การดาเนินคดีแทนผู้บริโภค นายอดิศักดิ์ ราชทยานนท์ รองอัยการจังหวัดกาฬสิ นธุ์ สานักงานคุ้มครองสิ ทธิและช่ วยเหลือทางกฎหมายแก่ ประชาชน(สคช.) สานักงานอัยการจังหวัดกาฬสิ นธุ์ กฎหมายหลักทีเ่ กีย่ วข้ องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๑.

Download Report

Transcript การดาเนินคดีแทนผู้บริโภค นายอดิศักดิ์ ราชทยานนท์ รองอัยการจังหวัดกาฬสิ นธุ์ สานักงานคุ้มครองสิ ทธิและช่ วยเหลือทางกฎหมายแก่ ประชาชน(สคช.) สานักงานอัยการจังหวัดกาฬสิ นธุ์ กฎหมายหลักทีเ่ กีย่ วข้ องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๑.

การดาเนินคดีแทนผู้บริโภค
นายอดิศักดิ์ ราชทยานนท์
รองอัยการจังหวัดกาฬสิ นธุ์
สานักงานคุ้มครองสิ ทธิและช่ วยเหลือทางกฎหมายแก่ ประชาชน(สคช.)
สานักงานอัยการจังหวัดกาฬสิ นธุ์
กฎหมายหลักทีเ่ กีย่ วข้ องกับการคุ้มครองผู้บริโภค
๑. พระราชบัญญัติพนักงานอัยการ พ.ศ.๒๔๙๘ มาตรา ๑๑ (ภาพหน้ า ๓)
๒.พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๓๙ (ภาพหน้ า
๔)
๓. พระราชบัญญัติความรับผิดต่ อความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ จากสิ นค้ าทีไ่ ม่
ปลอดภัย พ.ศ.๒๕๕๑ (ภาพหน้ า ๕)
๔. พระราชบัญญัติวธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.๒๕๕๑
หมายเหตุ มีบทกาหนดโทษ(คดีอาญา)เฉพาะในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
พ.ศ.๒๕๒๒ และเป็ นความผิดอาญาแผ่นดินยอมความไม่ ได้ แต่ เปรียบเทียบได้ ตาม
มาตรา ๖๒ โดยคณะอนุกรรมการผู้มีอานาจเปรียบเทียบความผิดทีเ่ กิดขึน้ ใน
จังหวัดอืน่ นอกจากกรุ งเทพมหานคร (ภาพหน้ า ๖)
พระราชบัญญัติพนักงานอัยการ พ.ศ.๒๔๙๘
มาตรา ๑๑ พนักงานอัยการมีอานาจและหน้ าทีด่ งั นี้
(๑) ในคดีอาญา มีอานาจและหน้ าทีต่ ามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอืน่ ซึ่งบัญญัติว่าเป็ นอานาจและ
หน้ าที่ของกรมอัยการหรือพนักงานอัยการ
(๒)ในคดีแพ่ง มีอานาจและหน้ าทีด่ าเนินคดีแทนรัฐบาลในศาลทั้ง
ปวง กับมีอานาจและหน้ าทีต่ ามกฎหมายอืน่ ซึ่งบัญญัติว่าเป็ นอานาจ
และหน้ าที่ของสานักงานอัยการสู งสุ ด หรือพนักงานอัยการ
(๔) ในคดีแพ่ งทีเ่ ทศบาลหรือสุ ขาภิบาลเป็ นโจทก์ หรือเป็ นจาเลย ซึ่งมิใช่ คดี
ทีพ่ พิ าทกับรัฐบาล เมือ่ พนักงานอัยการเห็นสมควร จะรับว่ าต่ างหรื อแก้ต่างก็ได้
(๕) ในคดีแพ่ งทีน่ ิตบิ ุคคล ซึ่งได้ มพี ระราชบัญญัตหิ รือ
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึน้ เป็ นโจทก์หรือเป็ นจาเลย และมิใช่ เป็ นคดีทพี่ พิ าทกับ
รัฐบาล เมือ่ พนักงานอัยการเห็นสมควร จะรับว่ าต่ างหรือแก้ต่างก็ได้
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๓๙ ในกรณีทคี่ ณะกรรมการเห็นสมควรเข้ าดาเนินคดีเกีย่ วกับ การ
ละเมิดสิ ทธิของผู้บริโภค หรือเมือ่ ได้ รับคาร้ องขอจากผู้บริโภคทีถ่ กู ละเมิดสิ ทธิ ซึ่ง
คณะกรรมการเห็นว่ าการดาเนินคดีน้ันจะเป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ บู ริโภคเป็ นส่ วนรวม
คณะกรรมการมีอานาจแต่ งตั้งพนักงานอัยการโดยความเห็นชอบของอธิบดีกรมอัยการ
หรือข้ าราชการในสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งมีคุณวุฒิไม่ ต่ากว่ า
ปริญญาตรีทางนิตศิ าสตร์ เป็ นเจ้ าหน้ าที่คุ้มครองผู้บริโภคเพือ่ ให้ มหี น้ าที่ดาเนินคดีแพ่ ง
และคดีอาญาแก่ ผ้ กู ระทาการละเมิดสิ ทธิของผู้บริโภคในศาลและเมือ่ คณะกรรมการได้
แจ้ งไปยังกระทรวงยตุ ิธรรมเพือ่ แจ้ งให้ ศาลทราบแล้ ว ให้ เจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคมี
อานาจดาเนินคดีตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้
ในการดาเนินคดีในศาล ให้ เจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจฟ้องเรียก
ทรัพย์ สิน หรือค่ าเสี ยหายให้ แก่ ผ้ บู ริโภคทีร่ ้ องขอได้ ด้วย และในการนีใ้ ห้ ได้ รับยกเว้ นค่ า
ฤชาธรรมเนียมทั้งปวง
ลูกโป่ งวิทยาศาสตร์



มาตรา ๖๒ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการมี
อานาจเปรียบเทียบได้ และในการนีใ้ ห้ คณะกรรมการมีอานาจมอบหมาย
ให้ คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะอนุกรรมการพนักงานสอบสวน
หรือพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ดาเนินการเปรียบเทียบได้ โดยจะกาหนด
หลักเกณฑ์ ในการเปรียบเทียบหรือเงื่อนไขประการใดๆ ให้ แก่ผ้ไู ด้ รับ
มอบหมายตามทีเ่ ห็นสมควรด้ วยก็ได้
ภายใต้ บังคับของบทบัญญัติตามวรรคหนึ่งในการสอบสวนถ้ า
พนักงานสอบสวนพบว่ าบุคคลใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี้
และบุคคลนั้นยินยอมให้ เปรียบเทียบ ให้ พนักงานสอบสวนส่ งเรื่องมายัง
คณะกรรมการหรือผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้ มอี านาจ
เปรียบเทียบตามวรรคหนึ่งภายในเจ็ดวัน นับแต่ วนั ทีผ่ ู้น้ันแสดงความ
ยินยอมให้ เปรียบเทียบ
เมื่อผู้กระทาความผิดได้ เสี ยค่ าปรับตามทีเ่ ปรียบเทียบแล้ว ให้ ถือว่ าคดี
เลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
การดาเนินคดีอาญาแทนผู้บริโภค
 บทกาหนดโทษ ตามพระราชบัญญัตค
ิ ุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.
๒๕๒๒ มาตรา ๔๕ ถึง ๖๑ เช่ นข้ อหาไม่ ปฏิบัติตามคาสั่ งของ
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (คคบ.), เจตนาก่ อให้ เกิดความ
เข้ าใจผิดในแหล่ งกาเนิด คุณภาพ ปริมาณ อันเกีย่ วกับสิ นค้ าหรือ
บริการ โฆษณาหรือใช้ ฉลากทีม่ ีข้อความอันเป็ นเท็จ
 ปฏิบัตต
ิ ามหนังสื อสานักงานอัยการสู งสุ ดที่ อส(สฝปผ)๐๐๑๘/
๑๑๙๑๖ ลงวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๔๒ เอกสารหน้ า ๐๕๓

 มาตรา ๕๙ ในกรณีทผ
ี่ ้ ูกระทาความผิดซึ่งต้ องรับโทษ
ตามพระราชบัญญัตนิ เี้ ป็ นนิตบิ ุคคล กรรมการหรือ
ผู้จัดการหรือผู้รับผิดชอบในการดาเนินการของนิติ
บุคคลนั้นต้ องรับโทษตามทีก่ ฎหมายกาหนดสาหรับ
ความผิดนั้นๆ ด้ วยเว้ นแต่ จะพิสูจน์ ได้ ว่าตนมิได้ มสี ่ วน
ในการกระทาความผิดของนิตบิ ุคคลนั้น
การดาเนินคดีแพ่งแทนผู้บริโภค
การดาเนินคดีแพ่งตามพระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๒๒
ผู้บริโภค
สานักงานคณะกรรม
การคุ้มครองผู้บริโภค
สานักงานอัยการสู งสุ ด
ศาล
สานักงานคณะกรรม
การคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้บริโภค
ลักษณะความเป็ นมาของคดี
๑. ผู้ประกอบธุรกิจละเมิดสิ ทธิผ้ ูบริโภค
๒. ผู้บริโภคร้ องเรียนต่ อ สคบ.
๓. คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (คคบ.)
มีมติให้ เจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคดาเนินคดีแพ่ง
กับผู้ประกอบธุรกิจ
๔. เจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคฟ้ องคดีต่อศาล
การพิจารณาตรวจสานวนเบือ้ งต้ น
๑.มติของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมอบหมายให้
ดาเนินคดีกบั ใคร อย่ างไร
๒. สถานะของผู้ทเี่ จ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคจะฟ้อง เป็ นบุคคล
ธรรมดาหรือนิตบิ ุคคล
๓. อายุความ หรือ กาหนดระยะเวลาดาเนินการตามกฎหมาย
อายุความทางแพ่ งของแต่ ละคดี
ซื้อขาย คู่สัญญาฟ้ องภายใน ๑๐ ปี นับแต่ เกิดสิ ทธิ
เรียกร้ อง ผู้ซื้อฟ้ องผู้ขายภายใน ๑ ปี นับแต่ เวลาทีไ่ ด้
พบเห็นความชารุดบกพร่ อง
จ้ างทาของ ผู้รับจ้ างฟ้ องผู้ว่าจ้ างภายใน ๑๐ ปี นับแต่ เกิด
สิ ทธิเรียกร้ อง ผู้ว่าจ้ างฟ้ องผู้รับจ้ างภายใน ๑ ปี นับแต่
วันการชารุดบกพร่ องได้ ปรากฏขึน้
ละเมิด ภายใน ๑ ปี นับแต่ วนั ทีผ่ ้ ูต้องเสี ยหายรู้ ถึงการ
ละเมิดและรู้ ตวั ผู้จะพึงต้ องใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน หรือ
ภายใน ๑๐ ปี นับแต่ วนั ทาละเมิด



อายุความ(ต่ อ)
มาตรา ๑๒ สิ ทธิเรียกร้ องค่ าเสี ยหายอันเกิดจากสิ นค้ าทีไ่ ม่ ปลอดภัยตาม
พระราชบัญญัตินีเ้ ป็ นอันขาดอายุความเมื่อพ้นสามปี นับแต่ วนั ที่
ผู้เสี ยหายรู้ถึงความเสี ยหายและรู้ตัวผู้ประกอบการทีต่ ้องรับผิด หรือเมื่อ
พ้นสิ บปี นับแต่ วนั ทีม่ ีการขายสิ นค้ านั้น
ในกรณีทคี่ วามเสี ยหายเกิดขึน้ ต่ อชีวติ ร่ างกาย สุ ขภาพ หรืออนามัย
โดยผลของสารทีส่ ะสมอยู่ในร่ างกายของผู้เสี ยหายหรือเป็ นกรณีที่ต้องใช้
เวลาในการแสดงอาการ ผู้เสี ยหายหรือผู้มีสิทธิฟ้องคดีแทนตามมาตรา
๑๐ ต้ องใช้ สิทธิเรียกร้ องภายในสามปี นับแต่ วนั ทีร่ ู้ถึงความเสี ยหายและ
รู้ตัวผู้ประกอบการทีต่ ้ องรับผิด แต่ ไม่ เกินสิ บปี นับแต่ วนั ทีร่ ู้ ถึงความ
เสี ยหาย
อายุความ(ต่ อ)
 มาตรา ๑๓ ถ้ ามีการเจรจาเกีย
่ วกับค่ าเสี ยหายทีพ่ ึงจ่ าย
ระหว่ างผู้ประกอบการและผู้เสี ยหายหรือผู้มสี ิทธิฟ้องคดี
แทนตามมาตรา ๑๐ ให้ อายุความสะดุดหยุดอยู่ไม่ นับใน
ระหว่ างนั้นจนกว่ าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งได้ บอกเลิกการเจรจา

การพิจารณาตรวจสานวนเบือ้ งต้ น(ต่ อ)
๔. จานวนทุนทรัพย์ ทจี่ ะฟ้อง
๕. ภูมิลาเนาของผู้ทเี่ จ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคจะฟ้อง
(ผู้ประกอบการ/จาเลย) และสถานทีม่ ูลคดีเกิด
๖. เขตอานาจศาล ตามพระธรรมนูญศาลยุตธิ รรมและประมวล
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง





การพิจารณาตรวจสานวนเบือ้ งต้ น(ต่ อ)
๗. เอกสารต่ างๆ
(เอกสารแสดงอานาจฟ้องของโจทก์ )
๗.๑ คาสั่ งตั้งประธานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (เอกสารหน้ า
๐๔๒)
๗.๒ คาสั่ งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค แต่ งตั้งพนักงานอัยการ
เป็ นเจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภค (เอกสารหน้ า ๐๔๑)
๗.๓ หนังสื อสานักงานอัยการสู งสุ ดให้ ความเห็นชอบคณะกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภค แต่ งตั้งพนักงานอัยการเป็ นเจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภค
(เอกสารหน้ า ๐๔๖)
การพิจารณาตรวจสานวนเบือ้ งต้ น(ต่ อ)
๗.๔ หนังสื อสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีแจ้ งปลัดกระทรวง
ยุติธรรม เพือ่ แจ้ งให้ ศาลทราบว่ า คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
แต่ งตั้งพนักงานอัยการเป็ นเจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภค
(เอกสารประกอบ)
๗.๕ รายงานการประชุ มของคณะอนุกรรมการพิจารณากลัน่ กรอง
เรื่องราวร้ องทุกข์ จากผู้บริโภค
๗.๖ รายงานการประชุ มของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคทีม่ ีมติ
มอบหมายให้ เจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคดาเนินคดีแพ่ งแก่ผ้ปู ระกอบ
ธุรกิจ
๗.๗ เอกสารอืน่ ๆ เกีย่ วกับสั ญญาหรือละเมิด (เอกสารหน้ า ๓)
พระราชบัญญัติว่าด้ วยข้ อสั ญญาทีไ่ ม่ เป็ นธรรม
พ.ศ. ๒๕๔๐

มาตรา ๔ ข้ อตกลงในสั ญญาระหว่ างผู้บริโภคกับผู้ประกอบ
ธุรกิจการค้ า หรือวิชาชีพ หรือในสั ญญาสาเร็จรู ป หรือในสั ญญา
ขายฝากทีท่ าให้ ผ้ ูประกอบธุรกิจการค้ า หรือวิชาชีพ หรือผู้
กาหนดสั ญญาสาเร็จรู ป หรือผู้ซื้อฝากได้ เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ าย
หนึ่งเกินสมควร เป็ นข้ อสั ญญาที่ไม่ เป็ นธรรม และให้ มีผลบังคับ
ได้ เพียงเท่ าทีเ่ ป็ นธรรมและพอสมควรแก่ กรณีเท่ านั้น
พระราชบัญญัติ
วิธีพจิ ารณาคดีผ้ ูบริโภค
พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติ
วิธีพจิ ารณาคดีผู้บริโภค
พ.ศ. ๒๕๕๑
เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นหนึ่งร้อยแปดสิ บวัน
นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
(มาตรา ๒ )
ข้ อพิจารณาเบือ้ งต้ น
๑. พรบ.นี้ มีวัตถุประสงค์ เพียงเพื่อ กาหนด
วิ ธี พิ จ ารณาคดี เ ป็ นพิ เ ศษ ส าหรั บ คดี
ผู้บริโภค ไม่ ได้ จัดตั้งศาลขึน้ มาใหม่
๒. พรบ.นี้ ใช้ บังคับ เฉพาะคดีที่มีข้ อพิพาท
ในทางแพ่ง
ข้ อพิจารณาเบือ้ งต้ น
๓. บทบัญญัติบางมาตราของ พรบ.นี้ มีผลกระทบต่ อ
หลักเกณฑ์ บางประการประมวลกฎหมายแพ่ งและ
พาณิชย์ และประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
๔. การดาเนินคดีตาม พรบ. นี้ ไม่ ได้ ม่ ุ งแต่ เฉพาะการ
แก้ ปัญหาระหว่ างคู่ความ กรณีข้อเท็จจริงที่เกี่ยวพัน
ไปถึงความปลอดภัยของผู้บริโภครายอื่น พรบ. นีใ้ ห้
อานาจศาลมีคาสั่ งเพือ่ ป้องกันมิให้ เกิดอันตรายได้
หลักเกณฑ์ ที่แตกต่ างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- ให้ สิทธิผู้บริโภคฟ้องคดีได้ โดยทีไ่ ม่ มีหลักฐานเป็ นหนังสื อ
หรือไม่ ได้ ทานิติกรรมตามแบบที่กฎหมายกาหนด
(ไม่ นาวิ.แพ่ง ม.๙๔มาใช้ (มาตรา ๑๐))
- ขยายอายุความ กรณีที่ความเสี ยหายเกิดขึน้ จากสารทีส่ ะสม
ในร่ างกาย (มาตรา ๑๓) และอายุความสะดุดหยุดอยู่ระหว่ าง
มีการเจรจา (มาตรา ๑๔)
- ให้ ศาลมีอานาจสงวนสิ ทธิในการแก้ ไขคาพิพากษาหรือคาสั่ ง
ได้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด (มาตรา ๔๐) (วิแพ่ง ม.๑๔๓)

หลักเกณฑ์ ทแี่ ตกต่ างจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง

มาตรา ๙๔ เมือ่ ใดมีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ห้ ามมิ
ให้ ศาลยอมรับฟังพยานบุคคลในกรณีอย่ างใดอย่ างหนึ่งดังต่ อไปนี้ แม้ ถึง
ว่ าคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้ ยนิ ยอมก็ดี
(ก) ขอสื บพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมือ่ ไม่ สามารถนาเอกสารมา
แสดง
(ข) ขอสื บพยานบุคคลประกอบข้ ออ้ างอย่ างใดอย่ างหนึ่ง เมือ่ ได้ นาเอกสาร
มาแสดงแล้วว่ า ยังมีข้อความเพิม่ เติมตัดทอน หรือเปลีย่ นแปลงแก้ไข
ข้ อความในเอกสารนั้นอยู่อกี
แต่ ว่าบทบัญญัติแห่ งมาตรานี้ มิให้ ใช้ บังคับในกรณีทบี่ ัญญัติไว้ ใน
อนุมาตรา (๒) แห่ งมาตรา ๙๓ และมิให้ ถือว่ าเป็ นการตัดสิ ทธิคู่ความในอัน
ทีจ่ ะกล่ าวอ้ างและนาพยานบุคคลมาสื บประกอบข้ ออ้ างว่ า พยานเอกสารที่
แสดงนั้นเป็ นเอกสารปลอมหรือไม่ ถูกต้ องทั้งหมด หรือแต่ บางส่ วน หรือ
สั ญญาหรือหนีอ้ ย่ างอืน่ ทีร่ ะบุไว้ ในเอกสารนั้นไม่ สมบูรณ์ หรือคู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่งตีความหมายผิด



หลักเกณฑ์ ที่แตกต่ างจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง
-
ให้ ศาลมีอานาจสั่ งให้ ผู้ประกอบธุรกิจเปลีย่ นสิ นค้ าใหม่ ให้ แก่
ผู้บริโภค แทนการซ่ อมแซม กรณีไม่ อาจแก้ไขหรือนาไปใช้ แล้วเกิด
อันตรายแก่ร่างกาย สุ ขภาพ อนามัย ผู้บริโภค (มาตรา ๔๑)
(พิพากษาเกินคาขอ วิ.แพ่ง ม.๑๔๒)
- ให้ ศาลมีอานาจสั่ งให้ ผู้ประกอบธุรกิจจ่ ายค่ าเสี ยหายเพือ่ การลงโทษ
ในกรณีทผี่ ู้ประกอบธุรกิจกระทาโดยเจตนาเอาเปรียบผู้บริโภค
(มาตรา ๔๒) (พิพากษาเกินคาขอ วิ.แพ่ง ม.๑๔๒)
- ศาลมีอานาจพิพากษาเกินคาขอของผู้บริโภคได้ หากเห็นว่าเกิด
ความเสี ยหายมากกว่ าทีไ่ ด้ ขอไป (มาตรา ๓๙)
หลักเกณฑ์ ที่แตกต่ างจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
-
-
-
กาหนดให้ บุคคลอืน่ นอกจาก หุ้นส่ วนไม่ จากัดความรับผิด นิติบุคคล
เช่ น หุ้นส่ วน ผู้ถือหุ้น บุคคลทีม่ ีอานาจควบคุมการดาเนินงานของนิติ
บุคคล ผู้รับมอบทรัพย์ สินจากนิติบุคคล ต้ องร่ วมรับผิดชอบในหนีข้ อง
นิติบุคคลทีจ่ ัดตั้งขึน้ หรือดาเนินการโดยสุ จริต (มาตรา ๔๔) (คู่ความ
ร่ วมวิ.แพ่ง ม.๕๙)
การฟ้องคดีผ้บู ริโภค โจทก์จะฟ้องด้ วยวาจาหรือเป็ นหนังสื อก็ได้
(มาตรา ๒๐ ) (เหมือนวิแขวงคดีอาญา)
การยกเว้ นค่ าฤชาธรรมเนียมให้ แก่ผู้บริโภคหรือผู้มอี านาจฟ้องคดีแทน
ผู้บริโภค ไม่ รวมค่ าธรรมเนียมชั้นทีส่ ุ ด (มาตรา ๑๘) (วิแพ่ง ม.๑๔๙+
๑๖๑)



พระราชบัญญัติวธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๑๘ ภายใต้ บังคับของกฎหมายว่ าด้ วยความรับผิดต่ อ
ความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ จากสิ นค้ าทีไ่ ม่ ปลอดภัย การยื่นคาฟ้อง
ตลอดจนการดาเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในคดีผู้บริโภคซึ่ง
ดาเนินการโดยผู้บริโภคหรือผู้มอี านาจฟ้องคดีแทนผู้บริโภคให้
ได้ รับยกเว้ นค่ าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง แต่ ไม่ รวมถึงความรับผิดใน
ค่ าฤชาธรรมเนียมในชั้นทีส่ ุ ด
ถ้ าความปรากฏแก่ศาลว่ าผู้บริโภคหรือผู้มอี านาจฟ้องคดีแทน
ผู้บริโภคนาคดีมาฟ้องโดยไม่ มีเหตุผลอันสมควร เรียกร้ อง
ค่ าเสี ยหายเกินสมควร ประพฤติตนไม่ เรียบร้ อย ดาเนินกระบวน
พิจารณาอันมีลกั ษณะเป็ นการประวิงคดีหรือที่ไม่ จาเป็ น หรือมี
พฤติการณ์ อนื่ ทีศ่ าลเห็นสมควร ศาลอาจมีคาสั่ งให้ บุคคลนั้นชาระ
ค่ าฤชาธรรมเนียมที่ได้ รับการยกเว้ นทั้งหมดหรือแต่ บางส่ วนต่ อ
ศาลภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรกาหนดก็ได้ หากไม่ ปฏิบัติ
ตาม ให้ ศาลมีอานาจสั่ งจาหน่ ายคดีออกจากสารบบความ

ในกรณีตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ถ้ าศาลเห็นว่ า
คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะต้ องเป็ นผู้รับผิดเสี ยค่ าฤชาธรรม
เนียมทั้งหมดหรือแต่ บางส่ วนของคู่ความทั้งสองฝ่ าย ให้
ศาลพิพากษาในเรื่องค่ าฤชาธรรมเนียมโดยสั่ งให้ ค่คู วาม
อีกฝ่ ายหนึ่งนั้นชาระต่ อศาลในนามของผู้บริโภคหรือผู้มี
อานาจฟ้ องคดีแทนผู้บริโภคซึ่งค่ าฤชาธรรมเนียมที่
ผู้บริโภคหรือผู้มอี านาจฟ้ องคดีแทนผู้บริโภคนั้นได้ รับ
ยกเว้ นทั้งหมดหรือแต่ บางส่ วนตามทีศ่ าลเห็นสมควร
หลักเกณฑ์ ที่แตกต่ างจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
- ภาระการพิสูจน์ ประเด็นข้ อพิพาทข้ อใดจาเป็ นต้ องพิสูจน์ ถงึ
ข้ อเท็จจริงที่เกีย่ วกับการผลิต การประกอบ การออกแบบ
หรือส่ วนผสมของสิ นค้ า การให้ บริการ หรือการดาเนินการ
ใดๆ ซึ่งศาลเห็นว่ าข้ อเท็จจริ งดังกล่ าวอย่ ใู นความร้ ูเห็น
โดยเฉพาะของค่ คู วามฝ่ ายทีเ่ ป็ นผ้ ปู ระกอบธุรกิจ ให้ ภาระการ
พิสูจน์ ในประเด็นดังกล่ าวตกอยู่แก่ คู่ความฝ่ ายทีเ่ ป็ นผู้ประกอบ
ธุรกิจนั้น (วิแพ่ง ม.๘๔/๑)
(มาตรา ๒๙)
หลักเกณฑ์ ที่แตกต่ างจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
- ในกรณีที่ฟ้องผู้ประกอบธุรกิจรายเดิม และคดีถึงที่สุดแล้ ว ศาลอาจ
มีค าสั่ ง ให้ ข้อ เท็ จจริ งยุ ติ เช่ น เดีย วกับ คดีก่อ น และจะใช้ ผลการ
พิจารณาคดีเดิม เป็ นฐานในการพิจารณาคดีที่ใกล้ เคียงกัน
(มาตรา ๓๐) (วิแพ่ ง ม.๑๔๕)
-
หลักเกณฑ์ ที่แตกต่ างจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
- เขตอานาจศาล ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจจะฟ้องผู้บริโภคเป็ น
คดี ผู้ บ ริ โ ภคและผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ มี สิ ท ธิ เ สนอค าฟ้ องต่ อ ศาลที่
ผู้ บ ริ โ ภคมี ภู มิ ล าเนาอยู่ ใ นเขตศาลหรื อ ต่ อ ศาลอื่ น ได้ ด้ ว ย ให้ ผู้
ประกอบธุรกิจเสนอคาฟ้องต่ อศาลที่ผู้บริโภคมีภูมิลาเนาอยู่ในเขต
ศาลได้ เพียงแห่ งเดียว
(มาตรา 17)
สรุป
สาระสาคัญ ของพระราชบัญญัตวิ ธิ ีพจิ ารณาคดีผ้ บู ริโภค พ.ศ.๒๕๕๑
ระบบวิธีพจิ ารณาคดี เอือ้ ต่ อการใช้ สิทธิเรียกร้ องของผู้บริโภค เช่ น
- การยืน่ คาฟ้องตลอดจนการดาเนินกระบวนพิจารณาใดๆในคดี
ผู้บริโภคซึ่งดาเนินการโดยผู้บริโภคหรือผู้มีอานาจฟ้องคดีแทน
ผู้บริโภคให้ ได้ รับยกเว้ นค่ าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง (มาตรา ๑๘)
- การฟ้องคดีผู้บริโภคโจทก์จะฟ้องด้ วยวาจาหรือเป็ นหนังสื อก็ได้
(มาตรา ๒๐)
- กรณีมีกฎหมายบังคับให้ ต้องทาสั ญญา แม้ จะไม่ ได้ ทาสั ญญาเป็ น
หนังสื อหรือไม่ ได้ ทาตามแบบทีก่ ฎหมายกาหนด มิให้ นามาใช้ บังคับ
แก่ผู้บริโภคในการฟ้องให้ ผ้ปู ระกอบธุรกิจชาระหนี้ (มาตรา ๑๐)
- ประกาศ โฆษณา คารับรอง หรือการกระทาด้ วยประการใดๆของผู้
ประกอบธุรกิจ ซึ่งทาให้ ผู้บริโภคเข้ าใจว่าตกลงจะมอบให้ หรือจัดหาให้ ซึ่ง
สิ่ งของหรือบริการ หรือสาธารณูปโภคใดๆก็ให้ ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของสั ญญา
ทีผ่ ู้บริโภคนาสื บพยานบุคคลหรือพยานหลักฐาน (มาตรา ๑๑)
- กรณีความเสี ยหายเกิดต่ อชีวติ ร่ างกาย ฯ โดยผลของสารทีส่ ะสมอยู่ใน
ร่ างกายของผู้บริโภคหรือเป็ นกรณีทตี่ ้ องใช้ เวลาแสดงอาการอายุความใช้
สิ ทธิฟ้องร้ องภายใน ๓ ปี เมื่อรู้ถึงความเสี ยหายและรู้ตัวผู้ประกอบธุรกิจที่
กระทาความผิด แต่ ไม่ เกิน ๑๐ ปี นับจากวันทีร่ ู้ความเสี ยหาย (มาตรา ๑๓)
- ภาระการพิสูจน์ ต่อศาลในประเด็นข้ อพิพาททีต่ ้ องพิสูจน์ ข้อเท็จจริง
เกีย่ วกับการผลิต การออกแบบ ส่ วนผสมของสิ นค้ าหรือบริการ หรื อการ
กระทาใดๆ ถ้ าศาลเห็นว่ า ข้ อเท็จจริงดังกล่าวอยู่ในความรู้เห็นของฝ่ ายผู้
ประกอบธุรกิจเป็ นหน้ าทีข่ องผู้ประกอบธุรกิจนาสื บ (มาตรา ๒๙)
- ศาลมีอานาจคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา และมีอานาจสั่ ง
ผู้ประกอบการ เช่ น
เปลีย่ นสิ นค้ าให้ ใหม่ แทนการแก้ไขซ่ อมแซม
ในกรณีสินค้ าอันตราย ให้ ผู้ประกอบธุรกิจทาประกาศเรียกรับ
สิ นค้ าคืนจากผู้บริโภค และห้ ามจาหน่ ายสิ นค้ าทีเ่ หลือ เรียกเก็บ
สิ นค้ าทีย่ งั ไม่ ได้ จาหน่ าย หรือให้ ทาลายสิ นค้ าที่เหลือ
กรณีทสี่ ิ นค้ าอาจเป็ นอันตรายต่ อผู้บริโภคโดยส่ วนรวม หาก
ไม่ ปฏิบัติตามคาสั่ ง ศาลมีอานาจสั่ งจับกุม และกับขังผู้ประกอบ
ธุรกิจได้ (มาตรา ๔๑)
- ศาลมีอานาจพิพากษาเกินคาขอของผู้บริโภคได้ หากเห็นว่ า
เกิดความเสี ยหายมากกว่ าที่ได้ ขอไป (มาตรา ๓๙)
- มาตรการเปรียบเทียบปรับเชิงลงโทษ ในกรณีทผี่ ู้ประกอบ
ธุรกิจกระทาโดยเจตนาเอาเปรียบผู้บริโภค ให้ ศาลมีอานาจสั่ งให้ ผ้ ู
ประกอบธุรกิจจ่ ายค่ าเสี ยหายเพือ่ การลงโทษเพิม่ ขึน้ (มาตรา ๔๒)
ในกรณีที่ฟ้องผู้ประกอบธุรกิจรายเดิม และคดีถงึ ที่สุดแล้ ว
ศาลอาจมีคาสั่ งให้ ข้อเท็จจริงยุติ เช่ นเดียวกับคดีก่อน และจะใช้
ผลการพิจารณาคดีเดิม เป็ นฐานในการพิจารณาคดีที่ใกล้ เคียง
กัน (มาตรา ๓๐)
ในกรณีผ้ ูถูกฟ้ องเป็ นนิติบุคคล หากพบว่ ามีการฉ้ อฉล
หลอกลวง ผู้บริโภค หรือยักย้ ายถ่ ายเททรัพย์ สิน ให้ ศาลมี
อานาจเรียกหุ้นส่ วนเป็ นจาเลยร่ วม และศาลมีอานาจพิพากษา
ให้ ผ้ ูถอื หุ้นร่ วมรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค (มาตรา ๔๔)
การแจ้ งฐานะคดี
ตามระเบียบสานักงานอัยการสู งสุ ด ว่ าด้ วยการดาเนินคดีแพ่งของพนักงานอัยการ พ.ศ.2547
ข้ อ 25 การแจ้ งฐานะคดีและการไม่ รับว่ าต่ าง
คดีว่าต่ างที่พนักงานอัยการเจ้ าของสานวนพิจารณาเห็นว่ า รู ปคดีเสี ยเปรียบอีกฝ่ ายหนึ่ง เช่ น
คดีขาดอายุความ คดีขาดพยานหลักฐานอันเป็ นสาระสาคัญ หรื อกรณีที่คู่กรณีอีกฝ่ ายหนึ่งไม่ ต้องรั บ
ผิด ให้ พนักงานอัยการเจ้ าของสานวนเสนอความเห็นควรแจ้ งฐานะคดีตามลาดับชั้นถึงอธิบดี เมื่ออธิบดี
เห็นพ้องด้ วยก็ให้ แจ้ งฐานะคดีไปยังตัวความก่ อนยื่นฟ้องคดี
คดีระหว่ างส่ วนราชการกับเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจกับเอกชน หากพนักงานอัยการเห็ นว่ าไม่
ควรรับดาเนินคดีให้ แจ้ งฐานะคดีพร้ อมด้ วยเหตุผลที่จะไม่ รับดาเนินคดีให้ ตัวความทราบ หากตัวความ
ยังขอให้ ดาเนินคดีต่อไปและอธิบดีไม่ เห็นด้ วยกับตัวความให้ ส่งสานวนไปยังสานั กงานอัยการพิเศษฝ่ าย
การยุติในการดาเนิ นคดีแพ่ งและส่ วนราชการและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง สานั กงานคดีอัยการสู งสุ ด
พิจารณาเสนออัยการสู งสุ ด
คดีใดจะขาดอายุความฟ้ องร้ อง ให้ รีบแจ้ งฐานะคดีพร้ อมแจ้ งตัวความให้ ส่งเงินค่ าฤชาธรรม
เนียมและค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินคดีโดยเร็ ว และให้ ดาเนินการฟ้ องคดีภายในกาหนดอายุความ โดยไม่
ต้ องรอผลการพิจารณาการแจ้ งฐานะคดีของตัวความ
ควรแจ้งฐานะคดีเพื่อให้สานักงานคณะกรรมการ
คุม้ ครองผูบ้ ริ โภคนาเรื่ องเสนอคณะกรรมการ
คุม้ ครองผูบ้ ริ โภคเพื่อพิจารณาทบทวนมติ หาก
คณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคยังคงมีมติยนื ยัน
ตามมติเดิม กรณี ไม่สามารถนาระเบียบสานักงาน
อัยการสูงสุ ด ว่าด้วยการดาเนินคดีแพ่งของ
พนักงานอัยการ พ.ศ.2547 ข้อ 25 วรรคสอง
หรื อไม่รับว่าต่างได้
การสื บพยาน (บุคคลที่จะนาเข้าสื บ)
1. ผู้บริโภคแต่ ละราย
2. นิติกรหรือเจ้ าหน้ าที่ สคบ. ผู้ประสานงานคดี
3. เลขานุการหรือผู้ช่วยเลขานุการ คคบ. หรือ
คณะอนุกรรมการ คคบ.
การประนีประนอมยอมความ (เอกสารหน้ า13)
ตามระเบียบสานักงานอัยการสู งสุ ดว่ าด้วย การดาเนินคดีแพ่งของพนักงานอัยการ พ.ศ. 2547
ข้ อ 40 การประนีประนอมยอมความ
คดีแก้ ต่าง ยกเว้ นคดีเรี ยกเงินค่ าทดแทน ถ้ าพนั กงานอัยการผู้ ว่าคดีพิจารณาเห็ นว่ า คดี
เสี ยเปรี ยบ หรื อคดีว่า ต่ างที่คู่ ความอีกฝ่ ายขอลดหนี้ลงบางส่ วน หรื อขอผ่ อนผันการชาระหนี้ ซึ่ ง
พนั ก งานอั ย การผู้ ว่ า คดี เ ห็ น ว่ า มี เ หตุ อั น สมควรให้ พ นั ก งานอั ย การผู้ ว่ า คดี เ สนอความเห็ น ต่ อ
ผู้บังคับบัญชา เพือ่ มีหนังสื อแจ้ งข้ อเสนอประนีประนอมยอมความให้ ตัวความพิจารณา
เมื่อตัวความตกลงประนี ประนอมยอมความโดยแจ้ งเงื่อนไขมาให้ ทราบแล้ ว ให้ พนั กงาน
อัยการผู้ว่าคดีตกลงประนีประนอมยอมความตามนั้น หรือจะให้ ตัวความแต่ งตั้งผู้แทนมาแถลงต่ อศาล
ในวันประนีประนอมยอมความก็ได้ ในกรณีนี้ให้ ตัวแทนของตัวความลงชื่ อในสั ญญาประนี ประนอม
ยอมความด้ วย การยอมรั บชาระหนี้ตามฟ้ อง แต่ ขอผ่ อนชาระเป็ นงวด หรื อขอชาระแต่ เงินต้ นโดยไม่
รวมดอกเบี้ย ผู้ดาเนินคดีไม่ ควรดาเนินการโดยพลการ ควรที่จะแจ้ งข้ อเสนอเรื่ อง การประนีประนอม
ความของคู่ความฝ่ ายตรงข้ ามให้ ผู้บริโภคเป็ นผู้พจิ ารณา เมื่อผู้บริโภคให้ ความเห็นชอบเป็ นหนังสื อแล้ ว
จึงจะทาการประนีประนอมยอมความในศาลได้
การแจ้ งผลคดีและอุทธรณ์ ฎกี า
เมือ่ ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ ง ทั้งในศาลชั้นต้ น ศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา ผู้ดาเนินคดีจะต้ องทา
ความเห็นเสนอผู้บงั คับบัญชาตามลาดับชั้น พร้ อมสาเนาคาพิพากษาเพือ่ พิจารณาสั่ งอุทธรณ์ ฎีกา
หรือสั่ งไม่ อุทธรณ์ ฎีกา การแจ้ งผลคดีต้องระบุให้ ชัดเจนว่ าควรอุทธรณ์ ฎีกา เฉพาะจาเลยคนใด
หรือไม่ เพียงใด
หนังสื อสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ที่ นร 1605/3113 ลงวันที่ 10 เมษายน 2545
เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค แจ้ งอัยการสู งสุ ดว่ า คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้
มอบหมายให้ พนักงานอัยการในฐานะเจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคดาเนินการดังนี้
(1) กรณีทศี่ าลมีคาพิพากษาให้ โจทก์ ชาระหนี้เต็มตามฟ้ อง เป็ นการสมประโยชน์ ของผู้บริโภคและเป็ นไป
ตามมติคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคแล้ วนั้น ให้ พนักงานอัยการในฐานะเจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครอง
ผู้บริโภคใช้ ดุลพินิจเพือ่ พิจารณาใช้ สิทธิว่าจะสมควรอุทธรณ์ หรือฎีกาคาพิพากษาหรือไม่ ประการใด
และแจ้ งให้ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเพือ่ นาเสนอคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคทราบต่ อไป
(2) สาหรับกรณีทศี่ าลมีคาพิพากษาให้ โจทก์ แพ้ คดีหรือพิพากษาให้ โจทก์ ได้ รับชาระหนีไ้ ม่ เต็มตามฟ้ อง
หรือคาพิพากษาแตกต่ างไปจากมติคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และคดีไม่ ต้องห้ ามอุทธรณ์ หรือ
ฎีกานั้น ให้ พนักงานอัยการในฐานะเจ้ าหน้ าทีค่ ุ้มครองผู้บริโภคดาเนินการอุทธรณ์ หรือฎีกาคา
พิพากษาไปก่ อนทุกเรื่อง และให้ แจ้ งสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเพือ่ นาเสนอ
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคพิจารณามีมติต่อไป
การแจ้ งผลคดีและอุทธรณ์ ฎกี า
1. กรณีชนะคดีเต็มตามฟ้อง ให้ พนักงานอัยการใช้ ดลุ พินิจ
ว่ าสมควรจะอุทธรณ์ หรือฎีกาหรือไม่
2. กรณีแพ้คดี หรือชนะคดีไม่ เต็มตามฟ้อง หรือคาพิพากษา
มีข้อแตกต่ างไปจากมติ คคบ. และคดีไม่ ต้องห้ ามอุทธรณ์
หรือฎีกา ให้ พนักงานอัยการดาเนินการอุทธรณ์ หรือฎีกา
คาพิพากษาไปก่ อน
(หนังสื อ ที่ อส(สฝปผ.)0018/ว.108 ลว. 10 พ.ค.45 + นร 1605/3113 ลว. 10 เม.ย.45)
กาหนดให้ มเี จ้ าพนักงานคดีในศาล
การฟ้ องคดีผ้ ู บริ โภค โจทก์ จะฟ้ องด้ วยวาจาหรื อ
เป็ นหนังสื อก็ได้ ในกรณีที่โจทก์ ประสงค์ จะฟ้ อง
ด้ วยวาจา ให้ เจ้ าพนักงานคดีจัดให้ มีการบั นทึก
รายละเอียดแห่ งคาฟ้องแล้ วให้ โจทก์ ลงลายมื อชื่อ
ไว้ เป็ นสาคัญ
(มาตรา ๒๐ )
ให้ มีเจ้ าพนักงานคดีทาหน้ าทีช่ ่ วยเหลือศาลในการดาเนินคดี
ผู้บริโภค ตามทีศ่ าลมอบหมาย ดังต่ อไปนี้
(๑)
(๒)
(๓)
(๔)
ไกล่เกลีย่ คดีผู้บริโภค
ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐาน
บันทึกคาพยาน
ดาเนินการให้ มีการคุ้มครองสิ ทธิของคู่ความทั้งก่อนและระหว่ าง
การพิจารณา
(๕) ปฏิบัติหน้ าทีอ่ นื่ ตามพระราชบัญญัตินีห้ รือตามข้ อกาหนดของ
ประธานศาลฎีกาในการทาหน้ าทีช่ ่ วยเหลือนั้น
(มาตรา ๔)
ศัลยกรรมความงาม
เพิม่ เติมกระบวนการยุตธิ รรมทางเลือก

การไกล่เกลี่ย
การไกล่ เกลีย่ เพือ่ ช่ วยเหลือผู้บริโภค
 ตัวอย่ างการไกล่ เกลีย
่

เรื่องเพลิงไหม้ เครื่องเล่ นรถไฟลอยฟ้ า
ขอขอบคุณทุกท่ าน
ทีร่ ับฟังคาบรรยายในวันนี้