดยไม่ตอ้ งส่งสาเนาให้จาเลยและ
.
ไม่ตอ้ งสอบถามจาเลยก่อน หรืออาจจะไต่สวนก่อนโดยอาศัยอานาจตามมาตรา ๒๑ (๔) ก็ได้
(แต่กรณีทจ่ี าเลยจะขอแก้ไขเพิม่ เติมคาให้การทีอ่ าจทาได้ฝา่ ยเดียวนัน้ จะไม่ม)ี
๒. คาร้องทีไ่ ม่อาจทาได้ฝา่ ยเดียว มีเงือ่ นไข ๒ ประการ คือ
๒.๑ ต้องส่งสาเนาอีกฝา่ ยหนึ่งทราบล่วงหน้าอย่างน้อยสามวันก่อนพิจารณาคาร้อง แต่
ไม่ถอื เคร่งครัด หากอีกฝา่ ยสละสิทธิหรือไม่โต้แย้งศาลก็สามารถมีคาสังก่
่ อนสามวันได้
นอกจากนี้หากศาลเห็นสมควรยกคาร้องก็สามารถกระทาได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งส่งสาเนาให้อกี ฝา่ ย
หนึ่งก่อนตามมาตรา ๑๘๑ (๑)
๒.๒ ต้องให้โอกาสคูค่ วามอีกฝา่ ยหนึ่งโต้แย้งอย่างบริบรู ณ์ตามมาตรา ๑๘๑ (๒) มิฉะนัน้
ห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือชีข้ าดในประเด็นนัน้ เช่นโจทก์ฟ้องเรียกเงินกู้ จาเลยให้การ ต่อมา
ขอแก้ไขคาให้การโดยยกข้อต่อสูว้ า่ เพิม่ ว่า จาเลยทาสัญญากูโ้ ดยกลฉ้อฉลของโจทก์ ศาล
อนุญาตให้แก้ได้ แต่การทีจ่ ะพิพากษาชีข้ าดในประเด็นกลฉ้อฉลจะต้องให้โอกาสโจทก์โต้แย้ง
หรือสืบพยานหักล้างข้ออ้างของจาเลยเสียก่อน
.
แต่หากศาลจะไม่ฟงั ตามคาร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมก็ไม่จาต้องทาตามมาตรา ๑๘๑
(๒) เช่น จาเลยขอแก้ไขคาให้การโดยยกข้อต่อสูเ้ พิม่ เติมว่าจาเลยชาระหนี้ตามฟ้องแล้ว
ศาลอนุ ญาตให้แก้ไขได้ แต่เมือ่ สอบถามจาเลยแถลงรับว่าการชาระเงินไม่มหี ลักฐาน
เป็ นหนังสือ ไม่ได้เวนคืนสัญญากูแ้ ละไม่ได้บนั ทึกเพิกถอนหนี้ลงไว้ในสัญญากู้ ซึง่ เป็ น
การฟงั ไม่ได้ตามปพพ.มาตรา ๖๕๓ วรรคสอง ศาลก็ไม่จาเป็ นต้องให้โจทก์สบื พยาน
โต้แย้งหรือหักล้าง
หมายเหตุ แม้จะเป็ นการทีส่ ามารถใช้สทิ ธิขอแก้ไขเพิม่ เติมและได้กระทาตาม
หลักเกณฑ์และเงือ่ นไขตามมาตรา ๑๗๙ ถึง มาตรา ๑๘๑ แล้ว แต่การจะอนุ ญาต
หรือไม่กเ็ ป็ นดุลพินิจของศาล (ฎ.๒๖๔/๒๕๔๖)
.
ผลของคาสังศาล
่
- คำสังที
่ อ่ นุ ญำตให้แก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การเป็ นคาสังระหว่
่
างพิจารณาต้อง
โต้แย้งไว้ถงึ จะอุทธรณ์ฎกี าได้ตามมาตรา ๒๒๖,๒๔๗
- คำสังที
่ ไ่ ม่อนุ ญำตให้แก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การไม่เป็ นคาสังระหว่
่
างพิจารณา
ตามมาตรา ๒๒๖ แต่เป็ นคาสังไม่
่ รบั คาคูค่ วามตามมาตรา ๒๒๘ อุทธรณ์ฎกี าได้โดยไม่
ต้องโต้แย้งคาสังนั
่ น้
การชีส้ องสถาน
เมือ่ ยืน่ คาฟ้องและมีการยืน่ คาให้การแล้วศาลต้องทาการชีส้ องสถาน เพือ่
กาหนดประเด็นข้อพิพาท กาหนดภาระการพิสจู น์ และกาหนดให้คคู่ วามฝา่ ยใดนา
พยานหลักฐานเข้าสืบก่อนหรือหลัง ทัง้ นี้ ต้องแจ้งกาหนดวันชีส้ องสถานให้คคู่ วาม
ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน เว้นแต่จะมีเหตุตาม (๑) ถึง (๖) แห่งมาตรา ๑๘๒ ที่
ไม่ตอ้ งชีส้ องสถาน
เมือ่ ชีส้ องสถานแล้ว หรือเป็ นกรณีทไ่ี ม่มกี ารชีส้ องสถาน ศาลต้องกาหนดวัน
สืบพยาน โดยหากชีส้ องสถานต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑๔ วันนับแต่วนั ชีส้ องสถาน
แต่กรณีทไ่ี ม่มกี ารชีส้ องสถานศาลต้องออกหมายกาหนดวันสืบพยานส่งให้คคู่ วามทราบ
ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๔ วัน ต่อไป