แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับ- จ่าย

Download Report

Transcript แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับ- จ่าย

แนวทางปฏิบัติเกีย่ วกับการรับ- จ่ าย
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
กองการเงินและบัญชี
“เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน”
จัดตั้งขึน้ ตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ 4)
พ.ศ.2518 มาตรา 8 ทวิ (เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2518)
เป็ นเงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินกองทุน
2
คณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
คาสั่ งกรมชลประทานที่ ข. 775/2552 ลว. 7 ก.ย. 2552
•อธิบดีกรมชลประทาน
ประธานกรรมการ
•รองอธิบดีฝ่ายบริหาร
รองประธานกรรมการ
•รองอธิบดีฝ่ายบารุ งรักษา
กรรมการ
•ผู้แทนสานักงบประมาณ
กรรมการ
•ผู้แทนกรมบัญชีกลาง
กรรมการ
•ผู้อานวยการสานักพัฒนาโครงสร้ างและระบบบริหารงานบุคคล กรรมการ
•ผู้อานวยการสานักอุทกวิทยาและบริหารนา้
กรรมการ
•ผู้อานวยการสานักส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของประชาชน
กรรมการ
•ผู้อานวยการกองการเงินและบัญชี
กรรมการ
•ผู้อานวยการกองพัสดุ
กรรมการ
•ผู้อานวยการกองกฎหมายและทีด่ นิ
กรรมการ
•ผู้อานวยการกองแผนงาน
กรรมการ
•หัวหน้ าฝ่ ายผลประโยชน์ และเงินกองทุน กองการเงินและบัญชี กรรมการและเลขานุการ
3
อานาจหน้ าที่
คณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
อนุมัติการใช้ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
 กาหนดระเบียบและวิธีการดาเนินงาน
 ควบคุม ตรวจสอบการรับจ่ ายเงินทุนฯ
 แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการหรื อคณะทางาน
4
คณะทางานด้ านยุทธศาสตร์ และแผนงาน
คาสั่ งคณะกรรมการฯ ที่ 5/2552 ลว. 18 ธ.ค. 2552
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ผู้อานวยการสานักสารวจด้ านวิศวกรรมและธรณีวทิ ยา
หัวหน้ าคณะทางาน
ผู้อานวยการสานักพัฒนาโครงสร้ างและระบบบริหารงานบุคคล คณะทางาน
ผู้อานวยการศูนย์ สารสนเทศ
คณะทางาน
ผู้อานวยการกองกฎหมายและทีด่ นิ
คณะทางาน
ผู้อานวยการกองแผนงาน
คณะทางาน
ผู้อานวยการกองการเงินและบัญชี
คณะทางาน
ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คณะทางาน
ผู้อานวยการสานักส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของประชาชน
คณะทางาน
หัวหน้ ากลุ่มงานแผนงานและโครงการพิเศษ กผง.
คณะทางาน
หัวหน้ าฝ่ ายผลประโยชน์ และเงินกองทุน กงบ.
คณะทางานและเลขานุการ
นางสาววันทนา อินทร์ แจ้ ง กงบ.
ผู้ช่วยเลขานุการ
นางนิตยา ปานขา กงบ.
ผู้ช่วยเลขานุการ
5
อานาจหน้ าที่
คณะทางานด้ านยุทธศาสตร์ และแผนงาน
จัดทา และทบทวนปรับปรุงยุทธศาสตร์
 ทบทวนแผนการปรับปรุงโครงสร้ าง หน้ าทีข่ องเงินทุนฯ
 จัดทาแผนงาน โครงการ งบประมาณ และต้ นทุนผลผลิต
 พัฒนาระบบงานด้ านเงินทุนฯ
 การติดตามและประเมินผลตามแผนงานงบประมาณ
6
คณะทางานด้ านการเพิม่ ทางนา้ ชลประทาน
และเพิม่ ประสิ ทธิภาพการจัดเก็บค่ าชลประทาน
คาสั่ งคณะกรรมการฯ ที่ 6/2552 ลว. 18 ธ.ค. 2552
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ผู้อานวยการสานักอุทกวิทยาและบริหารนา้
ผู้อานวยการสานักชลประทานที่ 9
ผู้อานวยการสานักชลประทานที่ 13
ผู้อานวยการสานักชลประทานที่ 14
นายสาธิต มณีผาย ผชช. ด้ านวิศวกรรมโยธา สอบ.
ผู้อานวยการกองการเงินและบัญชี
ผู้อานวยการกองกฎหมายและทีด่ นิ
ผู้อานวยการส่ วนบริหารจัดการนา้ สอน.
หัวหน้ ากลุ่มงานกฎหมาย กมด.
หัวหน้ าฝ่ ายผลประโยชน์ และเงินกองทุน กงบ.
นางมลทิรา เพชรศรี กงบ.
นางชู จิต ศรีสวัสดิ์ กงบ.
หัวหน้ าคณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางาน
คณะทางานและเลขานุการ
ผู้ช่วยเลขานุการ
ผู้ช่วยเลขานุการ
7
อานาจหน้ าที่
คณะทางานด้ านการเพิม่ ทางนา้ ชลประทาน
และเพิม่ ประสิ ทธิภาพการจัดเก็บค่ าชลประทาน
กาหนดแผนงานการประกาศกาหนดทางนา้ ชลประทาน
 กาหนดแผนงานการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการจัดเก็บค่ าชลประทาน
 กาหนดแผนงบประมาณ
 กาหนดแนวทางพัฒนา และขั้นตอนการประกาศกาหนดทางนา้ ฯ
 ติดตามและประเมินผลตามแผนงาน
8
คณะทางานด้ านพัฒนาบุคลากร
คาสั่ งคณะกรรมการฯ ที่ 7/2552 ลว. 18 ธ.ค. 2552
•
•
•
•
•
•
•
ผู้อานวยการสานักพัฒนาโครงสร้ างฯ สพบ.
หัวหน้ าคณะทางาน
ผู้อานวยการสถาบันพัฒนาการชลประทาน สวพ.
คณะทางาน
ผู้อานวยการส่ วนฝึ กอบรม สพบ.
คณะทางาน
ผู้อานวยการส่ วนบริหารโครงการเงินกู้ฯ สบค.
คณะทางาน
หัวหน้ าฝ่ ายผลประโยชน์ และเงินกองทุน กงบ. คณะทางานและเลขานุการ
นางสาวทยิดา สิ ริธีรธารง สบค.
ผู้ช่วยเลขานุการ
นางนิตยา ปานขา กงบ.
ผู้ช่วยเลขานุการ
9
อานาจหน้ าที่
คณะทางานด้ านพัฒนาบุคลากร
กาหนดแผนงาน โครงการ หลักสู ตร การพัฒนาบุคลากร
 กาหนดงบประมาณในการพัฒนาบุคลากร
 กาหนดแผนงบประมาณสนับสนุนพัฒนาบุคลากร
 ติดตามและประเมินผลตามแผนงาน
10
ระเบียบคณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียน
ว่ าด้ วยการดาเนินงานเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ
ชลประทาน พ.ศ.2547
ลงวันที่ 30 มกราคม 2547
11
วัตถุประสงค์
เพื่อดาเนินการในการกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ ง ระบาย
หรื อแบ่ งนา้ เพื่อเกษตรกรรม การพลังงาน สาธารณูปโภค
อุตสาหกรรม และการป้ องกันความเสี ยหายแก่ การเพาะปลูก
อันเกิดจากนา้ รวมตลอดถึงการซ่ อมเสริมผนังคันกั้นนา้
อาคารชลประทาน และการขุดลอกทางนา้ ชลประทาน
12
หมวด 1 : ข้ อความทั่วไป
ทางนา้ ชลประทาน  ทางนา้ ที่ได้ มีกฎกระทรวงกาหนดให้ เป็ น
ทางนา้ ชลประทาน ทีจ่ ะเรียกเก็บค่ าชลประทานจากผู้ใช้ นา้ เพื่อ
กิจการโรงงาน การประปา
เจ้ าพนักงาน  เจ้ าพนักงานตามพระราชบัญญัติ
การ
ชลประทานหลวง พ.ศ.2485 และที่แก้ ไขเพิม่ เติม
หมายถึงเจ้ าหน้ าที่ของกรมซึ่งมีหน้ าที่ปฎิบัตงิ านเกีย่ วกับการ
ชลประทานและหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งอธิบดีแต่ งตั้ง
กิจการอื่น  กิจการนอกจากที่ระบุ แต่ มไิ ด้ ใช้ เพื่อเกษตรกรรม 13
หมวด 2 : การขอและการออกหนังสื ออนุญาต
ข้ อ 9 ให้ นายช่ างหัวหน้ าโครงการส่ งน้าและบารุ งรั กษา
นายช่ างหั ว หน้ าโครงการชลประทาน ที่ มี ท างน้ า
ชลประทานอยู่ในเขต ทาการปิ ดประกาศให้ ทราบ ว่ า
ในเขตโครงการส่ งน้ า และบ ารุ ง รั ก ษา และโครงการ
ชลประทานนั้นๆ มีทางน้าชลประทานสายใด จากที่ใดถึง
ที่ใด
14
ข้ อ 11 ให้ นายช่ างหัวหน้ าโครงการส่ งน้า และ
บ า รุ ง รั ก ษ า น า ย ช่ า ง หั ว ห น้ า โ ค ร ง ก า ร
ชลประทาน พิจารณาผู้ที่ยื่นความประสงค์ จะ
ใช้ น้ า จากทางน้ า ชลประทาน และเสนอ
ความเห็นพร้ อมรายละเอียด ไปยังผู้อานวยการ
สานักชลประทาน เพื่ อพิจารณาอนุ ญาตแทน
อธิบดีกรมชลประทาน
15
ข้ อ 14 ก่ อนทีจ่ ะออกหนังสื ออนุญาตให้ นาย
ช่ างหัวหน้ าโครงการส่ งนา้ และบารุ งรักษา นาย
ช่ างหั วหน้ าโครงการชลประทานหรื อผู้ แทน
แจ้ งให้ ผู้ขออนุ ญาต ทราบเงื่ อนไขในหนังสื อ
อนุญาตที่เป็ นสาระสาคัญโดยเฉพาะการติดตั้ง
มาตรวัดนา้
16
ข้ อ 15 เมื่ อนายช่ างหัวหน้ าโครงการส่ งน้า
และบ ารุ ง รั ก ษา นายช่ างหั ว หน้ า โครงการ
ชลประทาน ได้ ออกหนังสื ออนุญาตให้ แก่ ผู้ขอ
อนุ ญาตรายใดแล้ ว ให้ ลงทะเบียนคุมจานวน
ผู้ รั บ อนุ ญ าตและวั น อนุ ญ าตไว้ ต ามล าดั บ
ทุกราย เพื่อเป็ นหลักฐานตรวจสอบ
17
ข้ อ 15 ต้ นฉบับหนังสื ออนุญาต เก็บไว้ โครงการ
สาเนาคู่ฉบับหนังสื ออนุญาต ให้ ผู้รับอนุญาต
สาเนาให้ สานักชลประทาน1 ชุด
ฝ่ ายผลประโยชน์ และเงินทุน 1 ชุด
18
หมวด 3 การปฏิบัตสิ าหรับผู้ทไี่ ด้ รับยกเว้ นค่ าชลประทาน
ข้ อ 17 ผู้รับอนุ ญาตรายใดที่ใช้ น้าในเดื อนหนึ่งไม่
เกิ น จ านวนที่ ไ ด้ รั บ ยกเว้ น ให้ นายช่ างหั ว หน้ า
โครงการส่ งน้าและบารุ งรั กษาหรื อนายช่ างหัวหน้ า
โครงการชลประทานหรื อ เจ้ า พนั ก งานผู้ ที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย หมายเหตุในใบแจ้ งปริมาตรน้าให้ ชัดเจน
ว่ า “ ได้ รับสิ ทธิยกเว้ นค่ าชลประทาน”
19
หมวด 4 หน้ าที่และความรับผิดชอบ
ข้ อ 19 การใช้ เงินทุนหมุนเวียน
19.1 เป็ นงานเร่ งด่ วนพิเศษตามนโยบาย
ไม่ อาจรอการตั้งงบประมาณหรื อโอนเปลีย่ นแปลง
งบประมาณได้
19.2 เป็ นงานหรื อโครงการที่มีแผนงาน
ประมาณการ ที่ตรวจสอบรับรองความเหมาะสมแล้ ว
20
หมวด 4 หน้ าที่และความรับผิดชอบ
ข้ อ 19 การใช้ เงินทุนหมุนเวียน
การเบิกจ่ าย การก่ อหนีผ้ ูกพัน การดาเนินการ
เกีย่ วกับพัสดุ การอนุมตั ิ การรับเงิน การเก็บรักษา-เงิน
การนาส่ งเงิน และการฝากเงิน ให้ เป็ นไปตามระเบียบ
ของทางราชการที่กาหนดไว้
ภายในวงเงินประมาณการรายจ่ ายที่ได้ รับ
อนุมตั จิ ากกระทรวงการคลัง
21
หมวด 4 หน้ าที่และความรับผิดชอบ
ข้ อ 20 ให้ น ายช่ า งหั ว หน้ า โครงการส่ งน้า และ
บ า รุ ง รั ก ษ า ห รื อ น า ย ช่ า ง หั ว ห น้ า โ ค ร ง ก า ร
ชลประทาน หรื อ เจ้ า พนั ก งานผู้ ไ ด้ รั บ มอบอ านาจ
จัด ท ารายงานภาษีข าย ภายใน 3 วัน นั บ จากวัน ที่
ออกใบกากับภาษีและจัดทารายงานภาษีซื้อภายใน 3
วัน นับจากวันที่ได้ รับใบกากับภาษี
22
ข้ อ 21 ให้ นายช่ างหั ว หน้ าโครงการส่ งน้ า และ
บารุ งรั กษาหรื อนายช่ างหั วหน้ าโครงการชลประทาน
หรื อผู้ที่รักษาราชการแทน เป็ นผู้ลงนามในแบบแสดง
รายการภาษี (ภ.พ.30) ยื่ นแบบและชาระภาษีภ ายใน
วั น ที่ 15 ของเดื อ นถั ด ไป ไม่ ว่าจะมี ก ารขายหรื อ
ให้ บริการในเดือนภาษีน้ันหรื อไม่ กต็ าม
23
ข้ อ 23 ให้ นายช่ างหั ว หน้ าโครงการส่ งน้ า และ
บารุงรักษา หรื อนายช่ างหัวหน้ าโครงการชลประทาน ที่
มีทางนา้ ชลประทานตั้งอยู่ในเขตทุกแห่ งมีหน้ าที่ควบคุม
ตรวจสอบ รั บ ผิ ด ชอบและด าเนิ น การให้ เ ป็ นไปตาม
ระเบียบนี้ รวมทั้งมีอานาจสั่ งมอบหมายและแต่ งตั้งเจ้ า
พนักงาน เพื่อให้ ดาเนินการตามระเบียบนี้
24
หมวด 5 : การจัดเก็บและนาส่ งค่าชลประทาน
ข้ อ 25 การจดมาตรวัดน้าทุกแห่ งให้ จดไม่ เกิน
วันที่ 5 ของเดือนถัดไป
25
ข้ อ 26 ให้ น ายช่ างหั ว หน้ า โครงการส่ งน้ า และ
บารุ งรักษา หรื อนายช่ างหัวหน้ าโครงการชลประทาน
หรื อเจ้ า พนั ก งานผู้ ไ ด้ รั บ มอบหมายไปจดตั ว เลข
ปริมาตรน้าและลงทะเบียน พร้ อมออกใบแจ้ งปริม าตร
น้า ภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่ไป จดมาตรวัด
นา้
26
หมวด 6 : การปฏิบัตติ ่ อผู้ฝ่าฝื น
ข้ อ 30 กรณี ผู้ ข อรั บ อนุ ญ าตรายใดไม่ ช าระค่ า
ชลประทานตามใบแจ้ งปริมาตรนา้ ภายใน 7 วัน นับแต่
วั น ที่ ไ ด้ รั บ ใบแจ้ ง ปริ ม าตรน้ า ให้ นายช่ างหั ว หน้ า
โครงการส่ งน้าและบารุ งรั กษา หรื อนายช่ างหั วหน้ า
โครงการชลประทาน หรื อ เจ้ า พนั ก งานผู้ ที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย มีหนังสื อเร่ งเตื อนให้ ผู้รับอนุญาตชาระค่ า
ชลประทาน
27
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
จดทะเบียนเข้ าสู่ ระบบภาษีมูลค่ าเพิม่
เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2542
28
ระบบบัญชี
เงินทุนหมุนเวียน
เพื่อการชลประทาน
29
ระบบบัญชีเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
จัดทาขึน้ ภายใต้ เงื่อนไข ดังนี้.1.การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแบบวิธีแยกยืน่ กรมส่ วนกลางเป็ น
สานักงานใหญ่ หน่วยงานที่มีรายได้ 68 สาขา
2.ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในส่ วนภูมิภาค เฉพาะกรณี ภาษีขายมากกว่าภาษี
ซื้อให้นาฝากธนาคารกรุ งไทย โดยไม่ตอ้ งนาส่ งฝากคลัง เพื่อนาไปชาระ
ให้กบั กรมสรรพากร ภายในวันที่ 1 – 15 ของเดือนถัดไป แต่ถา้ กรณี
ภาษีซ้ือมากกว่าภาษีขายให้นาส่ งฝากคลัง
3.การบันทึกบัญชี ส่ วนกลางเป็ นผูบ้ นั ทึกบัญชี ซึ่งแยกเป็ นชุดต่างหากจาก
บัญชีส่วนราชการปกติ โดยใช้ขอ้ มูล ณ วันสิ้ นเดือน ของรายงานสรุ ป
การเบิกจ่ายเงิน (สจ.01) และรายงานการจัดเก็บและนาส่ งค่าชลประทาน
30
ที่ส่วนภูมิภาคจัดส่ งให้
หลักการและนโยบายการบัญชี
1. นโยบายการบัญชีทั่วไป
- ใช้หลักบัญชีคู่ในการบันทึกบัญชี หมายถึง การกาหนดวิธีการ
ลงบัญชี สาหรับรายการทางการเงินที่เกิดขึ้นครั้งหนึ่งจะต้องลง
บันทึกบัญชีสองด้าน คือ เดบิตบัญชีหนึ่งและเครดิตอีกบัญชีหนึ่ง
ด้วยจานวนเงินที่เท่ากัน
- ใช้หลักการบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง หมายถึง หลักเกณฑ์ทางบัญชี
ที่ใช้รับรู ้รายการและเหตุการณ์เมื่อเกิดขึ้น มิใช่รับรู ้เมื่อมีการรับหรื อ
จ่ายเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสด
31
หลักการและนโยบายการบัญชี
- รอบระยะเวลาบัญชี ตามปี งบประมาณ คือวันที่ 1 ตุลาคม ปี ปั จจุบนั
ถึงวันที่ 30 กันยายน ปี ถัดไป โดยกาหนดรอบระยะเวลาบัญชี 1 รอบ
เท่ากับ 1 ปี งบประมาณ หรื อ 12 เดือน
- จดทะเบียนเข้าสู่ ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มแบบแยกยืน่ ภาษี โดยให้ยนื่ ชาระ
ภาษีมูลค่าเพิม่ ในท้องที่สรรพากรที่สาขาตั้งอยู่
- บันทึกบัญชีที่สานักงานใหญ่ หมายถึง การบันทึกบัญชี ที่กลุ่มงานเงิน
นอกงบประมาณ กองการเงินและบัญชี โดยใช้ขอ้ มูลจากรายงานสรุ ป
การเบิกจ่ายเงิน (สจ.01) และรายงานการจัดเก็บและนาส่ งค่าชลประทาน
32
หลักการและนโยบายการบัญชี
2. นโยบายเกีย่ วกับสิ นทรัพย์
- เงินสดหรื อสิ นทรัพย์ที่เปรี ยบเสมือนเงินสด เช่น เช็ค ตัว๋ แลกเงิน
- ลูกหนี้จากการขายสิ นค้า/บริ การ รับรู ้ตามจานวนเงินที่มีสิทธิได้รับ
ชาระจากบุคคลภายนอก ซึ่งเกิดจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การ และ
ได้รับอนุญาตให้เก็บไว้เพื่อใช้ในการดาเนินงาน
- วัสดุคงเหลือ รับรู ้ตามราคาทุน
- ครุ ภณ
ั ฑ์และอุปกรณ์ รับรู ้รายการที่มีมูลค่าต่อหน่วยหรื อต่อชุด ตั้งแต่
5,000.-บาท ซึ่งเป็ นราคาสุ ทธิโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
33
หลักการและนโยบายการบัญชี
3. นโยบายการบัญชีเกีย่ วกับหนีส้ ิ นและภาระผูกพัน
- เจ้าหนี้ รับรู ้เมื่อตรวจรับสิ นค้าหรื อบริ การจากผูข้ ายหรื อคู่สญ
ั ญาแล้ว
แต่ยงั มิได้ชาระเงิน
- ใบสาคัญค้างจ่าย รับรู ้เมื่อได้รับใบขอเบิกเงินจากข้าราชการหรื อลูกจ้าง
รวมถึงใบสาคัญที่สารองจ่ายจากเงินทดรอง
4. นโยบายการบัญชีเกีย่ วกับส่ วนทุน
- ทุน หมายถึง ทุนหมุนเวียนรับรู ้จากผลต่างระหว่างรายได้และค่าใช้จ่าย
34
หลักการและนโยบายการบัญชี
5. นโยบายการบัญชีเกีย่ วกับรายได้
- รายได้จากการขายสิ นค้า/บริ การ รับรู ้เมื่อได้ส่งมอบสิ นค้าหรื อบริ การ
ให้กบั ผูซ้ ้ือหรื อผูใ้ ช้แล้ว
6. นโยบายการบัญชีเกีย่ วกับค่ าใช้ จ่าย
- ค่าใช้จ่ายจากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน เช่น งบบุคลากร
งบดาเนินงาน รับรู ้เมื่อเกิดค่าใช้จ่าย
- ค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ ให้คิดตามวิธีเส้นตรง ไม่มีราคาซาก
- สิ นทรัพย์ที่หมดอายุการใช้งานแล้วให้คงมูลค่าไว้ในบัญชี 1 บาท
จนกว่าจะมีการจาหน่ายสิ นทรัพย์ออกจากระบบบัญชี
35
รายรับของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
36
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
มีเงินทีร่ ับเข้ าบัญชีทุนหมุนเวียน ดังนี.้ 1. เงินค่ าชลประทานและเงินเพิม่ ค่ าชลประทานทีจ่ ัดเก็บตาม
กฎหมายว่ าด้ วยการชลประทาน
2. เงินค่ าขายทรัพย์ สินทีจ่ ัดซื้อโดยเงินทุนหมุนเวียนเพื่อ
การชลประทาน (ค่ าขายซาก วัสดุ ครุภณ
ั ฑ์ ของเงินทุนฯ)
3. เงินรับอื่น ได้ แก่
- ดอกเบีย้ เงินฝากจากสถาบันการเงิน
- เงินรับคืนภาษีซื้อจากกรมสรรพากร
37
รายจ่ าย (งบประมาณม่ ุงเน้ นผลงาน)
 จ่ ายได้ ตามวัตถุประสงค์ เกิดผลสั มฤทธิ์ของงานตาม
เป้ าหมายอย่ างมีประสิ ทธิภาพ คุ้มค่ าทางเศรษฐกิจ
โปร่ งใส สามารถตรวจสอบประเมินผลได้
 ตามรายการและภายในวงเงินประมาณการรายจ่ าย
ประจาปี ทีไ่ ด้ รับอนุมตั จิ ากระทรวงการคลัง
 การเบิกจ่ ายใช้ ระบบ GFMIS
38
รายจ่ าย (งบประมาณม่ ุงเน้ นผลงาน)
1. งบบุคลากร สอดคล้ องกับเป้ าหมาย ผลผลิต ต้ นทุน
ผลผลิต เงินเดือน วงเงินเลื่อนขั้น
2. งบดาเนินงาน ต้ องกาหนดให้ สอดคล้ องกับเป้ าหมาย
ผลผลิต ต้ นทุนผลผลิต ความจาเป็ นในการใช้ จ่าย
3. งบลงทุน ประมาณการรายจ่ ายต่ อเนื่องของการจัดหา
ครุภณ
ั ฑ์ ทีด่ นิ และสิ่ งก่ อสร้ าง ในปี ทีข่ ออนุมตั เิ ท่ านั้น
4. งบรายจ่ ายส่ วนกลาง เป็ นประมาณการรายจ่ ายทีเ่ กิดขึน้
ในปี ทีข่ ออนุมตั ิ
39
การจัดเก็บและนาส่ งเงินค่ าชลประทาน
ให้ ปฏิบัตติ ามขั้นตอน ดังนี้
1. เปิ ดบัญชีเงินฝากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
2. ทะเบียนผู้ใช้ นา้
3. ทะเบียนคุมปริมาตรนา้
4. จัดทาใบแจ้ งปริมาตรนา้
5. รับชาระค่ าชลประทานและนาเข้ าระบบ GFMIS
6. รายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อ
7. การนาส่ งค่ าชลประทานฝากคลังและนาส่ งระบบ GFMIS
8. การยื่นแบบแสดงรายการชาระภาษี ภ.พ.30
40
1. เปิ ดบัญชีเงินฝากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
ให้ โครงการที่มีการจัดเก็บค่ าชลประทานเปิ ดบัญชีธนาคาร
- ประเภทออมทรัพย์ 1 บัญชี
- ประเภทกระแสรายวัน 1 บัญชี
ชื่ อบัญชี“เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน โครงการ.... ”
ตามหนังสื อกระทรวงการคลังที่ กค. 0526.9/7841
ลงวันที่ 5 เมษายน 2543
41
2. ทะเบียนผู้ใช้ นา้
ให้ โครงการจัดทาทะเบียนผู้ใช้ นา้
เพื่อเป็ นการควบคุมและตรวจสอบ
จานวนผู้ขออนุญาตใช้ นา้
42
3. ทะเบียนคุมปริมาตรนา้
- จัดทาทะเบียนคุมปริมาตรนา้ เป็ นรายบุคคล
เพื่อตรวจสอบการจดตัวเลขปริมาตรนา้
ให้ ต่อเนื่องกันทุกเดือน
- ให้ จดมาตรวัดนา้ ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
ตามระเบียบคณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อการชลประทาน พ.ศ. 2547 ข้ อ 25
43
4. จัดทาใบแจ้ งปริมาตรนา้
- จัดทาใบแจ้ งปริมาตรนา้ ภายใน 3 วัน ทาการนับ
จากวันที่ไปจดมาตรวัดนา้
- ตามระเบียบคณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อการชลประทาน พ.ศ.2547 ข้ อ 26
44
45
5. รับชาระค่ าชลประทาน
- ผู้รับเงินต้ องขอหลักฐานใบแจ้ งปริมาตรนา้
จากผู้ชาระค่ าชลประทานทุกครั้ง
- ต้ องออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกากับภาษี ตามชื่ อ
ผู้ชาระค่ าชลประทานในใบแจ้ งปริมาตรนา้
46
10/1 ตาบลหนองตาแต้ม อาเภอปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขนั ธ์
47
6. จัดทารายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อ
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 87 ให้ จัดทารายงานดังนี้
- รายงานภาษีขาย
จัดทาภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่ออกใบกากับภาษี
- รายงานภาษีซื้อ
จัดทาภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่ในใบกากับภาษี
48
6. จัดทารายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อ (ต่ อ)
- ให้ จัดทารายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อทุกเดือนไม่ ว่า
จะมีการจาหน่ ายค่ าชลประทานหรื อไม่
- ตามแบบในรายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อ คาว่ า
ประจาเดือน หมายถึง วัน เดือน ปี ของใบกากับภาษี
- ให้ จัดทารายงานเรียงตามลาดับวันทีข่ องใบกากับภาษี
- รายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อทีจ่ ัดทาไม่ ต้องนาส่ ง
สรรพากรให้ เก็บต้ นฉบับไว้ เพื่อให้ สรรพากรตรวจสอบ
49
7. การนาส่ งค่ าชลประทานฝากคลังระบบ GFMIS
รายรับของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานไม่ ต้อง
ส่ งเป็ นรายได้ ของแผ่ นดินแต่ นาส่ งเข้ าบัญชีเงินฝากคลังของ
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานทีก่ รมบัญชีกลาง โดย
ปฏิบัติตามวิธีการโอนขายบิลในระบบ GFMIS
จานวนเงินทีไ่ ด้ รับให้ บันทึกข้ อมูลการรับเงินในระบบ
GFMIS ภายในวันที่ได้ รับเงิน
50
8. การยื่นแบบแสดงรายการชาระภาษี ภ.พ.30
ตามประมวลรัษฎากรกร มาตรา 83 ให้ ปฏิบัติ ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
ให้ จัดทารายงานภาษีซื้อภาษีขายภายใน 3 วันทาการนับแต่ วนั ที่ได้
จาหน่ าย หรื อได้ รับสิ นค้ าหรื อบริการ
ให้ ใช้ ยอดเงินรวมจากรายงานภาษีขายไปกรอกในแบบ ภ.พ.30
ให้ หัวหน้ าโครงการเป็ นผู้ลงนามในแบบ ภ.พ.30 ตามคาสั่ งกรม
ชลประทานที่ ข 1631/1/2542 ลว.29 ธ.ค.2542
ให้ ยื่นชาระต่ อสรรพากรเขต ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
กรณีเดือนใดที่ไม่ มีการรับค่ าชลประทานจะต้ องยื่นแบบภ.พ.30
เป็ นศูนย์
51
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน
ว่ าด้ วยวินัยทางงบประมาณ
และการคลัง พ.ศ.2544
52
หมวดที่ 1 บททั่วไป
หมวดที่ 2 ความผิดวินัยทางงบประมาณ
และการคลัง
53
องค์ ประกอบความผิดที่ต้องรับ
โทษปรับทางปกครอง
ปฏิบัติ หรื อละเว้ นการปฏิบัติหน้ าที่
โดยมิชอบ หรื อกระทาโดยปราศจากอานาจ
หรื อนอกเหนืออานาจ อันเป็ นการฝ่ าฝื น
มาตรการเกีย่ วกับการควบคุมการเงินของรัฐ
54
โทษปรับทางปกครอง
หมายถึง โทษปรับโดยการหักเงินเดือนหรื อค่ าจ้ าง
มีอตั ราโทษปรับ 4 ชั้น
โทษชั้นที่ 1 ปรับไม่ เกินเงินเดือน 1 เดือน
โทษชั้นที่ 2 ปรับเท่ ากับเงินเดือน 2 - 4 เดือน
โทษชั้นที่ 3 ปรับเท่ ากับเงินเดือน 5 - 8 เดือน
โทษชั้นที่ 4 ปรับเท่ ากับเงินเดือน 9 - 12 เดือน
55
ผู้ฝ่าฝื นมาตรการเกีย่ วกับการควบคุม
การเงินของรัฐ และต้ องรับโทษปรับ
ทางปกครอง ได้ แก่
1. เจ้ าหน้ าทีผ่ ู้รับผิดชอบ
2. ผู้บังคับบัญชา ผู้มีอานาจอนุมัติ อนุญาต รับรอง
ให้ ความเห็นชอบ ทั้งนีใ้ ห้ หมายความรวมถึงผู้มอี านาจ หรื อ
ผู้ได้ รับมอบอานาจตามกฎหมายหรื อระเบียบด้ วย
56
ผู้บังคับบัญชาจะต้ องรับโทษ
ทางปกครองสูงกว่ าเจ้ าหน้ าที่ 1 ชั้นเสมอ
57
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 4
(ปรับเท่ ากับเงินเดือนตั้งแต่ 9 - 12 เดือน)
ความผิดเกีย่ วกับพัสดุ เช่ น
แบ่ งแยกวงเงินจัดซื้อจัดจ้ าง
กาหนดราคากลาง กาหนด
คุณสมบัตผิ ู้เข้ าเสนอราคา ซึ่งมีผลกีดกันหรื อเอือ้
ประโยชน์ แก่ผู้ขายหรื อผู้รับจ้ างรายใดรายหนึ่ง
58
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 4
ความผิดอื่น ผู้บังคับบัญชาผู้ใด
บริหารการเงินและการคลังด้ วยความเสี่ ยงต่ อความ
เสี ยหายหรื อประโยชน์ ที่พงึ คาดหมายได้ โดย
ปราศจากเหตุผลอันสมควร
59
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 3
(ปรับเท่ ากับเงินเดือนตั้งแต่ 5 - 8 เดือน)
ความผิดเกีย่ วกับการเบิก-จ่ ายเงิน
เช่ น ทาหลักฐานการเบิกเงินเป็ นเท็จ
ความผิดเกีย่ วกับเงินยืม เช่ น อนุมัติ
ให้ ยืมหรื อจ่ ายเงินยืมไม่ ถูกต้ อง
60
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 3
ความผิดเกีย่ วกับการบริหารงบประมาณ
และก่อหนีผ้ ูกพัน เช่ น ละเลยไม่ เร่ งรัดจัดการหรื อ
ดาเนินการตามแผน งานหรื อโครงการ
ให้ แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้
61
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 3
ความผิดเกีย่ วกับพัสดุ รับพิจารณาผู้
เสนอราคาทีป่ ฏิบัตไิ ม่ ถูกต้ องตามเงื่อนไข
ความผิดอื่น เช่ น ใช้ จ่ายเงินงบประมาณ
ผิดวัตถุประสงค์ ทตี่ ้งั ไว้
62
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 2 (ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 2 - 4 เดือน)
ความผิดเกีย่ วกับการจัดเก็บรายได้ เช่ น
คานวณภาษีอากร ค่ าธรรมเนียม หรื อรายได้ อื่น ไม่
ถูกต้ อง
ความผิดเกีย่ วกับพัสดุ เช่ น เบิกจ่ ายพัสดุ
จัดทาบัญชี หรื อทะเบียนพัสดุไม่ ถูกต้ องตามกฎหมาย
63
หรื อระเบียบ
โทษปรับทางปกครองขั้นต้ น ทีผ่ ู้เกีย่ วข้ อง
ต้ องรับผิดตามลักษณะความผิด ดังนี้
โทษชั้นที่ 1
(ปรับไม่ เกินเงินเดือน 1 เดือน)
ความผิดเกีย่ วกับการรับ-เก็บรักษา
นาส่ งเงิน เช่ น รับมอบเงินเพื่อเก็บรักษา แต่ ไม่
นาเข้ าฝากธนาคารหรื อสถานที่เก็บรักษา
64
ห ัวข้อ กฎหมาย ระเบียบและแนวทางปฏิบ ัติทเี่ กีย
่ วก ับ
เงินทุนหมุนเวียนเพือ
่ การชลประทาน
โครงการ
ภายหล ังขอออก
กฎกระทรวง
ตาม ม.8
ถ้าไม่จา
่ ย
ภายใน 7 ว ัน
ตงแต่
ั้
ท ี่
ได้ร ับใบแจ้ง
ปริมาตรนา้
้ า้ ขอ
ผูใ้ ชน
้ า้
อนุญาตใชน
้ า้ ต้องชาระ
ผูใ้ ชน
้ า้ ภายใน
ค่าใชน
7 ว ัน น ับจากร ับ
ใบแจ้งปริมาตร
นา้
โครงการต้องมี
ื เร่งเตือน
หน ังสอ
โครงการได้ร ับเงินค่านา้
1. จ ัดทารายงานภาษีขาย ภายใน 3 ว ัน น ับจากว ันที่
ออกใบกาก ับภาษี
ื้ ภายใน 3 ว ัน น ับจากว ันที่
2. จ ัดทารายงานภาษีซอ
ได้ร ับใบกาก ับภาษี
3. ต้องยืน
่ แบบ ภพ 30 ทีส
่ รรพากรเขต ภายในว ันที่
15 ของเดือนถ ัดไป ถ้าไม่ทาภายในกาหนดต้อง
ี ค่าปร ับ 1.5 เท่า
เสย
โครงการอนุญาต
ไม่เกิน 5 ปี /ครงั้
้ า้ ต้อง
ผูข
้ อใชน
ติดตงมิ
ั้ เตอร์
ภายใน 30 ว ัน
โครงการออกใบแจ้ง
ปริมาตรนา้ หล ังจด
มิเตอร์ภายใน 3 ว ัน
ทาการ
โครงการจด
ปริมาตรนา้ ไม่
เกินว ันที่ 5 ของ
เดือนถ ัดไป
ครบกาหนดชาระ
โครงการต้องคิด
้ ผิดน ัด
ดอกเบีย
ร้อยละ 7.5
เงินรายได้
ฝากธนาคารเงินทุนหมุนเวียน
ื่ บ ัญช ี
เพือ
่ การชลประทาน ชอ
“เงินทุนหมุนเวียนเพือ
่ การ
ชลประทานโครงการ...”
สวัสดีค่ะ