กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานส่ วนแพ่ ง (ป.วิ.พ. มาตรา 84 -130) พงษ์ รัตน์ เครือกลิน่ 2/2557 ข้ อห้ ามสื บพยานบุคคลแทนเอกสาร ป.วิ.พ.มาตรา 94 “เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยาน เอกสารมาแสดง ห้ ามมิให้ ศาลยอมรั บฟังพยานบุคคลใน กรณีอย่

Download Report

Transcript กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานส่ วนแพ่ ง (ป.วิ.พ. มาตรา 84 -130) พงษ์ รัตน์ เครือกลิน่ 2/2557 ข้ อห้ ามสื บพยานบุคคลแทนเอกสาร ป.วิ.พ.มาตรา 94 “เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยาน เอกสารมาแสดง ห้ ามมิให้ ศาลยอมรั บฟังพยานบุคคลใน กรณีอย่

กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานส่ วนแพ่ ง
(ป.วิ.พ. มาตรา 84 -130)
พงษ์ รัตน์ เครือกลิน่ 2/2557
ข้ อห้ ามสื บพยานบุคคลแทนเอกสาร
ป.วิ.พ.มาตรา 94 “เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยาน
เอกสารมาแสดง ห้ ามมิให้ ศาลยอมรั บฟังพยานบุคคลใน
กรณีอย่ างหนึ่งอย่ างใดดังต่ อไปนี้ แม้ ถงึ ว่ าค่ คู วามอีกฝ่ าย
จะยินยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไม่ สามารถ
นาเอกสารมาแสดง
(ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ ออ้ างอย่ างใดอย่ างหนึ่ง
เมื่อได้ นาเอกสารมาแสดงแล้ วว่ ายังมีข้อความเพิม่ เติมหรื อ
ตัดทอนหรื อเปลี่ยนแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสารนั้นอย่ อู ีก”
 กรณีไม่ มีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีเอกสารมาแสดง
ไม่ อยู่ ในบังคับ ป.วิ.พ. มาตรา 94 เช่ น
สั ญญาจ้ างรักษาโรค(ฎีกา 415/2491)
จานา(ฎีกา 1729/2512)
เล่ นแชร์ เปี ยหวย(ฎีกา 284/2516)
สั ญญาจ้ างเหมาก่ อสร้ างอาคาร(ฎีกา 6866/2552)
การรับช่ วงสิ ทธิ(ฎีกา 2464/2524)
การรับเงินมัดจา(ฎีกา 1282/2513)
การมอบทีด่ นิ ให้ ทากินต่ างดอกเบีย้ เงินกู้ (ฎีกา 1261-1262/2518)
สั ญญาต่ างตอบแทนพิเศษยิง่ กว่ าสั ญญาเช่ า(ฎีกา 2582/2535)
การรับสภาพหนี(้ ฎีกา 666/2541)
การนาสื บเพือ่ พิสูจน์ ว่าทีพ่ พิ าทเป็ นของผู้ใด
การออกเอกสารสิ ทธิที่พพิ าทชอบหรือไม่ (ฎีกา 944/2546)
การบอกเลิกสั ญญาจ้ างแรงงาน(ฎีกา 7389/2548)
คาขอเอาประกันชีวติ (ฎีกา 4457/2536)
การฟ้องเรียกทรัพย์ มรดก(ฎีกา 1395/2544)
การนาสื บชาระดอกเบีย้ ตามสั ญญากู้(ฎีกา 1401/2525)
ข้ อตกลงเกีย่ วกับดอกผลทรัพย์ ที่ขายฝาก(ฎีกา 656/2517)
บันทึกถ้ อยคาในการรังวัดสอบเขต ไม่ ใช่ เอกสารทีก่ ฎหมาย
บังคับให้ ต้องมีมาแสดง
ฎีกา 2596-2597/2546 บันทึกถ้ อยคาของ ร. และ พ. ที่ให้ แก่
พนักงานเจ้ าหน้ าทีใ่ นการรังวัดออกโฉนดของจาเลย ระบุว่า ร.
ยกทีด่ นิ ให้ จาเลยผู้เดียว เป็ นเพียงเอกสารทีเ่ จ้ าพนักงานทาขึน้
เพือ่ เป็ นหลักฐานและความสะดวกในการรังวัดออกโฉนดที่ดนิ
มิใช่ นิติกรรมทีก่ ฎหมายบังคับให้ ต้องมีเอกสารมาแสดง ไม่ อย่ ู
ในบังคับ ป.วิ.พ. มาตรา 94 ทีห่ ้ ามนาพยานบุคคลมาสื บ
เปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสาร
แบบแจ้ งการครอบครอง(ส.ค.1)ไม่ ใช่ เอกสารที่กฎหมาย
บังคับให้ ต้องมีมาแสดง
ฎีกา 8436/2554 แบบแจ้ งการครอบครองทีด่ นิ (ส.ค.1)เป็ น
เพียงหลักฐานทีผ่ ้ ูแจ้ งได้ แจ้ งการครอบครองทีด่ นิ ไว้ ตาม
จานวนเนือ้ ทีท่ ี่แจ้ ง ไม่ ก่อสิ ทธิให้ ต้องฟังข้ อเท็จจริงยุตติ าม
ที่แจ้ ง แบบแจ้ งการครอบครอง(ส.ค.1)ไม่ ใช่ เอกสารทีก่ ฎหมาย
บังคับให้ ต้องมีมาแสดง ไม่ อยู่ในบังคับ ป.วิ.พ. มาตรา 94
คู่ความมีสิทธินาสื บแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อความในเอกสารได้
ปัญหาว่ าทีด่ นิ เป็ นของผู้ใด ไม่ มีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยาน
เอกสารมาแสดง
ฎีกา 9765/2552 ปัญหาว่ าทีด่ นิ เป็ นของผู้ใด ไม่ มีกฎหมาย
บังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง โจทก์ จงึ สามารถนาสื บ
ได้ ว่าโจทก์ เป็ นผู้มีสิทธิครอบครองในทีด่ นิ และสื บเปลีย่ นแปลง
แก้ ไขข้ อความในเอกสารทะเบียนการครอบครองทีด่ นิ ได้
(เอกสารทะเบียนการครอบครองทีด่ นิ เป็ นเพียงคารับรองจาก
พนักงานเจ้ าหน้ าทีว่ ่ า ขณะแจ้ งการครอบครอง ผู้แจ้ งอ้ างว่ า
ที่ดนิ เป็ นของตนและทีด่ นิ พิพาทได้ ทาประโยชน์ แล้ ว ไม่ ก่อให้
เกิดสิ ทธิในทีด่ นิ )
ฎีกา 10641/2555 การนาสื บว่ าทีด่ นิ เป็ นของผู้ใด ไม่ มี
กฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง อีกทั้งการ
นาสื บว่ าผู้มีชื่อในเอกสารสิ ทธิของทีด่ นิ มีชื่อแทนเจ้ าของ
ที่แท้ จริง มิใช่ เป็ นการนาสื บเพิม่ เติม ตัดทอน หรือแก้ ไข
ข้ อความในเอกสาร โจทก์ จงึ นาพยานบุคคลมาสื บว่ า
จาเลยเป็ นผู้มีชื่อถือกรรมสิ ทธิ์ทดี่ นิ พิพาทแทนโจทก์ ได้
ไม่ ต้องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94(ข)
ปัญหาที่ดนิ เป็ นที่สาธารณประโยชน์ หรือไม่ ไม่ มีกฎหมาย
บังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
ฎีกา 9176/2552 ประเด็นข้ อพิพาทที่ว่าที่ดนิ พิพาทเป็ นที่
สาธารณประโยชน์ หรือไม่ มิใช่ กรณีที่มีกฎหมายบังคับให้
ต้ อง มีพยานเอกสารมาแสดง อันจะต้ องห้ ามมิให้ นาพยาน
บุคคลมาสื บแทนพยานเอกสารซึ่งเป็ นระวางรู ปแผนทีท่ าง
อากาศตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
การฟ้องเพือ่ ถอนคืนการให้ ไม่ มีกฎหมายบังคับให้ ต้องมี
พยานเอกสารมาแสดง
ฎีกา 4475/2551 โจทก์ ฟ้องขอถอนคืนการให้ เพราะเหตุจาเลย
ประพฤติเนรคุณ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 535 (2) แม้ หนังสื อ
สั ญญาให้ ทดี่ นิ ระบุว่า เป็ นการให้ โดยเสน่ หาไม่ มีค่าตอบแทน
จาเลยก็มีสิทธินาสื บพยานบุคคลให้ เห็นว่ า เป็ นการให้ สิ่งที่มี
ค่ าภาระติดพันได้ เพราะเป็ นการฟ้ องถอนคืนการให้ ไม่ ใช่
ฟ้องร้ องให้ บังคับหรือไม่ บังคับตามสั ญญาให้ จึงไม่ ใช่ เป็ น
การนาสื บแก้ ไขเปลีย่ นแปลงเอกสาร ไม่ ต้องห้ ามตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 94 (ข)
จ้างทาของไม่ มีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
ฎีกา 1354/2554 จาเลยจ้ างโจทก์ ผลิตกล่ องกระดาษ มีลกั ษณะ
เป็ นสัญญาจ้ างทาของ แม้ ใบสั่ งซื้อสิ นค้ าจะมีเพียงลายมือชื่อ
ของ ป.กรรมการของจาเลยคนหนึ่ง แต่ ไม่ มีตราประทับของ
จาเลยในฐานะผู้ว่าจ้ าง ก็ใช้ เป็ นพยานหลักฐานประกอบพยาน
บุคคลของโจทก์ เพือ่ พิจารณาว่ า จาเลยได้ ว่าจ้ างโจทก์ กระทา
การดังกล่ าวหรือไม่
ผู้รับประกันภัยซึ่งรับช่ วงสิ ทธิจากผู้เอาประกันภัยฟ้องผู้ทา
ละเมิด ไม่ มีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
ฎีกา 8266/2554 แม้ ป.พ.พ. มาตรา 867 บัญญัตใิ ห้ การฟ้ องร้ อง
ตามสั ญญาประกันภัยจะต้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อลงลายมือ
ชื่อฝ่ ายทีต่ ้ องรับผิด แต่ การทีโ่ จทก์ ในฐานะผู้รับประกันภัย
รถยนต์ ของผู้เอาประกันภัยทีจ่ าเลยที่ 1 ทาละเมิดและจาเลยที่ 2
ต้ องร่ วมรับผิดในมูลละเมิด รับช่ วงสิ ทธิของผู้เอาประกันภัย
ฟ้องคดี มิใช่ ฟ้องบังคับคดีตามสั ญญาประกันภัย จึงไม่ อยู่ใน
มาตรา 867 ไม่ ตกอยู่ในบังคับ ป.วิ.พ. มาตรา 94
กรณีสัญญาจะซื้อขายหรือคามั่นตามสั ญญาซื้อขาย
อสั งหาริมทรัพย์ และสั ญญาซื้อขายสั งหาริมทรัพย์ มีราคา
2,000 บาทหรือกว่ านั้น ป.พ.พ.มาตรา 456 กาหนดว่ าจะต้ อง
มีหลักฐานอย่ างหนึ่งอย่ างใดเป็ นหนังสื อลงลายมือชื่อฝ่ ายที่
ต้ องรับผิด มีการวางมัดจา หรือชาระหนีบ้ างส่ วน จึงจะฟ้อง
คดีได้
ก. หากคู่สัญญาเลือกทีจ่ ะวางมัดจาหรือชาระหนีบ้ างส่ วน
จะไม่ อยู่ในบังคับของ ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 935/2541 สั ญญาจะซื้อขายทีด่ นิ ที่มีการวางเงินมัดจา
บางส่ วน ไม่ จาต้ องใช้ เอกสารเป็ นหลักฐาน ไม่ อย่ ใู นบังคับของ
ป.วิ.พ. มาตรา 94 จึงรับฟังพยานบุคคลแทนพยานเอกสารได้
ฎีกา 220/2509 ผู้จะซื้อชาระเงินค่ าทีด่ นิ ให้ แก่ ผู้จะขายบางส่ วน
สั ญญาจะซื้อขายทีด่ นิ สมบูรณ์ ในแบบทีไ่ ด้ มีการชาระหนี้
บางส่ วนแล้ ว ไม่ จาเป็ นต้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อก็ฟ้องคดีได้
โจทก์ มีสิทธินาสื บพยานบุคคลถึงข้ อตกลงในการขายทีด่ นิ นีไ้ ด้
ไม่ ต้องห้ ามตาม ป.วิ.พ มาตรา 94 (ดู ฎีกา 2045/2537 ฎีกา
3390-3391/2538 ฎีกา 7053/2540 และ ฎีกา 4996-4997/2542)
หากเลือกวิธีวางมัดจาหรือชาระหนีบ้ างส่ วนแล้ ว แม้ ต่อมา
มีการทาสั ญญาจะซื้อจะขายในภายหลังอีก ก็ไม่ อยู่ในบังคับ
ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 3945/2535 โจทก์ ซื้อห้ องชุดจากจาเลยที่ 1 โดยวางมัดจา
ไว้ 10,000 บาท เป็ นกรณีทาสั ญญาจะซื้อจะขายอสั งหา ฯ
โดยมีการวางมัดจาแล้ ว ไม่ จาต้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อก็
ฟ้องร้ องได้ ไม่ ใช่ กรณีที่กฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสาร
มาแสดง แม้ ต่อมามีการทาสัญญาจะซื้อจะขายเป็ นหนังสือ
โจทก์ นาสื บพยานบุคคลว่ าตกลงแตกต่ างจากทีส่ ั ญญาระบุไว้
ได้ ไม่ ต้องห้ าม ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ดูฎกี า 935/2541)
ฎีกา 8163/2554 โจทก์ ตกลงซื้อบ้ านและที่ดนิ จากจาเลยตาม
โฆษณาโดยมีการวางมัดจา จากนั้นจึงทาสั ญญาจะซื้อขาย
แสดงว่ าเจตนาผูกพันตามสั ญญาจะซื้อขายด้ วยวิธีวางมัดจา
สั ญญาเกิดขึน้ นับแต่ วางมัดจา กรณีไม่ ตกอยู่ในบังคับ ป.วิ.พ.
มาตรา 94 ศาลมีอานาจรั บฟังพยานบุคคลที่โจทก์ นาสื บว่ า
จาเลยตกลงหาสถาบันการเงินให้ โจทก์ ก้ โู ดยมีระยะเวลาผ่ อน
นาน 15 ปี ได้ เมื่อธนาคารไม่ ให้ ผ่อนชาระนาน 15 ปี ทาให้
โจทก์ ไม่ สามารถรับโอนบ้ านและทีด่ นิ จาเลยจะอ้ างว่ าโจทก์
ผิดสั ญญาและริบเงินที่โจทก์ ชาระไว้ ท้งั หมดไม่ ได้
ข. หากคู่สัญญาเลือกทีท่ าหลักฐานอย่ างหนึ่งอย่ างใดเป็ น
หนังสื อ จะตกอยู่ในบังคับของ ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 2225/2540 สัญญาจะซื้อขายที่ดนิ พิพาท ระบุว่าโจทก์
วางมัดจาให้ จาเลย 389,000 บาท จาเลยได้ รับเงินมัดจาไว้
ถูกต้ องแล้ ว จาเลยจึงไม่ อาจนาพยานบุคคลมาสื บเปลีย่ น
แปลงแก้ ไขข้ อความในหนังสื อสั ญญาจะซื้อขายว่ า โจทก์ ไม่ ได้
วางมัดจาเงินจานวนดังกล่ าวและจาเลยไม่ ได้ รับเงินมัดจานั้น
เพราะเป็ นการนาสื บเปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสารซึ่ง
ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 2216/2515 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยรับผิดตามสั ญญาจะขาย
ที่ดนิ เรียกเงินมัดจาคืน จาเลยให้ การว่ าโจทก์ ผดิ สั ญญาและ
ไม่ เคยรับเงินมัดจา ปัญหาว่ าจาเลยจะนาสื บพยานบุคคลว่ า
ไม่ ได้ รับเงินมัดจาได้ หรือไม่ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่ าสั ญญาจะซื้อ
ขายอสั งหาริมทรัพย์ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสองให้
เลือกทาได้ 3 ประการ ถ้ าคู่สัญญาเลือกทาหลักฐานเป็ นหนังสื อ
ก็ต้องบังคับด้ วยมาตรา 94 แต่ ถ้าเลือกวางมัดจาหรือชาระหนี้
บางส่ วนก็ไม่ อยู่ในบังคับ คดีนีโ้ จทก์ จาเลยเลือกทาหลักฐานเป็ น
หนังสือ กรณีต้องด้ วยมาตรา 94 เมื่อหนังสื อระบุว่าได้ รับเงิน
มัดจาถูกต้ องแล้ ว จาเลยจะนาสื บพยานบุคคลว่ ายังไม่ ได้ รับ
ไม่ ได้ .
หากคู่สัญญาเลือกทาสั ญญาจะซื้อขายเป็ นหนังสื อ แม้ มีการ
วางมัดจาในคราวเดียวกัน ถือว่ าเจตนาทาหลักฐานเป็ นหนังสื อ
ตกอยู่ในบังคับ ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 3088/2526 โจทก์ จาเลยทาสัญญาจะซื้อขายทีด่ นิ เป็ น
หนังสือ แม้ มีการวางมัดจาด้ วย การวางมัดจาเป็ นเพียงข้ อสั ญญา
ข้ อหนึ่งเท่ านั้น หาใช่ ทาสั ญญากันด้ วยการวางมัดจาไม่ การที่
โจทก์ นาสื บพยานบุคคลว่ า ยังมีข้อตกลงเพิม่ เติมให้ จาเลยรื้อ
ถอนบ้ านหรือไถ่ ถอนจานองก่ อนโอนกรรมสิ ทธิ์ เป็ นข้ อความ
เพิม่ เติมจากสั ญญา ต้ องห้ ามมิให้ รับฟัง (ดู ฎีกา 1545/2492
ฎีกา 667/2537 และฎีกา 6718/2540)
เมื่อกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
ก. ห้ ามศาลยอมรับฟังพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร หมายถึง
มีพยานเอกสาร แต่ ไม่ ยอมนาสื บ จะนาสื บพยานบุคคลแทน
หากไม่ มีพยานเอกสารเลย นิติกรรมจะเป็ นโมฆะหรือฟ้องร้ อง
บังคับคดีไม่ ได้
ฎีกา 203/2546 เมื่อหลักฐานการกู้ยมื เงินเกิดสู ญหาย ผู้ให้ ก้ ู
ย่ อมนาสาเนาหรือพยานบุคคลมานาสื บได้ กรณีมิใช่ เรื่องที่
การกู้ยมื เงินไม่ เคยมีหลักฐานเป็ นหนังสื อเลย อันจะเป็ นการ
ฝ่ าฝื นตามป.พ.พ. มาตรา 653 ประกอบมาตรา 94(ก)
ข. ห้ ามนาสื บพยานบุคคลเพือ่ เพิม่ เติม ตัดทอนหรือ
เปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสาร
ฎีกา 1510/2552 ขายฝากที่ดนิ เป็ นกรณีที่กฎหมายบังคับให้
ต้ องมีพยานเอกสารมาแสดง การฟังพยานหลักฐานต้ อง
ตกอยู่ในบังคับของ ป.วิ.พ. มาตรา 94 วรรคหนึ่ง(ข) คือ
ห้ ามมิให้ ศาลรับฟังพยานบุคคล ในกรณีขอสื บพยานบุคคล
เปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสารนั้น เมื่อตามหนังสื อ
สั ญญาขายฝากทีด่ นิ ระบุว่าผู้ขายฝากได้ รับเงินจากผ้ ซู ื้อฝาก
ครบถ้วนแล้ ว การนาพยานบุคคลมาสื บว่ ายังได้ รับเงินไม่
ครบ ย่ อมต้ องห้ ามตามบทบัญญัติดงั กล่ าว
ฎีกา 8591/2547 สั ญญาเมื่อสัญญาขายฝากระบุราคาขายฝาก
ไว้ 310,000 บาท กรณีจาเลยอ้ างตนเองและบุคคลอืน่ มาสื บ เพือ่
แสดงถึงราคาขายฝากที่แท้ จริงว่ ามีราคาเพียง 200,000 บาทนั้น
เป็ นการนาพยานบุคคลมาสื บประกอบข้ ออ้างเปลีย่ นแปลง
แก้ ไขข้ อความในเอกสารสั ญญาขายฝาก ต้ องห้ ามมิให้ รับฟัง
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข) จึงต้ องฟังว่ าคู่สัญญากาหนดสิ นไถ่
ไว้ เป็ นเงิน 310,000 บาท แต่ จาเลยขอไถ่ ในราคา 230,000 บาท
อันเป็ นการขอปฏิบัตกิ ารชาระหนีไ้ ม่ ถูกต้ องตามมูลหนีใ้ น
สั ญญาขายฝาก โจทก์ ย่อมมีสิทธิบอกปัดไม่ ชาระหนีไ้ ด้ .
กรณีสัญญากู้ยมื เงิน
ฎีกา 1926/2525 สัญญาก้ ไู ม่ มีข้อความระบุเวลาชาระหนี้
จึงตกอยู่ในบังคับ ป.พ.พ. มาตรา 204 โจทก์ มีสิทธิเรียกให้
ชาระหนีเ้ มื่อใดก็ได้ การทีจ่ าเลยนาสื บว่ ามีข้อตกลงให้ จาเลย
ผ่ อนชาระเป็ นงวดๆ จึงต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94(ข)
ฎีกา 6169/2547 สัญญาจานองซึ่งระบุให้ เป็ นหลักฐานการ
กู้ยมื เงินและบันทึกข้ อตกลงขึน้ จานองระบุว่า จาเลยตกลง
เสี ยดอกเบี้ยร้ อยละ 15 ต่ อปี การที่จาเลยนาสื บพยานบุคคล
ว่ าตกลงคิดดอกเบีย้ อัตราร้ อยละ 2.5 ต่ อเดือน ต้ องห้ ามตาม
ป.วิ.พ.มาตรา 94(ข)
ฎีกา 1680/2546 สัญญาก้ ยู มื เงินมีข้อความผู้ก้ ยู อมเสี ยดอกเบี้ย
อัตราร้ อยละ 19 ต่ อปี กาหนดส่ งเป็ นรายเดือนทุกเดือน โจทก์
จะนาสื บว่ าอัตราดอกเบีย้ ร้ อยละ 19 ต่ อปี เป็ นอัตราสู งสุ ดทีโ่ จทก์
กาหนดตามประกาศธนาคารแห่ งประเทศไทยเท่ านั้น แต่ ตกลง
ดอกเบีย้ ขณะทาสั ญญาไม่ ถึงร้ อยละ 19 ต่ อปี เป็ นการนาสื บ
พยานบุคคลแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อความในเอกสารในกรณี ที่
ต้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อ จึงต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
(ข)
ฎีกา 7319/2551 สัญญาจานองซึ่งใช้ เป็ นหลักฐานการกู้ยมื เงิน
มีข้อความระบุว่า ผู้รับจานองได้ รับเงินเป็ นการเสร็ จแล้ ว ดังนั้น
การทีจ่ าเลยนาพยานบุคคลมาสื บว่ า จาเลยไม่ ได้ เป็ นผู้ก้ เู งินและ
รับเงินไปจากโจทก์ แต่ บริษทั ส. จากัด และนาย พ. ผู้ถอื หุ้นใน
บริษทั เป็ นผู้รับเงิน เป็ นการนาสื บแตกต่ างจากข้ อความทีร่ ะบุ
ในสั ญญา อันเป็ นการนาพยานบุคคลแก้ ไขเปลีย่ นแปลง
ข้ อความในเอกสารในกรณีที่ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อ จึง
ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
ฎีกา 145/2553 คาฟ้องอ้ างว่ าจาเลยก้ เู งินโจทก์ 480,000 บาท
จะต้ องมีหลักฐานแห่ งการกู้ยมื เป็ นหนังสื ออย่ างใดอย่ างหนึ่ง
ลงลายมือชื่อผู้ยมื เป็ นสาคัญ การกู้ยมื จึงตกอยู่ในบังคับของ
ป.วิ.พ. มาตรา 94(ข) ทีโ่ จทก์ อ้างว่ าตามหนังสื อสั ญญากู้ยมื เงิน
ทีร่ ะบุว่าทาทีเ่ ขตกรุงเทพมหานครเป็ นเท็จ ความจริงแล้ วทา
ทีส่ านักงานของโจทก์ ซึ่งอยู่ในเขตอานาจของศาลชั้นต้ น จึง
เป็ นการกล่ าวอ้ างที่ไม่ อาจนาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ ไขข้ อความ
ตามสั ญญากู้ยมื เงินในส่ วนทีร่ ะบุถงึ มูลคดีทเี่ กิดขึน้ .
กรณีสัญญาซื้อขายอสั งหาริมทรัพย์
ฎีกา 2086/2536 สั ญญาซื้อขายทีด่ นิ ระบุว่าจาเลยที่ 1 กระทา
ในฐานะกรรมการผ้ จู ดั การของจาเลยที่ 2 โจทก์ จะนาสื บ
พยานบุคคลว่ าจาเลยที่ 1 กระทาในฐานะส่ วนตัวไม่ ได้ .
ฎีกา 640/2555 สั ญญาซื้อขายทีด่ นิ มีข้อความระบุว่า โจทก์
ทั้งสองได้ ชาระราคาและจาเลยทั้งสองได้ รับเงินค่ าที่ดนิ
พร้ อมสิ่ งปลูกสร้ างทีซ่ ื้อขายเรียบร้ อยแล้ ว ก็ต้องฟังยุติ
ตามนั้น การทีจ่ าเลยทั้งสองนาพยานบุคคลมาสื บว่ า ยังไม่ ได้
รับชาระค่ าที่ดนิ ครบถ้ วน เป็ นการนาสื บเปลีย่ นแปลงแก้ ไข
ข้ อความในเอกสาร ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
ฎีกา 962/2556 สั ญญาซื้อขายทีด่ นิ มีข้อความระบุว่า
“ขายทีด่ นิ ไม่ มีสิ่งปลูกสร้ าง ผู้ซื้อซื้อไว้เพือ่ สร้ างที่เก็บของ
การซื้อขายทีด่ นิ ไม่ มีการทาสั ญญาจะซื้อจะขาย” การที่
จาเลยทั้งสองนาสื บพยานบุคคลว่ า เป็ นการซื้อขายที่ดนิ
พร้ อมอาคารพิพาทและมีการทาสั ญญาจะซื้อจะขายไว้ ด้วย
เป็ นการต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 วรรคหนึ่ง(ข)
กรณีสัญญาซื้อขายหรือจะซื้อจะขายอสั งหาริมทรั พย์
ฎีกา 29/2552 โจทก์ และจาเลยตกลงทาสั ญญาจะซื้อจะขาย
ทีด่ นิ ระบุว่าเป็ นที่ดนิ มีโฉนด การทีจ่ าเลยนาสื บพยาน
บุคคลว่ าตกลงจะซื้อจะขายทีด่ นิ ซึ่งมีเพียงหนังสื อรับรอง
การทาประโยชน์ (น.ส.3ก.) มิใช่ ที่ดนิ ซึ่งมีโฉนดที่ดนิ เป็ น
การนาสื บเพิม่ เติมเปลีย่ นแปลงแก้ ไขสาระสาคัญของสั ญญา
ต้ องห้ ามมิให้ นาสื บตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
ฎีกา 6005/2548 สัญญาจะซื้อจะขายทีด่ นิ ระบุราคาทีด่ นิ
จานวนเงินที่ชาระแล้ วและจานวนเงินส่ วนที่เหลือไว้ ชัดเจน
การที่จาเลยที่ 2 อ้ างว่ าที่ดนิ พิพาทราคาเพียงไร่ ละ 200,000 บาท
เท่ านั้น ราคาทีด่ นิ ทีร่ ะบุไว้ ในสั ญญาจะซื้อจะขายไร่ ละ
900,000 บาท ไม่ ใช่ ราคาทีแ่ ท้ จริง โจทก์ ท้งั สองไม่ มีสิทธิ
เรียกร้ องให้ จาเลยที่ 2 ชาระราคาที่ดนิ ที่เหลือเป็ นจานวนเงิน
ถึง 13,492,500 บาท เป็ นการอ้ างเปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความ
ในเอกสาร ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 วรรคแรก (ข) จึง
รับฟังไม่ ได้ .
ฎีกา 2154/2552 สัญญาจะซื้อจะขายทีด่ นิ มีข้อความว่ าโจทก์
รั บราคาไปจากจาเลยเสร็ จแล้ ว การรับฟังพยานหลักฐานของ
ศาลต้ องเป็ นไปตาม ป.วิ.พ มาตรา 94 (ข) โจทก์ จะนาพยาน
บุคคลมาสื บว่ า ความจริงแล้ วโจทก์ ได้ รับเงินค่ าทีด่ นิ เพียง
90,000 บาท เงินค่ าที่ดนิ ส่ วนที่เหลือให้ จาเลยไปชาระต่ อ
ธนาคาร เพือ่ ชาระหนีท้ ี่โจทก์ จานองที่ดนิ ดังกล่ าวไว้ แก่ ธนาคาร
ไม่ ได้ เพราะเป็ นการสื บพยานบุคคลเปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความ
ในเอกสารนั้น.
ฎีกา 8215/2550 สัญญาจะซื้อจะขายทีด่ นิ พร้ อมอาคาร มีเพียง
แผนผังแสดงที่ต้งั อาคารพาณิชย์ ที่โจทก์ ซื้อแนบท้ ายสั ญญา
ขณะทาสั ญญาไม่ มีแผ่ นพับโฆษณาหรือการโฆษณาเกีย่ วกับ
ร้ านเจ๊ เล้ ง โจทก์ นาสื บว่ า การขายที่ดนิ พร้ อมอาคารพิพาท
ระหว่ างจาเลยกับโจทก์ เป็ นการขายตามคาพรรณนา เมื่อใน
โครงการของจาเลยยังไม่ มีการก่ อสร้ างร้ านเจ๊ เล้ ง จาเลยจึงผิด
สั ญญา โจทก์ บอกเลิกสั ญญาได้ เป็ นการนาสื บพยานบุคคล
เพิม่ เติมข้ อความในเอกสาร ซึ่งต้ องห้ ามมิให้ ศาลรับฟังพยาน
บุคคลในกรณีดงั กล่าว ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
ฎีกา 7846/2543 สั ญญาจะซื้อจะขายไม่ ได้ ระบุว่า มีเงือ่ นไข
ให้ โจทก์ จาเลยบอกเลิกสัญญาแก่ กนั ได้ เมื่อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่
ยอมสมรส การทีจ่ าเลยนาสื บเงือ่ นไขระหว่ างโจทก์ จาเลย
เช่ นนั้น จึงเป็ นการนาสื บเพือ่ เพิม่ เติมตัดทอนหรือเปลีย่ น
แปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสาร ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา
94(ข).
กรณีสัญญาเช่ าอสั งหาริมทรัพย์
ฎีกา 2282/2527 หนังสือสัญญาเช่ ามีข้อความว่ าเช่ ากัน
1 ปี และห้ ามมิให้ เช่ าช่ วง ผู้เช่ าจะนาสื บพยานบุคคลว่ า
เป็ นที่เข้ าใจกันว่ าเช่ ากันไม่ มีกาหนดเวลาและให้ เช่ าช่ วง
ได้ น้ัน นาสื บไม่ ได้
ฎีกา 2402/2525 หนังสือสัญญาเช่ าที่ดนิ ระบุว่าเช่ าเพือ่
ปลูกบ้ านเรือนอาศัยมีกาหนด 1 ปี ผู้เช่ าจะนาสื บพยาน
บุคคลว่ าผู้ให้ เช่ าตกลงจะให้ อยู่ในทีด่ นิ ทีเ่ ช่ าไปจนตลอด
ชีวติ หาได้ ไม่
ฎีกา 6988/2551 สัญญาเช่ าอสังหาริ มทรั พย์ เป็ นกรณี
ที่กฎหมายบังคับว่ าต้ องมีพยานเอกสารมาแสดง เมื่อ
สั ญญาเช่ ามีข้อตกลงไม่ เรียกเงินประกันหรือมัดจาคืน
หากโจทก์ เลิกสั ญญาเช่ าก่ อนครบกาหนด การทีโ่ จทก์
นาสื บพยานบุคคลว่ า มีข้อตกลงว่ า เมื่อเลิกสั ญญาเช่ า
จาเลยต้ องคืนเงินประกันหรือมัดจาให้ โจทก์ เป็ นการ
นาสื บเปลีย่ นแปลงแก้ ไขเอกสาร จึงต้ องห้ ามตาม
ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข).
ฎีกา 5373/2552 สัญญาเช่ าที่ดนิ ระบุไว้ ชัดเจนว่ า ชาระค่ าเช่ า
ล่ วงหน้ าสาหรับการเช่ า 21 ปี เป็ นเงิน 8,000,000 บาท ซึ่ง
เป็ นการเช่ าอสั งหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา 538
ต้ องทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่
การทีโ่ จทก์ จะนาสื บว่ า โจทก์ มีเจตนาให้ เงิน 8,000,000 บาท
เป็ นเงินค่ าตอบแทนพิเศษหรือเงินกินเปล่ านั้น เป็ นการสื บ
แก้ ไขเปลีย่ นแปลงเอกสาร ซึ่งต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
วรรคแรก (ข) ดังนั้น จึงต้ องรับฟังตามสั ญญาเช่ าที่ดนิ ว่ าเงิน
จานวน 8,000,000 บาท ทีจ่ าเลยจ่ ายให้ โจทก์ ไปนั้น เป็ นการ
ชาระค่ าเช่ าล่ วงหน้ าสาหรับการเช่ าเป็ นเวลา 21 ปี
กรณีสัญญาเช่ าซื้อ
ฎีกา 336/2518 โจทก์ ฟ้องให้ รับผิดตามสัญญาเช่ าซื้อ
จาเลยที่ 1 จะนาสื บพยานบุคคลว่ า ขณะทาสั ญญาเช่ าซื้อ
มีข้อตกลงพิเศษว่ า หากจาเลยไม่ ได้ ดาเนินกิจการบรรทุก
นา้ มัน โจทก์ รับรถคืนพร้ อมกับริบเงินที่ชาระงวดแรก
โดยไม่ เรียกร้ องค่ าเสี ยหายใด ๆ เป็ นการนาสื บพยาน
บุคคลเพือ่ เปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในสั ญญาเช่ าซื้อ
ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 6121/2545 สัญญาเช่ าซื้อระบุให้ ผู้เช่ าซื้อนาค่ าเช่ าซื้อ
ทีค่ ้ างชาระไปชาระ ณ สถานทีซ่ ึ่งเป็ นภูมิลาเนาของเจ้ าของ
จึงเป็ นหน้ าที่ของจาเลยที่ 1 ผู้เช่ าซื้อทีต่ ้ องนาเงินค่ างวด
ไปชาระ ณ สถานทีซ่ ึ่งเป็ นภูมิลาเนาของโจทก์ ผ้ ูให้ เช่ าซื้อ
การทีจ่ าเลยที่ 1 นาสื บถึงข้ อตกลงว่ า พนักงานของโจทก์
จะเป็ นผ้ ไู ปเก็บงวดแก่ จาเลยที่ 1 เอง จึงเป็ นการแตกต่ าง
ไปจากทีร่ ะบุไว้ ในสั ญญา เป็ นการนาสื บพยานบุคคล
เพิม่ เติมเอกสารสั ญญาเช่ าซื้อ ต้ องห้ ามมิให้ รับฟังตาม
ป.วิ.พ.มาตรา 94(ข) ประกอบ ป.พ.พ. มาตรา 572
กรณีคา้ ประกัน
ฎีกา 2601/2545 การทีจ่ าเลยในฐานะผู้คา้ ประกันนา
สื บพยานบุคคลว่ า โจทก์ มีระเบียบในการเปลีย่ นสั ญญา
คา้ ประกันใหม่ เมื่อมีการเปลีย่ นตาแหน่ งสู งขึน้ หรือมี
ความรับผิดชอบสู งขึน้ เป็ นการอ้ างเพือ่ ให้ ศาลรับฟังว่ า
ยังมีข้อความเพิม่ เติมข้ อความในสั ญญาคา้ ประกันนั้น
อยู่อกี จึงต้ องห้ ามศาลมิให้ รับฟังเช่ นว่ านั้น ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 94(ข)
กรณีสัญญาประนีประนอมยอมความ
ฎีกา 2525/2538 ข้ อความในสัญญาประนีประนอม
ยอมความระบุข้อความว่ า จาเลยที่ 1 เป็ นหนีแ้ ละยอม
ชาระหนีใ้ ห้ โจทก์ มีจาเลยที่ 2 ลงชื่อในฐานะพยาน
การทีโ่ จทก์ นาสื บพยานบุคคลว่ าจาเลยที่ 2 ลงชื่อใน
ฐานะเป็ นค่ สู ัญญา ซึ่งต้ องรับผิดตามสั ญญา เท่ ากับเป็ น
การนาสื บพยานบุคคลเปลีย่ นแปลง แก้ ไขข้ อความใน
เอกสาร ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94(ข)
กรณีตัวแทน
ฎีกา 3548/2554 การที่จาเลยที่ 1 อ้ างว่ ากู้เงินแทนบริษทั จ.
ต้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อมาแสดงตาม ป.พ.พ. มาตรา 789
วรรคสอง โจทก์ ไม่ มีหลักฐานการตั้งตัวแทนมาเป็ นพยาน
เพียงแต่ อ้างพยานบุคคล คือ จาเลยที่ 2 ซึ่งเป็ นกรรมการผู้มี
อานาจของจาเลยที่ 1 อ้ างว่ ากู้เงินแทน เนื่องจากกรรมการ
ของบริษทั จ.ขอร้ อง เป็ นการนาสื บพยานบุคคลแก้ ไข
เปลีย่ นแปลงสั ญญากู้เงิน ต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94(ข)
โอนสิ ทธิเรียกร้ อง
ฎีกา 1630/2536 การโอนสิ ทธิตามสั ญญาเช่ าเป็ นการ
โอนสิทธิเรี ยกร้ องซึ่งต้ องทาเป็ นหนังสื อตาม ป.พ.พ.
ม 306 เมื่อหนังสื อสั ญญาโอนสิ ทธิดงั กล่ าวมิได้ กาหนด
ค่ าตอบแทนไว้ การนาสื บพยานบุคคลมาสื บว่ ามี
ค่ าตอบแทนและโจทก์ ค้างชาระค่ าตอบแทนบางส่ วน
ถือว่ าโจทก์ ผดิ สั ญญา เป็ นการต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ
มาตรา 94.
ข้ อยกเว้ น ตามมาตรา 94 วรรคสอง
ก. การนาสื บพยานบุคคล เมื่อไม่ สามารถนาต้ นฉบับ
เอกสารมาแสดง โยงมาตรา 93(2) กรณีต้นฉบับเอกสาร
หาไม่ ได้ เพราะสู ญหาย ถูกทาลายโดยเหตุสุดวิสัยหรือ
ไม่ สามารถนาต้ นฉบับมาได้ โดยประการอืน่ ศาลจะ
อนุญาตให้ นาสาเนาเอกสารหรือพยานบุคคลมาสื บได้
ฎีกา 203/2546 เมื่อหลักฐานแห่ งการกู้ยมื เงินสู ญหาย
ผู้ให้ ก้ ยู ่ อมนาสาเนาหรือพยานบุคคลมาสื บได้ กรณีมิใช่
เรื่องทีก่ ารกู้ยมื ไม่ เคยมีหลักฐานเป็ นหนังสื อเลย อันจะ
เป็ นการฝ่ าฝื นตามมาตรา 653 ประกอบมาตรา94(ก)
ข. การนาสื บพยานบุคคลเพือ่ แสดงว่ าเอกสารปลอม
หรือไม่ ถูกต้ อง สั ญญาหรือหนีไ้ ม่ สมบูรณ์ หรือมีการ
ตีความหมายผิด
นาสื บพยานบุคคลเพือ่ แสดงว่ าเอกสารปลอม หรือ
ไม่ ถูกต้ อง
ฎีกา 549/2534 จาเลยกู้เงินโจทก์ จานวนหนึ่งโดยจาเลย
ลงลายมือชื่อไว้ ในแบบพิมพ์สัญญากู้เงินทีย่ งั ไม่ กรอก
ข้ อความมอบไว้ แก่ โจทก์ โจทก์ ไปกรอกข้ อความว่ ามีการ
กู้เงินสู งกว่ าเป็ นจริง เอกสารสั ญญากู้เป็ นเอกสารปลอม
ดังนี้ ย่ อมรับฟังพยานบุคคลได้
ฎีกา 241/2537 โจทก์ ฟ้องจาเลยให้ ไปจดทะเบียนโอนขาย
ที่ดนิ ให้ โจทก์ จาเลยให้ การว่ าไม่ เคยทาสั ญญาขายทีด่ นิ
ให้ โจทก์ แต่ เคยกู้เงินโจทก์ โดยโจทก์ ให้ พมิ พ์ ลายนิว้ มือ
ในแบบพิมพ์ที่ยงั ไม่ กรอกข้ อความ แล้ วโจทก์ นาไปกรอก
ข้ อความเอง โดยจาเลยไม่ ร้ ู เห็นยินยอมด้ วย การนาสื บ
ตามข้ อต่ อสู้ ของจาเลยจึงเป็ นการนาสื บว่ าสัญญาซื้อขาย
ไม่ สมบูรณ์ ไม่ ต้องห้ ามตามมาตรา 94
นาสื บพยานบุคคลเพือ่ แสดงว่ าสั ญญาหรือหนีไ้ ม่ สมบูรณ์
ฎีกา 1046-1049/2501 จาเลยลงชื่อในเอกสารเจตนาทา
สั ญญานายหน้ า แต่ กลับเป็ นสั ญญาจะขายทีด่ นิ เป็ นการ
แสดงเจตนาสาคัญผิดในสาระสาคัญแห่ งนิติกรรม ตก
เป็ นโมฆะ จาเลยนาสืบพยานบุคคลได้ ว่าพยานเอกสาร
ไม่ ถูกต้ อง
ฎีกา 8019/2555 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยรับผิดตามสั ญญา
จานอง ทีร่ ะบุให้ ถอื เป็ นหลักฐานการกู้ยมื เป็ นกรณีที่
กฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง แม้ ต้องห้ าม
นาสื บพยานบุคคลเพือ่ เพิม่ เติม ตัดทอน หรือเปลีย่ นแปลง
แก้ ไข แต่ การทีจ่ าเลยนาสื บว่ า จาเลยทาสัญญาและจานอง
เพือ่ ประกันหนี้ค่าบริ การและค่ าใช้ จ่ายของ ส.ไปทางาน
ต่ างประเทศไว้ แก่ โจทก์ เป็ นการนาสื บทีม่ าของการจานอง
และสื บว่ าหนีก้ ้ ยู มื ไม่ สมบูรณ์ เพราะจาเลยไม่ ได้ รับเงินกู้
ไปจากโจทก์ จึงสื บได้ ไม่ ต้องห้ าม ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
วรรคท้ าย
ฎีกา 2976/2548 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยรับผิดตามสั ญญา
ซื้อขายทีด่ นิ ตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ จาเลย
สามารถนาสื บพยานบุคคลได้ ว่า ความจริงเป็ นการทา
สั ญญากู้เงินกัน ไม่ เป็ นการต้ องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
วรรคสอง เพราะเป็ นการนาสื บว่ า สั ญญาซื้อขายนั้นเป็ น
นิติกรรมอาพราง ต้ องบังคับตามสั ญญาที่แท้ จริง คือ
สั ญญากู้เงิน
ฎีกา 1976/2518 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยรับผิดตามสั ญญากู้
จาเลยให้ การว่ าน้ องสาวและน้ องเขยกู้เงินไปจากโจทก์ และ
ได้ นาตราจองโจทก์ ยดึ ถือไว้ เนื่องจากน้ องสาวและน้ องเขย
มีชื่อถือกรรมสิ ทธิ์ร่วมกันในตราจองดังกล่ าว จาเลยลงชื่อ
ในสั ญญากู้เพือ่ คา้ ประกันหนีข้ องน้ องสาวและน้ องเขย โดย
ไม่ ได้ รับเงินตามสัญญาก้ ู เช่ นนีเ้ ป็ นการนาสื บเพือ่ แสดงว่ า
ไม่ มีมูลหนีต้ ามหนังสื อสั ญญากู้ประการหนึ่งและหนีเ้ งินกู้
ตามทีร่ ะบุไว้ ในสั ญญากู้ไม่ สมบูรณ์ เพราะโจทก์ไม่ ได้ ส่ง
มอบเงินทีก่ ้ ใู ห้ แก่ จาเลยอีกประการหนึ่ง จึงนาสื บพยาน
บุคคลได้ ไม่ ต้องห้ ามตามมาตรา 94
ฎีกา 6446/2552 โจทก์ ฟ้องจาเลยทั้งสามให้ ชาระเงินกู้
จาเลยที่ 3 ให้ การและนาสื บว่ า จาเลยที่ 1 กู้ยมื เงินไปเพียง
15,000 บาท แต่ โจทก์ ให้ ทาสั ญญากู้ยมื เงิน โดยระบุจานวน
เงินกู้ไว้ 40,000 บาท เพือ่ เป็ นประกันการกู้ยมื เงินในกรณี
ที่จาเลยที่ 1 ผิดนัด การนาสื บของจาเลยที่ 3 ดังกล่ าวเป็ น
การนาสืบถึงความไม่ บริ บูรณ์ ของสั ญญากู้ยมื เงิน สามารถ
นาสืบได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 วรรคท้ าย
ฎีกา 6154/2553 โจทก์ ฟ้องเรียกเงินกู้จากจาเลย จาเลย
ให้ การว่ าทาสั ญญากู้ให้ โจทก์ เพือ่ เป็ นประกันค่ าใช้ จ่ายใน
การจัดส่ งบุตรของจาเลยไปทางานต่ างประเทศโดยไม่ ได้
รั บเงินตามสัญญาก้ เู งิน จาเลยมีสิทธินาสื บว่ าการทา
สั ญญากู้ไม่ มีการมอบเงินกัน เป็ นการนาสื บว่ าการกู้เงิน
ไม่ สมบูรณ์ ไม่ ต้องห้ ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา 94 วรรคท้ าย
ฎีกา 1177/2555 โจทก์ ฟ้องเรียกเงินกู้จากจาเลยทั้งสาม
จาเลยทั้งสามให้ การว่ า การกู้ยมื ทั้ง 4 ครั้ง โจทก์ คดิ ดอกเบีย้
ร้ อยละ 10 ต่ อเดือน จาเลยที่ 1 ได้ รับเงินไม่ ครบตามสั ญญา
เนื่องจากโจทก์ หักดอกเบีย้ อัตราดังกล่าวไว้ ล่วงหน้ า หาก
เป็ นดังทีต่ ่ อสู้ หนีต้ ามสั ญญาก็ย่อมไม่ สมบูรณ์ จาเลยทั้งสาม
ย่ อมมีสิทธินาพยานบุคคลสื บถึงความไม่ สมบูรณ์ แห่ งหนีไ้ ด้
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 วรรคท้ าย (และดูฎกี า 16645/2554)
นาสื บพยานบุคคลเพือ่ แสดงว่ าคู่ความอีกฝ่ ายตีความ
หมายผิด
ฎีกา 5869/2537 สั ญญาจะซื้อขายไม่ ได้ ระบุเลขโฉนดทีด่ นิ
ทีซ่ ื้อขายไว้ โดยระบุเฉพาะเนือ้ ทีแ่ ละทีต่ ้งั ของที่ดนิ เป็ น
กรณีข้อความในเอกสารไม่ ชัดเจน โจทก์ ย่อมนาสื บได้ ว่า
เจตนาทีแ่ ท้ จริงของการซื้อขายนั้น คือโฉนดทีด่ นิ เลขที่
เท่ าใด การนาสื บเช่ นนี้ ไม่ ใช่ นาสื บว่ ายังมีข้อความเพิม่ เติม
ตัดทอนหรือเปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสารตาม
มาตรา 94(ข) แต่ เป็ นการนาสืบอธิบายข้ อความในสั ญญา
ซึ่งยังไม่ ชัดเจนพอ
ฎีกา 1601/2520 สั ญญากู้ระบุว่า จาเลยตกลงให้ ดอกเบีย้
ร้ อยละห้ าแก่ โจทก์ ทุกเดือน ไม่ ชัดเจนว่ าร้ อยละห้ าสลึง
หรือห้ าบาท โจทก์ ย่อมมีสิทธินาสื บพยานบุคคลได้ ว่า
ดอกเบีย้ ทีร่ ะบุไว้ ในสั ญญากู้น้ัน หมายถึงร้ อยละห้ าสลึง
เพราะเป็ นการนาสื บอธิบายความหมายของสั ญญากู้
ไม่ ใช่ แก้ ไข เพิม่ เติมข้ อความในสั ญญากู้
ฎีกา 2033/2514 สั ญญาซื้อขายมีข้อความว่ าผู้ซื้อได้ ชาระ
เงินในวันทาสั ญญา 40,000 บาท ไม่ ชัดแจ้ งว่ าเป็ นเงิน
มัดจาหรื อเงินที่ชาระราคาของล่ วงหน้ า ศาลฟังพยาน
บุคคลประกอบการแปลสั ญญาได้
ฎีกา 3375/2549 หนังสื อสั ญญากู้ยมื เงินมีข้อความเป็ น
ตัวพิมพ์ ระบุว่า ผู้ก้ ยู อมให้ ดอกเบีย้ แก่ ผู้ให้ ก้ ชู ั่งละ 1 บาท
ต่ อเดือน แต่ ข้อความถัดไปที่เว้ นช่ องว่ างไว้ สาหรับกรอก
กาหนดเวลาชาระดอกเบีย้ นั้น กลับมีข้อความเขียนว่ าไม่
ต้ องเสี ยดอกเบีย้ ข้ อความทั้งสองแห่ งดังกล่ าวจึงขัดแย้ ง
กันและเป็ นที่สงสั ย โจทก์ ย่อมมีสิทธินาพยานประกอบการ
แปลความหมายตามเจตนาแท้ จริ งของการทาข้ อตกลงเรื่อง
ดอกเบีย้ ได้ เพราะเท่ ากับเป็ นการนาสื บว่ าคู่ความอีกฝ่ าย
หนึ่งตีความหมายผิด ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 วรรคสอง
ถ้ าข้ อความในเอกสารไม่ ขดั แย้ งกัน เพียงไม่ ชัดเจน หรือ
มีความชัดเจนอยู่แล้ ว คู่ความจะนาพยานบุคคลมาสื บ
ตีความเอกสารอีกไม่ ได้
ฎีกา 2762/2549 สั ญญากู้เงินมีข้อตกลงคิดดอกเบี้ยอัตรา
ร้ อยละ 5 ต่ อเดือน และระบุว่า ผู้ให้ ก้ มู ีสิทธิคดิ ดอกเบี้ยได้
ตามกฎหมาย เมื่อสั ญญาไม่ ได้ กาหนดอัตราดอกเบีย้ ไว้ โดย
ชัดแจ้ ง ย่ อมต้ องตีความไปในทางทีเ่ ป็ นคุณแก่ ผ้ ูต้องเสี ยใน
มูลหนี้ โจทก์ ในฐานะผู้ให้ ก้ มู สี ิ ทธิคดิ ดอกเบีย้ ในอัตราร้ อยละ
7.5 ต่ อปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา 7 โจทก์ ต้องห้ ามมิให้ นาพยาน
บุคคลมาสื บเปลีย่ นแปลงข้ อความในสั ญญากู้ยมื เงินดังกล่าว
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
ฎีกา 6509/2545 จาเลยทาใบคาเสนอขอสิ นเชื่อจากธนาคาร
โจทก์ โดยตกลงชาระดอกเบีย้ อัตราร้ อยละ 14.5 ต่ อปี ใน
วันเดียวกันทาสั ญญากู้ยมื เงินยอมเสี ยดอกเบีย้ ในอัตราร้ อย
ละ 19 ต่ อปี ซึ่งจาเลยรับเงินกู้ไปเรียบร้ อยแล้ ว ใบคาเสนอ
ขอสิ นเชื่อเป็ นเพียงคาเสนอเท่ านั้น ส่ วนสั ญญากู้ยมื เงินเป็ น
ข้ อตกลงที่จดั ทาขึน้ ภายหลังที่โจทก์ ได้ พจิ ารณาคาเสนอ
ของจาเลยแล้ ว โจทก์ จงึ กาหนดอัตราร้ อยละ 19 ต่ อปี
ดังนั้น ข้ อความเกีย่ วกับดอกเบี้ยเงินก้ชู ัดแจ้ งไม่ เป็ นที่น่า
สงสั ย โจทก์ ไม่ มีสิทธินาพยานบุคคลมาสื บเปลีย่ นแปลงว่ า
อัตราร้ อยละ 19 ต่ อปี เป็ นอัตราดอกเบีย้ กรณีที่ผิดนัดเพราะ
ต้ องห้ ามมิให้ นาสื บตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
ข้ อสั งเกต
1.ข้ อห้ ามตามมาตรา 94 เป็ นข้ อห้ ามเด็ดขาด คู่กรณีจะ
ตกลงกันให้ เป็ นอย่ างอืน่ ไม่ ได้ รวมทั้งห้ ามคู่ความทั้งสอง
ฝ่ าย ไม่ ใช่ ห้ามเฉพาะฝ่ ายที่อ้างเท่ านั้น (ฎีกา 220/2499)
2.ห้ ามเฉพาะในคดีแพ่ง ไม่ อาจนาไปใช้ ในคดีอาญาเพราะ
ตาม ป.วิ.อ ม 226 “พยานวัตถุ พยานเอกสารหรื อพยาน
บุคคลซึ่งน่ าจะพิสูจน์ ว่าจาเลยมีความผิดหรื อบริ สุทธิ์
ให้ อ้างเป็ นพยานหลักฐานได้ …” (ฎีกา 1210/2515)
ฎีกา 11107/2555 คดีอาญาทีพ่ นักงานอัยการเป็ นโจทก์ ฟ้อง
ขอให้ ลงโทษจาเลยตามพ.ร.บ.ห้ ามเรียกดอกเบีย้ เกินอัตราฯ
แม้ สัญญาทีผ่ ้ ูเสี ยหายทากับจาเลยระบุว่า “สั ญญาร่ วมลงทุน”
การทีโ่ จทก์ นาสื บว่ าเป็ นสั ญญากู้ โจทก์ สามารถนาสื บได้
ข้ อห้ ามนาสืบพยานบุคคลเปลีย่ นแปลงแก้ ไขเอกสารเป็ น
กฎหมายทีใ่ ช้ บังคับในการพิจารณาคดีแพ่งเท่ านั้น ในคดีอาญา
โจทก์ มีหน้ าทีน่ าพยานมาพิสูจน์ ความผิดของจาเลย ไม่ มีข้อ
ห้ ามในเรื่องดังกล่ าว
3.รวมถึงไม่ ใช้ กบั คดีล้มละลาย
ฎีกา 9237/2539 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่ า พ.ร.บ.ล้ มละลาย
พ.ศ. 2483 มาตรา 14 เป็ นกฎหมายพิเศษเกีย่ วด้ วยความ
สงบเรียบร้ อยของประชาชน กาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ของ
ศาลที่จะต้ องพิจารณาเอาความจริงให้ ได้ ว่าจาเลยมีหนีส้ ิ น
ล้ นพ้ นตัวจริงหรือไม่ การทีห่ ้ ามนาสื บพยานบุคคลเพือ่
ให้ มีผลเป็ นการเปลีย่ นแปลงแก้ ไขเอกสารอันเป็ นการ
ตัดรอนมิให้ ศาลรับฟังพยานหลักฐาน ย่ อมขัดต่ อ พ.ร.บ.
ล้ มละลายฯ
4. ห้ ามเฉพาะการนาสื บพยานบุคคลแทนเอกสาร
แต่ ไม่ ได้ ห้ามนาสื บหักล้ างพยานเอกสารด้ วยเอกสาร
ฎีกา 1311/2515 มีการทาสั ญญาซื้อขายทีด่ นิ ฉบับแรก
ระบุว่าผู้ขายได้ รับเงินค่ าทีด่ นิ แล้ ว ต่ อมามีการทาหนังสื อ
สั ญญาขายทีด่ นิ ดังกล่ าวใหม่ มีข้อความว่ า ยังไม่ ได้ ชาระ
ราคาทีด่ นิ กัน โดยผู้ขายยอมโอนทีด่ นิ ให้ ผ้ ูซื้อไปก่ อน ดังนี้
ผู้ขายนาสื บได้ ว่ามีการตกลงทาสัญญาใหม่ แก้ ไขสั ญญาเดิม
ในเรื่องเงินค่ าทีด่ นิ ว่ าผู้ซื้อยังไม่ ได้ ชาระจะชาระกันอย่ างไร
ไม่ เป็ นการนาพยานบุคคลมาสืบเพิม่ เติมตัดทอนหรื อแก้ ไข
เปลี่ยนแปลงข้ อความในเอกสาร
ฎีกา 805/2539 สั ญญาซื้อขายทีด่ นิ เอกสารหมาย จ.11
ระบุราคาซื้อขาย 31 ล้ านบาทและผู้ขายคือโจทก์ ได้ รับเงิน
ค่ าที่ดนิ เรียบร้ อยแล้ ว การทีโ่ จทก์ นาสื บถึงข้ อตกลงเกีย่ วกับ
ราคาที่ดนิ ตลอดจนเงือ่ นไขวิธีการชาระราคาที่ดินด้ วยเช็ค
ตามสัญญาจะซื้อจะขายเอกสารหมาย จ. 24 อันเป็ นเอกสาร
อีกส่ วนหนึ่ง นอกเหนือจากสั ญญาซื้อขายทีด่ นิ เอกสาร
หมาย จ 11 นั้น หาต้ องห้ ามตามบทบัญญัติดงั กล่ าวไม่
โจทก์ จงึ นาสื บได้
5. นาสื บถึงทีม่ าหรือมูลแห่ งหนี้ ความระงับแห่ งหนีห้ รือ
การเลิกสั ญญาไม่ ต้องห้ าม ตามมาตรา 94
ฎีกา 190/2510 โจทก์ ฟ้องจาเลยเรียกเงินตามสั ญญากู้
จาเลยให้ การว่ าจาเลยรับจ้ างโจทก์ เจาะนา้ บาดาล จาเลย
เบิกเงินล่ วงหน้ าเพือ่ ซื้ออุปกรณ์ และโจทก์ ให้ ทาสั ญญากู้เงิน
ไว้ เมื่อหักค่ าจ้ างแล้ ว จะต้ องรับผิดเพียงบางส่ วน ดังนี้
จาเลยย่ อมนาสื บพยานบุคคลได้ เพราะเป็ นการนาสืบถึง
มูลหนี้และการหักหนี้ มิใช่ เปลีย่ นแปลงแก้ ไขเอกสาร
6. นาสื บถึงข้ อตกลงหรือความยินยอมต่ างหากจาก
เรื่องเดิมหรือตกลงกันใหม่ ในภายหลัง ไม่ ต้องห้ าม
ตามมาตรา 94
ฎีกา 468/2506 โจทก์ จาเลยให้ ชาระหนีค้ ่ าซื้อสิ นค้ า
จาเลยให้ การต่ อสู้ ว่าจาเลยบอกคืนสิ นค้ าทีซ่ ื้อและยอมให้
โจทก์ ริบมัดจาซึ่งโจทก์ ยนิ ยอมด้ วยแล้ ว ดังนี้ เป็ นการ
ต่ อสู้ ว่าคู่กรณีได้ ตกลงกันใหม่ ยกเลิกข้ อตกลงเดิม จาเลย
นาสื บพยานบุคคลได้ ไม่ ต้องห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94
ฎีกา 5054/2538 จาเลยทาสั ญญาจะซื้อขายทีด่ นิ ให้ โจทก์
กาหนดวันนัดจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ไว้ ในหนังสื อ
สั ญญาจะซื้อขาย การที่โจทก์ นาสื บว่ า มีการเลือ่ นกาหนด
วันจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์จากวันที่กาหนดในสั ญญา
หาใช่ เป็ นการนาสื บวันที่กาหนดโอนไว้ ในสั ญญาไม่ ใช่ วนั ที่
ระบุไว้ ในสั ญญา จึงไม่ ใช่ เป็ นการนาสื บเปลีย่ นแปลงแก้ ไข
เอกสาร ตามมาตรา 94(ข) โจทก์ นาสืบพยานบุคคลได้
7. การนาสื บถึงถึงการเป็ นตัวการตัวแทน ไม่ ต้องห้ าม
ตามมาตรา 94
ฎีกา 2303/2553 จาเลยทาสั ญญาเช่ าที่ดนิ กับโจทก์ การที่
จาเลยนาสื บว่ า จาเลยทาสั ญญาดังกล่ าวในฐานะเป็ น
ตัวแทนของจาเลยร่ วมซึ่งเป็ นตัวการไม่ เปิ ดเผยชื่อ เป็ น
เพียงนาสื บความจริงว่ า จาเลยร่ วมเป็ นตัวการ เพื่อให้ จาเลย
ร่ วมเข้ ามารับผิดตามสั ญญาแทนจาเลยเท่ านั้น หาใช่ เป็ น
การนาสื บเปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในสั ญญาเช่ าที่ดนิ ไม่
ฎีกา 3497/2551 โจทก์ ให้ จาเลยเป็ นตัวแทนรับจานองที่ดนิ
และโจทก์ ฟ้องบังคับให้ จาเลยคืนเงินค่ าไถ่ ถอนจานองแก่
โจทก์ เป็ นเรื่องตัวการฟ้ องเรี ยกทรั พย์ สินคืนจากจาเลยซึ่ง
เป็ นตัวแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา 810 โจทก์ นาสื บพยาน
บุคคลว่ า จาเลยเป็ นเพียงผู้รับจานองแทนโจทก์ เป็ นการ
นาสื บถึงการเป็ นตัวแทน ซึ่งไม่ จาต้ องมีหลักฐานเป็ น
หนังสื อ เพือ่ ให้ เห็นถึงความสั มพันธ์ ระหว่ างโจทก์ กบั
จาเลย มิใช่ เป็ นการนาสื บเพิม่ เติมเปลีย่ นแปลงแก้ ไข
ข้ อความในหนังสื อสั ญญาจานองที่ดนิ กรณีไม่ ต้องด้ วย
ข้ อห้ ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข)
94
8. กรณีการนาสื บทีไ่ ม่ ใช่ เป็ นการเพิม่ เติม ตัดตอน หรือ
เปลีย่ นแปลงแก้ ไขเอกสาร ไม่ อยู่ในบังคับมาตรา 94
ฎีกา 465/2549 การทีโ่ จทก์ นาสื บว่ า ลายมือชื่อผู้ก้ ใู นสั ญญา
กู้เงินเป็ นลายมือชื่อของจาเลย แม้ ชื่อตามลายมือนั้นจะไม่ ตรง
กับชื่อทีแ่ ท้ จริงของจาเลย เป็ นการนาสื บถึงตัวบุคคลผู้ทา
สั ญญาว่ าจาเลยเป็ นผู้ลงลายมือชื่อผู้ก้ ู ทั้งนี้ เพือ่ แสดงให้ เห็น
ว่ าจาเลยได้ ก้ เู งินและทาสั ญญากู้เงินให้ โจทก์ ไว้ ตามฟ้อง การ
นาสื บของโจทก์ มิได้ มีผลกระทบถึงข้ อความหรื อข้ อตกลงใน
สัญญาก้ เู งิน จึงมิใช่ เป็ นการนาสื บพยานบุคคลเปลีย่ นแปลง
แก้ ไขข้ อความในเอกสาร อันจะต้ องห้ ามตามประมวล
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา 94 (ข)
การยืน่ บัญชีระบุพยาน
ฎีกา 13762/2555 ป.วิ.พ.มาตรา 88 วรรคหนึ่งทีบ่ ัญญัติให้
คู่ความยืน่ บัญชีระบุพยานโดยแสดงทีอ่ ยู่ของพยานบุคคลที่
อ้ าง ก็เพือ่ ประโยชน์ ในกรณีทคี่ ู่ความไม่ สามารถนาพยานมา
ศาลได้ เอง คู่ความอาจขอให้ ศาลหมายเรียกพยานเท่ านั้น
ไม่ ใช่ แบบของบัญชีระบุพยานทีต่ ้ องระบุให้ ครบ เมื่อพยาน
บุคคลทีโ่ จทก์ ระบุเพิม่ เติมเป็ นพยานนา จาเลยมีโอกาสถาม
ค้ านและนาพยานเข้ าสื บหักล้ างได้ ไม่ ทาให้ จาเลยเสี ยเปรียบ
การทีศ่ าลชั้นต้ นอนุญาตให้ ยนื่ บัญชีระบุพยานเพิม่ เติมชอบ
แล้ ว
การยืน่ ส่ งสาเนาพยานเอกสารก่ อนสื บ
คู่ความทีอ่ ้ างอิงเอกสารเป็ นพยานจะต้ องส่ งสาเนาเอกสาร
ให้ ศาลและคู่ความฝ่ ายอืน่ ก่ อนวันสื บพยานล่ วงหน้ าไม่
น้ อยกว่ า 7 วัน (มาตรา 90 วรรคหนึ่ง)
กรณีพยานเอกสารระบุเพิม่ เติม ต้ องยืน่ สาเนาต่ อศาลและ
คู่ความฝ่ ายอืน่ พร้ อมคาร้ อง/คาแถลงขอระบุพยานเพิม่ เติม
มาตรา 90 บังคับเฉพาะพยานเอกสาร ภาพถ่ ายเป็ นภาพ
จาลองวัตถุ ไม่ ใช่ พยานเอกสาร ไม่ อยู่ในบังคับ มาตรา 90
(ฎีกา 3892/2539) รายงานความเห็นของผู้เชี่ยวชาญเพือ่
ประกอบคาเบิกความของผู้เชี่ยวชาญ ไม่ ใช่ พยานหลักฐาน
ที่จะต้ องส่ งสาเนา(ฎีกา 1870/2505)
การยืน่ สาเนาเอกสารต่ อศาลและส่ งให้ คู่ความฝ่ ายอืน่
ล่ วงหน้ าก่ อนวันสื บพยานไม่ น้อยกว่ า 7 วัน “วันสื บพยาน”
หมายถึง วันสื บพยานครั้งแรกตามมาตรา 1(10) ไม่ ว่าจะ
เป็ นวันนัดสื บพยานจาเลยหรือโจทก์ ก่อน (ฎีกา 899/2487)
หากอ้ างเอกสารโดยไม่ ส่งสาเนาตามมาตรรา 90 ถือเป็ น
กระบวนพิจารณาผิดระเบียบ ตามมาตรา 27 จะต้ องคัดค้ าน
ภายใน 8 วันนับแต่ วนั ส่ งเอกสารต่ อศาล
ฎีกา 6108/2531 จาเลยเบิกความและอ้ างเอกสาร โดยไม่
ส่ งสาเนาให้ โจทก์ ก่อนวันสื บพยาน ทนายโจทก์ มาศาลและ
ซักค้ านพยาน แสดงว่ าโจทก์ ทราบข้ อผิดระเบียบนั้นแล้ ว
แต่ โจทก์ ไม่ ได้ ร้องคัดค้ านภายใน 8 วันตาม ป.วิ.พ. มาตรา
27 โจทก์ ไม่ มีสิทธิหยิบยกขึน้ มาโต้ เถียงในภายหลัง
 ข้ อยกเว้น
ก. อ้ างเอกสารเป็ นชุด ซึ่งคู่ความอืน่ ทราบดีหรือสามารถ
ตรวจตราโดยง่ ายถึงการมีอยู่และความแท้ จริง
ฎีกา 41/2540 จาเลยเบิกความเจือสมกับพยานโจทก์ ที่ว่าใน
การใช้ บัตรเครดิต โจทก์ จะแจ้ งรายการทีใ่ ช้ และรายการของ
บัญชีเดินสะพัดให้ จาเลยทราบเป็ นประจาทุกเดือน จึงเป็ น
เอกสารทีจ่ าเลยทราบดีอยู่แล้ ว สามารถตรวจตราได้ ง่ายถึง
ความมีอยู่และความแท้ จริงของเอกสาร ไม่ ต้องส่ งสาเนาให้
จาเลยตาม ป.วิ.พ. มาตรา 90(1)
ข. อ้ างเอกสารอยู่ในความครอบครองของคู่ความฝ่ ายอืน่
หรือบุคคลภายนอก
ฎีกา 149/2516 โจทก์ อ้างทะเบียนบ้ านจาเลยเป็ นพยาน
ซึ่งเป็ นเอกสารทีอ่ ยู่ในความครอบครองของทางราชการ
ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องยืน่ และส่ งสาเนาเอกสาร ตามป.วิ.พ.
มาตรา 90(2)
ค. การคัดสาเนาเอกสารจะทาให้ กระบวนพิจารณาล่ าช้ า
หรือมีเหตุผลแสดงว่ าไม่ อาจคัดสาเนาเอกสารให้ เสร็จใน
กาหนดที่ให้ ยนื่ เอกสาร
สาเนาเอกสารท้ ายคาฟ้อง/คาให้ การที่ยนื่ ต่ อศาลและ
อีกฝ่ ายรับไปแล้ ว ไม่ ต้องยืน่ หรือส่ งสาเนาเอกสารนั้นอีก
ฎีกา 9501/2542 ป.วิ.พ. มาตรา 90 มีเจตนารมย์ ม่ ุงให้
คู่ความฝ่ ายทีถ่ ูกเอกสารยันมีโอกาสตรวจสอบเอกสารก่ อน
เพือ่ ประโยชน์ ในการซักค้ านได้ ถูกต้ องไม่ เสี ยเปรียบแก่ กนั
โจทก์ แนบสาเนาเอกสารท้ ายฟ้องตรงกับเจตนารมณ์
ดังกล่ าวแล้ ว แม้ โจทก์ ไม่ ได้ ขอให้ ศาลถือเอาเอกสารท้ าย
ฟ้ องแทนการส่ งสาเนาให้ คู่ความ ก็ไม่ มีผลทาให้ คดีโจทก์
ต้ องเสี ยไป
กรณีอ้างเอกสารต่ างประเทศเป็ นพยาน คาแปลไม่
ต้ องส่ งสาเนาให้ อกี ฝ่ าทราบล่ วงหน้ า
ฎีกา 1249/2523 กรมธรรม์ ประกันภัยทาเป็ นภาษา
ต่ างประเทศ โจทก์ ต้องส่ งสาเนาคาแปลต่ อศาลตาม
ป.วิ.พ. มาตรา 46 แต่ ไม่ ต้องส่ งสาเนาให้ แก่ อกี ฝ่ าย
ล่ วงหน้ า ตามป.วิ.พ. มาตรา 90
 ในชั้นไต่ สวนคาร้ องที่ไม่ เกีย่ วกับประเด็นแห่ งคดี
ไม่ อยู่ในบังคับมาตรา 90
ฎีกา 4276/2512 ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 88 และ 90
การยืน่ บัญชีระบุพยานและการส่ งสาเนาเอกสารนั้น
ใช้ บังคับเฉพาะการสื บพยานหลักฐานทีส่ นับสนุน
ข้ ออ้ างในประเด็นแห่ งคดีที่พพิ าท ไม่ ใช้ บังคับใน
การไต่ สวนคาร้ องที่ไม่ เกีย่ วกับประเด็นข้ อพิพาท
ในคดี(คดีในชั้นไต่ สวนคาร้ องขอพิจารณาคดีใหม่
ของจาเลย)
 กรณีไม่ ส่งสาเนาเอกสาร หากเป็ นพยานทีส่ าคัญ
เกีย่ วกับประเด็นสาคัญในคดี เพือ่ ประโยชน์ แห่ ง
ความยุตธิ รรม ศาลอาจรับฟังเอกสารนั้นได้ ตาม
มาตรา 87(2)
ฎีกา 11779/2554 โจทก์ อ้างบัญชีการส่ งอ้ อยไว้ ใน
บัญชีระบุพยาน แม้ ไม่ ได้ ส่งสาเนา ป.วิ.พ. ตาม
มาตรา 90 แต่ โจทก์ อ้างเอกสารในวันสื บพยานโจทก์
ซึ่งสื บก่ อน พยานดังกล่ าวเป็ นพยานที่สาคัญเกีย่ วกับ
ประเด็นสาคัญในคดี จาเลยมีสิทธิซักค้ านและสื บ
พยานหักล้ างได้ ไม่ เสี ยเปรียบ ศาลมีอานาจรั บฟัง
ได้ ตามมาตรา 87(2)
การรับฟังต้ นฉบับเอกสาร
การอ้ างเอกสารเป็ นพยานหลักฐานให้ ยอมรับฟังได้
เฉพาะต้ นฉบับเอกสารเท่ านั้น (มาตรา 93 วรรคหนึ่ง)
ฎีกา 2789/2538 จาเลยคัดค้ านว่ าสาเนาสั ญญาซื้อขายที่
โจทก์ อ้างส่ งโดยอ้ างว่ า ต้ นฉบับอยู่ทจี่ าเลยนั้น ไม่ อยู่ใน
ความครอบครองของจาเลย และนาสื บว่ าไม่ มีต้นฉบับ
เอกสารนี้ เมื่อชั้นพิจารณาโจทก์ ไม่ มีต้นฉบับเอกสาร
มาแสดง โดยไม่ ปรากฏว่ าหาไม่ ได้ เพราะสู ญหายหรือ
ถูกทาลายโดยเหตุสุดวิสัย จึงรับฟังข้ อความตามสาเนา
เอกสารนั้นไม่ ได้
ต้นฉบับหรือสาเนา
ฎีกา 4529/2541 โจทก์ จาเลยทาเอกสารสั ญญาซื้อขายโดย
ใช้ กระดาษคาร์ บอนคัน่ กลาง เมื่อเขียนและลงชื่อแล้ วจึง
มอบฉบับล่างให้ โจทก์ ส่ วนฉบับบนจาเลยเก็บไว้ เห็นได้ ว่า
คู่สัญญาประสงค์ ให้ ถอื เอาเอกสารฉบับล่ างเป็ นคู่ฉบับของ
เอกสารฉบับบน ไม่ ถอื ว่ าเอกสารฉบับล่ างเป็ นสาเนา
เพราะมิใช่ ข้อความทีค่ ดั ลอกหรือถ่ ายเอกสารมาจาก
ต้ นฉบับ แต่ ได้ ทาขึน้ พร้ อมกัน มีผลเท่ ากับเป็ นต้ นฉบับ
ดังนี้ เมื่อไม่ เป็ นสาเนาเอกสารแล้ ว ก็ไม่ ต้องห้ ามมิให้ ศาล
รับฟังเป็ นพยานหลักฐาน
 หากคู่ความยอมรับว่ามีการทาข้อตกลงหรือทาสัญญา
ตามที่อกี ฝ่ ายอ้ างแล้ ว ก็ไม่ จาต้ องส่ งต้ นฉบับเอกสารอีก
ฎีกา 2620/2534 จาเลยที่ 2 มิได้ ปฏิเสธว่ าไม่ ได้ ทาสั ญญา
คา้ ประกันตามฟ้อง และให้ การว่ าจาเลยที่ 2 เข้ ารับช่ วงสิ ทธิ
ในฐานะผู้คา้ ประกันไม่ ได้ เพราะโจทก์ กบั จาเลยที่ 1 ร่ วมกัน
ฉ้ อโกงหรือหลอกลวงจาเลยที่ 2 โดยไม่ มีเจตนาทาสั ญญา
เช่ าซื้อกัน ดังนี้ ต้ องถือว่ าจาเลยที่ 2 รับว่ าจาเลยที่ 1 ทา
หนังสื อสั ญญาเช่ าซื้อและจาเลยที่ 2 เป็ นผู้คา้ ประกัน โจทก์
จึงไม่ จาต้ องส่ งต้ นฉบับหนังสื อสั ญญาเช่ าซื้อและหนังสื อ
สั ญญาคา้ ประกันเป็ นพยานหลักฐานต่ อศาล
ข้ อยกเว้ น
1. หากคู่ความตกลงกันว่ าสาเนาเอกสารถูกต้ อง ก็ไม่ ต้อง
ใช้ ต้นฉบับเอกสาร อาจตกลงโดยชัดแจ้ ง/ปริยาย
ฎีกา 4861/2543 จาเลยเบิกความรับว่ า เป็ นผู้เขียนข้ อความ
ทั้งด้ านหน้ าและด้ านหลัง รวมทั้งเป็ นผู้วาดแผนที่ไว้ ใน
สาเนาแบบแสดงรายการทีด่ นิ จริง และโจทก์ กย็ อมรับไม่ ได้
โต้ เถียงความไม่ ถูกต้ องเช่ นกัน ต้ องถือว่ าคู่ความทุกฝ่ ายที่
เกีย่ วข้ องตกลงกันว่ าสาเนาเอกสารนั้นถกู ต้ องแล้ ว เอกสาร
ดังกล่ าวจึงสามารถรับฟังเป็ นพยานเอกสารได้
ฎีกา 3936/2543 จาเลยมิได้ โต้ แย้ งความถูกต้ องของ
สาเนาเอกสารก่ อนศาลชั้นต้ นพิพากษาตามขั้นตอนที่
พึงปฏิบัติที่ ป.วิ.พ มาตรา 125 วรรคสามและสี่ กาหนดไว้
ถือได้ ว่าเป็ นการตกลงรั บรองความถูกต้ องแห่ งสาเนา
เอกสารดังกล่ าว และผู้อ้างไม่ จาต้ องส่ งต้ นฉบับเอกสารอีก
ตาม มาตรา 93(1) สาเนาเอกสารนั้นย่ อมรับฟังได้ เสมอ
กับต้ นฉบับ
2. เมื่อต้ นฉบับถูกทาลายโดยเหตุสุดวิสัย / สู ญหาย
/ ไม่ สามารถนามาได้ โดยประการอืน่ อันมิใช่ เกิดจาก
พฤติการณ์ ทผี่ ้ ูอ้างต้ องรับผิดชอบ
ฎีกา 3188/2536 ต้ นฉบับสั ญญาคา้ ประกันสู ญหาย
เพราะ ถูกจาเลยที่ 1 ลักไป เป็ นเหตุจาเป็ นทีไ่ ม่ สามารถ
ส่ งต้ นฉบับเอกสารเป็ นพยานหลักฐานได้ ศาลอนุญาต
ให้ นาสาเนาเอกสารมาสื บได้ ตาม ป.วิ.พ มาตรา 93(2)
ฎีกา 3395/2542 ต้ นฉบับเอกสารย่ อมอยู่ต่างประเทศ
จึงเป็ นกรณีที่ไม่ สามารถนาต้ นฉบับเอกสารมาได้ โดย
ประการอืน่ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 93 (2)
ฎีกา 8895/2554 โจทก์ นาสื บสาเนาภาพถ่ ายหนังสื อ
มอบอานาจเป็ นพยานต่ อศาล โดยขอให้ ศาลตรวจดู
ต้ นฉบับหนังสื อมอบอานาจ จาเลยมิได้ โต้ แย้ งคัดค้ าน
ที่โจทก์ ส่งสาเนาแทนการส่ งต้ นฉบับ การที่ศาลรับเอา
สาเนาหนังสื อมอบอานาจไว้ แทนต้ นฉบับ เท่ ากับศาล
อนุญาตให้ นาสาเนาหนังสื อมอบอานาจมาสื บได้ ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา 93(2) ไม่ ใช่ การรับฟังต้ นฉบับเอกสาร
เป็ นพยานหลักฐานอันจะต้ อง ปิ ดอาการแสตมป์ ตาม
ประมวลรัษฎากร
3. เมื่อต้ นฉบับเอกสารอยู่ในความอารักขา หรือ
ควบคุมของทางราชการ
ฎีกา 1386/2531 การทีจ่ าเลยไม่ อาจนาต้ นฉบับเอกสาร
ของทางราชการมาแสดง แต่ มีสาเนาเอกสารซึ่งเจ้ า
พนักงานผู้รับผิดชอบมาเบิกความรับรองความมีอยู่
และถูกต้ องของเอกสารดังกล่ าว จึงเพียงพอทีจ่ ะรับฟัง
เป็ นหลักฐานให้ เชื่อได้ ว่า เจ้ ามรดกได้ จดทะเบียนรับ
จาเลยเป็ นบุตรบุญธรรมจริง
การคัดค้ านพยานเอกสาร
การคัดค้ านการนาเอกสารมาสื บ โดยเหตุว่า 1)ไม่ มีต้นฉบับ
2) ต้ นฉบับปลอม 3) สาเนาไม่ ถูกต้ องกับต้ นฉบับ จะต้ อง
คัดค้ านก่ อนสื บพยานเอกสารนั้นเสร็จ (ม.125 วรรคหนึ่ง)
ถ้ ามีเหตุอนั สมควรทีไ่ ม่ อาจทราบได้ ก่อนสื บเอกสารนั้น
เสร็จว่ า 1)ต้ นฉบับเอกสารไม่ มี 2)เอกสารนั้นปลอม 3)
สาเนาไม่ ถูกต้ อง จะต้ องยืน่ คาร้ องขออนุญาตคัดค้ านต่ อ
ศาลก่ อนศาลพิพากษา (ม. 125 วรรคสอง)
หากคู่ความฝ่ ายทีถ่ ูกอ้ างเอกสารยันตน ไม่ ได้ คดั ค้ าน
ตามมาตรา 125 แม้ ผู้อ้างเอกสารไม่ ส่งต้ นฉบับ ศาล
รับฟังสาเนาเอกสารนั้นได้
ฎีกา 2459/2539 จาเลยให้ การแต่ เพียงว่ า เอกสารท้ าย
ฟ้องโจทก์ ทาขึน้ ฝ่ ายเดียว จาเลยไม่ ขอรับรอง โดยไม่ ได้
โต้ แย้ งคัดค้ านว่ า เอกสารดังกล่ าวไม่ มีต้นฉบับหรือว่ า
ต้ นฉบับนั้นปลอมทั้งหมดหรือบางส่ วน หรือสาเนานั้น
ไม่ ถูกต้ องกับต้ นฉบับตาม ป.วิ.พ.มาตรา 125 ถือไม่ ได้ ว่า
จาเลยได้ คดั ค้ านเอกสารหมาย จ. 6 แล้ ว ศาลมีอานาจรับ
ฟังเอกสารซึ่งเป็ นสาเนาแทนต้ นฉบับได้
หากไม่ มีการคัดค้ านเอกสารตามมาตรา 125 จะมา
อ้ างถึงความไม่ มีอยู่จริงของต้ นฉบับเอกสารหรือความ
แท้ จริงของเอกสารอีกไม่ ได้ แต่ ไม่ ตัดสิ ทธิที่จะคัดค้ าน
ว่ าสั ญญาหรือหนีท้ รี่ ะบุในเอกสารนั้นไม่ สมบูรณ์ หรือ
คู่ความอีกฝ่ ายตีความหมายผิดตามทีบ่ ัญญัตไิ ว้
ในมาตรา 125 วรรคสาม
ฎีกา 2663/2524 จาเลยไม่ ได้ คดั ค้ านบัญชีงบดุลทีโ่ จทก์
ส่ งจะให้ ฟังว่ าเป็ นเอกสารอันถูกต้ องอันแท้ จริงและใช้ ยนั
จาเลยได้ น้ันไม่ ได้ เพราะการคัดค้ านพยานเอกสารตาม
ป.วิ.พ. มาตรา 125 ที่บัญญัตใิ ห้ คดั ค้ านเสี ยก่ อนวัน
สื บพยาน(ตามบทบัญญัติเดิม)นั้น เป็ นการให้ คดั ค้ านใน
เรื่องการมีอยู่ของต้ นฉบับ ความแท้ จริงของต้ นฉบับ
หรือความถูกต้ องตามต้ นฉบับของสาเนาทีอ่ ้ าง หาใช่
บังคับให้ ต้องคัดค้ านไว้ ก่อนว่ าการคิดบัญชี ไม่ ถูกต้ องไม่
 แม้ ไม่ มีการคัดค้ าน ก็ไม่ ตัดอานาจศาลที่จะวินิจฉัยว่ า
เป็ นเอกสารทีไ่ ม่ ถูกต้ องหรือไม่ (มาตรา 125 วรรคสาม)
ฎีกา 2491/2523 ป.วิ.พ.มาตรา 125 วรรคท้ าย บัญญัติ
ชัดเจนว่ า แม้ คู่ความจะไม่ ได้ คดั ค้ านเอกสาร ก็ไม่ ตัด
อานาจศาลในอันที่จะไต่ สวนและชี้ขาดในเรื่องการมีอยู่
ความแท้ จริง หรือความถูกต้ องของเอกสารเช่ นว่ านั้น
เอกสารที่อ้างมีแต่ ตัวเลข จานวนเงิน และวันเดือนปี ที่ชาระ
ซึ่งจาเลยเป็ นผู้เขียนเอง โดยไม่ มีข้อความว่ าโจทก์ ได้ รับ
ชาระเงินจานวนนั้นจากจาเลยแล้ ว ศาลวินิจฉัยไม่ เชื่อว่ า
เอกสารนั้นเป็ นหลักฐานการรับเงินที่โจทก์ ทาให้ ไว้ ได้