มิติใหม่แห่งการบังคับคดีแพ่งภาครัฐ - สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

Download Report

Transcript มิติใหม่แห่งการบังคับคดีแพ่งภาครัฐ - สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

กฎหมายวิธีพจิ ารณาคดีผู้บริโภค
โดย
อัยการพิเศษฝ่ ายคดีแพ่ง 8
สานักงานคดีแพ่ง
กฎหมายที่เกีย่ วข้ อง
- พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
- พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาผู้บริโภค พ.ศ. 2551
- พ.ร.บ.ความรับผิดต่ อความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้
จากสิ นค้ าทีไ่ ม่ ปลอดภัย พ.ศ. 2551
ความเป็ นมา
-ความสะดวก
-ความรวดเร็ ว
-ความเป็ นธรรม
-การเยียวยา
-อายุความ
พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
คดีผู้บริโภค
- คดีแพ่งระหว่ างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ
- คดีแพ่งตามกฎหมายเกีย่ วกับความรับผิดต่ อความ
เสี ยหายที่เกิดขึน้ จากสิ นค้ าที่ไม่ ปลอดภัย
อานาจเจ้ าพนักงานคดี
- ไกล่เกลีย่ คดีผู้บริโภค
- ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐาน
- บันทึกคาพยาน
- ดาเนินการให้ มกี ารคุ้มครองสิ ทธิของคู่ความทั้ง
ก่ อนและระหว่ างการพิจารณา
(มาตรา 4)
ผู้ บ ริ โ ภ ค ส า ม า ร ถ ฟ้ อ ง บั ง คั บ ใ ห้
ผ้ ู ป ระกอบธุ ร กิ จ ช าระหนี้ ไ ด้ แม้ ไ ม่ มี
หลักฐานเป็ นหนังสื อตามกฎหมาย
(มาตรา 10)
ประกาศ โฆษณา ค ารั บ รอง หรื อ การ
กระทาด้ วยประการใดๆ ของผู้ประกอบ
ธุรกิจ ให้ ถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่งของสั ญญา
สามารถน าสื บ พยานบุ ค คลได้ ( มาตรา
11)
ความเสี ยหายที่ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อชี วิ ต ร่ างกาย
สุ ขภาพ หรืออนามัย โดยผลของสารที่สะสม
อยู่ในร่ างการของผู้บริ โภค หรื อต้ องใช้ เวลา
ในการแสดงอาการ สามารถฟ้องคดีภายใน 3
ปี นั บ แต่ วั น ที่ รู้ ถึ ง ความเสี ย หายและรู้ ตั ว
ผู้ประกอบธุรกิจ แต่ ไม่ เกิน 10 ปี (มาตรา 13)
ถ้ ามี ก ารเจรจาเกี่ ย วกั บ ค่ าเสี ยหาย
ระหว่ า งผ้ ู ป ระกอบธุ ร กิจ และผู้ บ ริ โ ภค
อายุ ค วามสะดุ ด หยุ ด อยู่ จ นกว่ า ฝ่ ายใด
ฝ่ ายหนึ่งได้ บอกเลิกการเจรจา (มาตรา
14)
ศาลมี อ านาจย่ น หรื อ ขยายระยะเวลา
ตามที่ ก ฎหมายหรื อ ศาลก าหนดไว้ ไ ด้
ตามความจาเป็ นและเพื่อประโยชน์ แ ห่ ง
ความยุตธิ รรม (มาตรา 15)
การฟ้องคดี
ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ จะฟ้ องผู้ บ ริ โ ภคได้
เฉพาะศาลที่ผ้ ูบริ โภคมีภูมิลาเนาอย่ ู ได้
เพียงแห่ งเดียว (มาตรา 17)
การฟ้องคดี (ต่ อ)
ผู้บริ โภคฟ้องผู้ประกอบธุรกิจได้ โดยไม่
ต้ องเสี ยค่ าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง แต่ ไม่
รวมถึงความรั บผิดในค่ าฤชาธรรมเนี ยม
ในชั้นทีส่ ุ ด (มาตรา 18 วรรคแรก)
การฟ้องคดี (ต่ อ)
ผู้บริโภคฟ้ องผู้ประกอบธุรกิจโดย
- ไม่ มีเหตุผลอันสมควร
- เรียกร้ องค่ าเสี ยหายเกินสมควร
- ประพฤติตนไม่ เรียบร้ อย
- ประวิงคดี
ศาลมีอานาจสั่ งให้ ชาระค่ าฤชาธรรมเนียมทั้ง หมดหรื อ
แต่ บางส่ วน (มาตรา 18 วรรคสอง)
การฟ้องคดี (ต่ อ)
ผู้บริโภคฟ้องคดีด้วยวาจาหรือเป็ นหนังสื อก็ได้
หากศาลเห็ น ว่ า ค าฟ้ องไม่ ถู ก ต้ อ งหรื อ ขาด
สาระสาคัญ ศาลอาจมีคาสั่ งให้ แก้ ไขคาฟ้องก็
ได้ (มาตรา 20)
การพิจารณาคดี
ให้ ศ าลก าหนดวัน นั ด พิจ ารณาโดยเร็ ว
และออกหมายเรี ยกจาเลยให้ มาศาลตาม
กาหนดนั ด เพื่อไกล่ เกลี่ย ยื่นคาให้ การ
และสื บพยานในวันเดียวกัน (มาตรา 24)
การพิจารณาคดี (ต่ อ)
ผู้ประกอบธุรกิจมีภาระการพิสูจน์ ข้อเท็จจริง
ที่ เ กี่ ย วกั บ การผลิ ต การประกอบ การ
ออกแบบ หรื อ ส่ วนผสมของสิ น ค้ า การ
ให้ บริ การ หรื อการดาเนินการใดๆ ซึ่ งอยู่ใน
ความรู้ เห็นโดยเฉพาะของผู้ ประกอบธุ รกิจ
(มาตรา 29)
การพิจารณาคดี (ต่ อ)
ภายหลังมีคาพิพากษาถึงที่สุดแล้ ว มีการฟ้อง
ผู้ ประกอบธุ รกิ จ รายเดี ย วกั น อี ก โดย
ข้ อเท็จจริงที่พพิ าทเป็ นอย่ างเดียวกัน ศาลใน
คดี ห ลั ง อาจมี ค าสั่ ง ให้ ถื อ ว่ า ข้ อ เท็ จ จริ ง ใน
ประเด็นนั้ นเป็ นอันยุ ติเช่ นเดียวกับคดีก่อน
โดยไม่ ต้องสื บพยานหลักฐาน (มาตรา 30)
การพิจารณาคดี (ต่ อ)
ศาลมีอานาจเรี ยกพยานหลักฐานมา
สื บได้ เองตามที่เห็นสมควร (มาตรา
33)
การพิจารณาคดี (ต่ อ)
การสื บพยาน
- ศาลเป็ นผู้ซักถามพยาน
- คู่ความหรือทนายความจะซักถามพยานได้
ต่ อเมือ่ ได้ รับอนุญาตจากศาล (มาตรา 34)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี
ถ้ าศาลเห็นว่ าจานวนค่ าเสี ยหายที่โจทก์ เ รี ยกร้ อง
ไม่ ถูกต้ องหรื อวิธีการบังคับตามคาขอของโจทก์
ไม่ เพียงพอต่ อการแก้ ไขเยียวยาความเสี ยหายตาม
ฟ้ อง ศาลมีอานาจยกขึ้นวินิจฉั ยให้ ถูกต้ อง หรื อ
กาหนดวิธีการบังคับให้ เหมาะสม (มาตรา 39)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
ศาลอาจพิ พ ากษาให้ สงวนสิ ทธิ ที่ จ ะแก้ ไข
คาพิพ ากษาหรื อคาสั่ งภายใน 10 ปี นั บแต่ วัน ที่
ศาลมี ค าพิ พ ากษาหรื อ ค าสั่ ง กรณี ที่ ข ณะมี ค า
พิ พ ากษาไม่ อ าจหยั่ ง รู้ ได้ แ น่ ว่ า ความเสี ย หาย
เกิ ด ขึ้ น แก่ ร่ างกาย สุ ข ภาพ หรื อ อนามั ย นั้ น มี
แท้ จริงเพียงใด (มาตรา 40)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
ในกรณีที่ฟ้องขอให้ รับผิดในความชารุ ดบกพร่ องของ
สิ นค้ า ศาลมีอานาจพิพากษาให้ เปลี่ยนสิ นค้ าใหม่ แก่
ผู้ บริ โ ภคแทนการแก้ ไขซ่ อมแซมสิ นค้ าที่ ช ารุ ด
บกพร่ อง ถ้ าความชารุ ดบกพร่ องมีอยู่ในขณะส่ งมอบ
สิ น ค้ า และไม่ อ าจแก้ ไ ขให้ กั บ คื น ได้ หรื อ อาจเกิ ด
อันตรายแก่ ร่างกาย สุ ขภาพ หรืออนามัย (มาตรา 41)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
การก าหนดค่ า เสี ย หายเพื่อ การลงโทษไม่ เ กิน 2 เท่ า ของค่ า เสี ย หายที่
แท้ จริง
ถ้ าผู้ประกอบธุรกิจ
- กระทาโดยเจตนาเอาเปรียบผู้บริโภคโดยไม่ เป็ นธรรม
- จงใจให้ ผู้บริโภคได้ รับความเสี ยหาย
- ประมาทเลินเล่ออย่ างร้ ายแรง
- ไม่ นาพาต่ อความเสี ยหายทีจ่ ะเกิดแก่ผู้บริโภค
-กระท าการอัน เป็ นการฝ่ าฝื นต่ อ ความรั บ ผิด ชอบในฐานะผู้ มีอ าชี พหรื อ
ธุรกิจอันย่ อมเป็ นทีไ่ ว้ วางใจของประชาชน
(มาตรา 42)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
ศาลมีอานาจออกคาสั่ ง
1. ให้ ผู้ประกอบธุรกิจประกาศและรับสิ นค้ าที่อาจ
เป็ นอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกาย สุ ขภาพ หรืออนามัย
ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค คื น เ พื่ อ ท า ก า ร แ ก้ ไ ข ห รื อ
เปลี่ยนแปลงให้ ใหม่ โดยค่ าใช้ จ่ายของผู้ประกอบ
ธุรกิจ หรือให้ ใช้ ราคา (มาตรา 43)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
ศาลมีอานาจออกคาสั่ ง
2. ห้ ามผู้ประกอบธุรกิจจาหน่ ายสิ นค้ าที่เหลืออยู่
และให้ เ รี ย กเก็ บ สิ น ค้ า ที่ ยั ง ไม่ จ าหน่ า ยกลั บ คื น
จนกว่ า จะได้ มี ก ารแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงสิ น ค้ า
ดังกล่ าวให้ มีความปลอดภัยหรื อทาลายสิ น ค้ าที่
เหลือ (มาตรา 43)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
ศาลมีอานาจออกคาสั่ ง
3. หากมี ก ารฝ่ าฝื นตาม 1 และ 2 ศาลมี
อานาจสั่ งจับกุมและกักขังผู้ประกอบธุ รกิจ
ไว้ จนกว่ าจะได้ ปฏิบัติตามคาสั่ ง (มาตรา 43)
คาพิพากษาและคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี (ต่ อ)
ศาลมีอานาจเรี ยกหุ้ นส่ วน ผู้ถือหุ้ น หรื อบุคคลที่มีอานาจ
ควบคุมการดาเนินงานของนิติบุคคลเข้ ามาเป็ นจาเลยร่ วม
- ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ เป็ นนิ ติ บุ ค คล ซึ่ ง ถู ก จั ด ตั้ ง ขึ้ น หรื อ
ดาเนินการโดยไม่ สุจริต
- มีพฤติกรรมฉ้ อฉลหลอกลวงผู้บริโภค
- มี ก ารยั ก ย้ า ยถ่ า ยเททรั พ ย์ สิ น ของนิ ติ บุ ค คลไปเป็ น
ประโยชน์ ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และทรั พย์ สินของนิติ
บุคคลมีไม่ เพียงพอต่ อการชาระหนี้ (มาตรา 44)
พ.ร.บ. ความรับผิดต่ อความเสี ยหายที่เกิดขึน้
จากสิ นค้ าที่ไม่ ปลอดภัย พ.ศ. 2551
“สิ นค้ าที่ไม่ ปลอดภัย” หมายความว่ า สิ นค้ าที่ก่อ
หรื ออาจก่ อให้ เกิดความเสี ยหายขึ้นได้ ไม่ ว่าจะ
เป็ นเพราะเหตุจากความบกพร่ องในการผลิตหรือ
ออกแบบ หรือไม่ ได้ กาหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา คา
เตือน หรือข้ อมูลเกีย่ วกับสิ นค้ า หรือกาหนดไว้ แต่
ไม่ ถูกต้ อง หรือไม่ ชัดเจนตามสมควร
“ความเสี ย หายต่ อ จิ ต ใจ” หมายความว่ า
ความเจ็ บ ปวด ความทุ ก ข์ ท รมาน ความ
หวาดกลัว ความวิตกกังวล ความเศร้ าโศก
เสี ยใจ ความอับอาย หรื อความเสี ยหายต่ อ
จิตใจอย่ างอืน่ ที่มีลกั ษณะทานองเดียวกัน
“ผู้ประกอบการ” หมายความว่ า
(1) ผู้ผลิต หรือผู้ว่าจ้ างให้ ผลิต
(2) ผู้นาเข้ า
(3) ผู้ขายสิ นค้ าที่ไม่ สามารถระบุตัวผู้ผลิต ผู้ว่าจ้ างให้ ผลิต
หรือผู้นาเข้ าได้
(4) ผู้ซึ่งใช้ ชื่อ ชื่อทางการค้ า เครื่องหมายการค้ า เครื่องหมาย
ข้ อความ หรื อแสดงด้ วยวิธีใดๆ อันมีลักษณะที่ จะทาให้
เกิ ด ความเข้ า ใจได้ ว่ า เป็ นผู้ ผ ลิ ต ผู้ ว่ า จ้ า งให้ ผ ลิ ต หรื อ
ผู้นาเข้ า
ความรับผิดของผู้ประกอบการ
ผู้ ประกอบการทุ ก คนต้ องร่ วมกั บ รั บ ผิ ด ต่ อ
ผู้ เ สี ย หายในความเสี ย หารที่ เ กิด จากสิ น ค้ า ที่ ไ ม่
ปลอดภั ย และสิ นค้ านั้ นได้ มี ก ารขายให้ แก่
ผู้บริ โภคแล้ ว ไม่ ว่าความเสี ยหายนั้ นจะเกิดจาก
การกระทาโดยจงใจ หรื อ ประมาทเลิน เล่ อ ของ
ผู้ประกอบการหรือไม่ (มาตรา 5 )
ข้ อตกลงระหว่ างผู้บริ โภคกับผู้ประกอบการที่ได้
ทาไว้ ล่วงหน้ าก่ อนเกิดความเสี ยหาย และประกาศ
หรื อทาแจ้ งความของผู้ ประกอบการเพื่อยกเว้ น
หรือจากัดความรับผิดของผู้ประกอบการต่ อความ
เสี ยหายอันเกิดจากสิ นค้ าที่ไม่ ปลอดภัย จะนามา
อ้ า งเป็ นข้ อ ยกเว้ น หรื อ จ ากั ด ความรั บ ผิ ด ไม่ ไ ด้
(มาตรา 9)
ค่ าสิ นไหมทดแทน
ค่ า สิ น ไหมทดแทนเพื่อ ละเมิ ด (ป.พ.พ. มาตรา
443)
-กรณี ต าย ได้ แ ก่ ค่ า ปลงศพรวมทั้ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยอั น
จาเป็ นอย่ าง
-ถ้ ามิ ไ ด้ ตายในทั น ที ได้ แก่ ค่ ารั ก ษาพยาบ าล
รวมทั้งค่ าเสี ยหายที่ต้องขาดประโยชน์ ทามาหาได้
เพราะไม่ สามารถประกอบการงานนั้นด้ วย
-ค่ าขาดไร้ อป
ุ การะตามกฎหมาย
ค่ าสิ นไหมทดแทน (ต่ อ)
กรณีทาให้ เสี ยหายแก่ร่างกายหรืออนามัย
- ค่าใช้ จ่ายอันตนต้ องเสี ยไป
- ค่ าเสี ยหายเพื่ อ การที่ เ สี ยความสามารถ
ประกอบการงานสิ้ นเชิ งหรื อแต่ บางส่ วน ทั้ งใน
เวลาปัจจุบันและในเวลาอนาคต
ค่ าสิ นไหมทดแทน (ต่ อ)
บุ ค ค ล ภ า ย น อ ก มี สิ ท ธิ ฟ้ อ ง เ รี ย ก ร้ อ ง
ค่ า เสี ย หายได้ ถ้ าผู้ เ สี ย หายซึ่ ง ตายหรื อ
เสี ย หายแก่ ร่ างกายหรื อ อนามั ย มี ค วาม
ผู ก พัน ตามกฎหมายจะต้ อ งท าการงานให้
เ ป็ น คุ ณ แ ก่ ต น ใ น ค รั ว เ รื อ น ห รื อ
อุตสาหกรรมของบุคคลนั้น
ค่ าสิ นไหมทดแทน (ต่ อ)
ค่ าเสี ยหายต่ อจิตใจ
- ผ้ ู เสี ยหายได้ รับความเสี ยหายต่ อ
ร่ างกาย สุขภาพ หรืออนามัย
- หากผู้เสี ยหายตาย สามี ภริ ยา บุพการี
ห รื อ ผู้ สื บ สั น ด า ร ช อ บ ที่ จ ะ ไ ด้ รั บ
ค่ าเสี ยหายต่ อจิตใจ มาตรา 11 (1)
ค่ าสิ นไหมทดแทน (ต่ อ)
ค่ าสิ นไหมทดแทนเพื่อการลงโทษไม่ เกิน 2 เท่ าของ
ค่ าเสี ยหายที่แท้ จริง
ผู้ประกอบการ
- ผลิต นาเข้ า หรือขายสิ นค้ า โดยรู้ อยู่แล้ วว่ าเป็ นสิ นค้ า
ที่ไม่ ปลอดภัย
- มิได้ รู้ เพราะความประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง
- รู้ ว่ า สิ น ค้ า ไม่ ป ลอดภัย แล้ ว ไม่ ด าเนิ น การใดๆตาม
สมควรเพื่อป้ องกันไม่ ให้ เกิดความเสี ยหาย มาตรา 11
(2)