387103 บรรยายสรุปประวัติเศรษฐศาสตร์สมบูรณ์ที่สุด

Download Report

Transcript 387103 บรรยายสรุปประวัติเศรษฐศาสตร์สมบูรณ์ที่สุด

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กับ
พระพุทธศาสนา
01387103
ปรัชญากับเศรษฐศาสตร์
ปรัชญา หมายถึง วิชาว่ าด้ วยหลักแห่ งความรู้ และ
ความเป็ นจริง โดยความรู้ และ
ความจริงในวิชาปรัชญาจะต้ อง
ประกอบด้ วยความคิดทีม่ เี หตุผล
ลาดับเหตุการณ์สาคัญ
Hesiod (เฮเซียด) : ศตวรรษที่ 8 ก่อนคริ สต์ศกั ราช
Democritus (เดโมคริ ตุส) : 460 B.C – 370 B.C หรื อ พ.ศ.83-173
Plato (เพลโต) (427 B.C.- 347 B.C หรื อ พ.ศ.116-196)
Aristotle (อริ สโตเติล) พ.ศ.160 (384 ก่อน ค.ศ.) 7 มีนาคม พ.ศ. 222 (322 ก่อนค.ศ.)
John Locke ค.ศ.1632-1704 หรื อ พ.ศ.2174-2247
Adam Smith(ค.ศ.1723-1790 หรื อ พ.ศ. 2266-2333)
Alfred Marshall (ค.ศ.1842-1904 หรื อ พ.ศ.2385-2447)
John Maynard Keynes (ค.ศ.1883-1946 หรื อ พ.ศ.2426-2489)
สงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ.2457 – 2461)
Great Depression (พ.ศ.2472 – 2482)
วิกฤติการณ์ตม้ ยากุง้ ในประเทศไทย(พ.ศ.2540)
ประวัตทิ รรศนะแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
1. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก
วิชาเศรษฐศาสตร์ ในยุค กรี ก มีชื่อว่า การบริ หารจัดการครั วเรื อน
(Oikonomia)
1.1 Hesiod (เฮเซียด) : มีชีวิตอยูใ่ นช่วง
ศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศกั ราช
1. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.1 Hesiod (เฮเลียด) (ต่ อ)
เป็ นนั ก คิ ด คนแรกในยุ ค กรี กที่ มี ผ ลงานที่ มี ผ ลงานเกี่ ย วกั บ
เศรษฐศาสตร์ โดยใช้ งานกวีผสมผสานกับดนตรี เป็ นเครื่ องมือให้ การศึ กษากับ
ผู้คน มีคากลอนว่าด้ วย
“ปั ญหาเศรษฐกิจของความจากัดของทรั พยากรที่จะต้ องนามา
บ าบั ด ความต้ องการของมนุ ษ ย์ ที่ หลากหลายและไม่ มี ท่ ี สิ ้น สุ ด
ทัง้ แรงงาน วัตถุดบิ และเวลา ต้ องถูกใช้ ไปอย่ างมีประสิทธิภาพ”
นอกจากนี ้ยังเห็นด้ วยกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและให้ เน้ น คุณค่า
ของแรงงานและการแข่งขัน
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรี ก (ต่ อ)
1.2 Democritus (เดโมคริตุส) :
460 B.C – 370 B.C หรือ พ.ศ.83-173
เป็ นนัก ปรั ชญาชาวกรี ก มาจากแคว้ น
อับเดรา ทางตอนเหนือของชายฝั่ งทะเลอีเจีย น
และเป็ นสาวกของโสเครตีส (Socrates)
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรี ก (ต่ อ)
1.2 Democritus (เดโมคริตุส) (ต่ อ)
มีบทบาทสาคัญในการให้ แนวคิดที่สาคัญแก่วิชาเศรษฐศาสตร์ 2
ประการ คือ
1. ให้ กาเนิดทฤษฎีมลู ค่าที่เป็ นอัตวิสยั หมายถึง ถ้ าลดความต้ องการ
ลงก็จะทาให้ ตนรู้ สึกมัง่ คัง่ ขึ ้น ซึ่งเป็ นจุดสาคัญที่หายไปในทางเศรษฐศาสตร์
ในเศรษฐกิจปั จจุบนั และความพอใจข้ ามช่วงเวลา
2. เป็ นคนแรกที่เสนอเรื่ องเกี่ ยวกับทรัพย์ สินส่วนบุคคล ซึ่ งไม่ใช่
การรวมทุกอย่างเป็ นของพระราชา ที่ทาให้ ความพอใจของแต่ละคนลดลง
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.3 Plato (เพลโต) (427 B.C.- 347 B.C
หรื อ พ.ศ.116-196)
เป็ นนักปรัชญาชาวกรี กโบราณที่มี
อิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เป็ นลูกศิษย์
ของโสเครตีสเป็ นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็ น
นักเขียน และเป็ นผู้ก่อตังอาคาเดมี
้
ซึ่งเป็ นสานัก
วิชาในกรุงเอเธนส์
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.3 Plato (เพลโต) (ต่ อ)
เชื่อว่ามนุษย์ไม่มีทางสมบูรณ์ด้วยตัวเอง หากปล่อยให้ มนุษย์ใช้
เหตุผลเพื่อหาความสุขให้ ตวั เอง ในที่สดุ จะกลายเป็ นการสร้ างปั ญหาให้
สัง คมเป็ นผู้ น าความคิ ด ในเรื่ อ งการแบ่ ง งานและเน้ นความช านา ญ
เฉพาะทาง เป็ นผู้เสนอความคิดชุมชนนิยม (communism) สาหรั บ
ผู้ปกครอง ซึ่งเป็ นต้ นแบบทางความคิดของคาร์ ล มาร์ กซ์ ผู้นาลัทธิมาร์ ก
ซิสต์
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.4 Aristotle (อริสโตเติล)
พ.ศ.160 (384 ก่อน ค.ศ.) - 7 มีนาคม
พ.ศ. 222 (322 ก่อนค.ศ.)
เป็ นนักปรัชญากรี กโบราณ เป็ นลูกศิษย์ ของ
เพลโต และเป็ นอาจารย์ของอเล็กซานเดอร์ มหาราช
อริ สโตเติ ล และเพลโตเป็ นปรั ช ญาเมธี ผ้ ู
ยิ่งใหญ่ที่สดุ ในยุดนัน้ และอริ สโตเติลได้ รับยกย่องให้
เป็ นหนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลสูงที่ สดุ ท่านหนึ่งใน
โลกตะวันตก
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.4 Aristotle (อริสโตเติล) (ต่ อ)
เป็ นนักปราชญ์ ที่มีอิทธิ พลต่อความคิดทางสังคมและเศรษฐกิจ
มา กที่ สุ ด มี ส่ ว นส าคั ญ ที่ สนั บ สนุ น ก ารมี สิ น ท รั พ ย์ ส่ ว น บุ ค คล
(private property) และอริ สโตเติลไม่เห็นด้ วยกับเพลโตในการใช้ ระบบ
คอมมิวนิสต์ของชนชันปกครอง
้
โดยเขามีความเห็นว่า การกระทาดังกล่าว
ที่ทาให้ ชนชันปกครองมี
้
ลกั ษณะเป็ นหนึง่ เดียวนันขั
้ ดแย้ งกับลักษณะความ
หลากหลายของมนุ ษ ยชาติ แ ละท าให้ ทุ ก คนเสี ย โอกาสที่ จ ะได้ รั บ
ผลประโยชน์อนั เกิดจากการแลกเปลี่ยนในตลาด
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.4 Aristotle (อริสโตเติล) (ต่ อ)
อริสโตเติลไม่เห็นด้ วยกับการมีทรัพย์สินรวมของชุมชน ดังต่อไปนี ้
1. ทรัพย์สนิ ส่วนบุคคลจะทาให้ แต่ละบุคคลมีแรงจูงใจที่ จะผลิตได้ มาก
และนาไปสูค่ วามเจริญ เพราะแต่ละคนจะทุ่มเทความสนใจให้ แก่ทรัพย์สิน
ส่วนบุคคลของตนเป็ นหลัก
2. ที่เพลโตกล่าวว่า ทรัพย์สินส่วนรวมมีส่วนช่วยสร้ างความงบแก่
สังคม เพราะไม่มีใครอิจฉาแย่งทรัพย์สินของผู้อื่น แต่อริ สโตเติลเห็นว่ายิ่ง
เพิ่ ม ความขั ด แย้ ง เพราะแต่ ล ะคนจะคิ ด ว่ า ตนท างานมากแต่ ไ ด้
ผลตอบแทนจากส่วนกลางน้ อย
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.4 Aristotle (อริสโตเติล) (ต่ อ)
3. ทรัพย์สินส่วนบุคคลนัน้ เป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติของ
มนุษย์ มนุษย์รักตัวเอง เงินและทรัพย์สินต่างก็เป็ นเรื่ องเดียวกัน
คือธรรมชาติของความต้ องการเป็ นเจ้ าของมนุษย์
4. ทรัพย์สินส่วนบุคคลมีอยู่แล้ วเป็ นปกติในทุกหนทุกแห่ง
ความพยายามให้ สงั คมยอมรั บการสิทธิ ส่วนร่ วม เท่ากับไม่ เป็ น
การยอมรับประสบการณ์ของนุษย์เอง
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.4 Aristotle (อริสโตเติล) (ต่ อ)
5. อริ ส โตเติล เอาประเด็ น ทางคุณ ธรรมเข้ า มาพิ จ ารณา การมี
ทรัพย์สินส่วนบุคคลจะเปิ โอกาสให้ มนุษย์ด้แสดงถึงความเอื เ้ ฟื อ้ เผื่อแผ่แก่
ผู้อื่นได้
1.แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในยุคกรีก (ต่ อ)
1.5 จุดยืนที่แตกต่ างกันของเพลโต&อริสโตเติล
จุดยืนที่แตกต่างกัน คือ อริสโตเติลเห็นว่าสามารถมีเหตุผลได้
สมบูรณ์และสามารถสร้ างสวรรค์บนดินได้ ในช่วงที่มีสภาพเป็ นมนุษย์ ส่วน
เพลโตเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีทางสมบูรณ์ด้วยตัวเอง อันเป็ นผลมาจากสภาพ
ความตกต่าจากการที่เกิดมาเป็ นมนุษย์
2. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ในสมัยใหม่
มนุษย์ ทุกคนดีมาแต่ กาเนิด
เป็ นนัก ปรั ช ญา ชาวอัง กฤษ ในยุค คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ 17
ความสนใจหลักของเขา คือ สังคมและทฤษฎีของความรู้
แนวคิดของล็อกที่เกี่ยวกับ "ผู้ปกครองที่ได้ รับการยอมรับจาก
ผู้ใต้ ปกครอง" และสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ที่เขาอธิบายว่าประกอบ
ไปด้ วย ชีวิต, เสรี ภาพ, และทรัพย์สิน นันมี
้ อิทธิพลอย่ างมากต่อ
พัฒนาการทางปรั ชญาการเมือง แนวคิดของเขาเป็ นพืน้ ฐานของ
กฎหมายและรัฐบาลอเมริ กัน ซึ่งผู้บุกเบิกได้ ใช้ มนั เป็ นเหตุผลของ
การปฏิวตั ิ
สิทธิในทรัพย์สิน เป็ นสิทธิที่มีอยู่แล้ วตามธรรมชาติ เป็ นไป
ตามกฎธรรมชาติที่พระเจ้ าวางไว้ รัฐบาลต้ องเคารพสิทธินี ้ รัฐบาล
ต้ อ งปกป้ องทรั พ ย์ สิ น ของประชาชน และจะต้ อ งเคารพสิ ท ธิ ใ น
ทรั พย์สินของประชาชน นั่นคือ รั ฐบาลจะใช้ อานาจยึดทรั พย์ สิน
ของประชาชนตามใจชอบไม่ได้
“สิ่งใดก็ตามที่มนุ ษย์ แปรสภาพไปจาก
สภาพเดิมที่ธรรมชาติสร้ างไว้ หรื อทิ้งเอาไว้
มนุ ษ ย์ ไ ด้ ผสมแรงงานของตนลงไปและ
เชื่ อ มบางสิ่ ง ที่ เ ป็ นของตนเข้ ากั บ สิ่ ง นั้ น
ดังนั้น ทาให้ ส่งิ นั้นเป็ นทรั พย์ สินของตน”
บิดาแห่ งเศรษฐศาสตร์
บิดาแห่ งระบบทุนนิยมเสรี
ประวัตชิ ีวิตและการทางาน
•
•
•
•
•
อดัม สมิธเกิดที่เมือง Kirkcaldy, Scotland ประเทศอังกฤษ
ค.ศ.1723 หรือ พ.ศ.2266
เมื่อเขายังเด็กได้เข้าศึกษาที่ Burgh School
จนกระทั ่งอายุ 14 ปี จึงเข้าศึกษาต่อมหาวิ ทยาลัย กลาสโกว์ ใน
สาขาปรัชญาศีลธรรมและคณิตศาสตร์
ปี 1751-1764 ได้รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น
ศาสตราจารย์ดา้ นอักษรศาสตร์และปรัชญาศีลธรรม
ปี 1790 ถึงแก่กรรมที่เอดินเบอระ สก็อตแลนด์ เมื่ออายุ ได้ 67
ปี
ปี 1759 สมิธได้ แต่งหนังสือเล่มแรกชื่อ
“Theory of Moral Sentiment” ซึง่ เป็ นงาน
เขี ย นที่ ท าให้ สมิ ธ มี ชื่ อ เสี ย งในแวดว งนั ก
ปรัชญาในสมัยนันทั
้ นที โดยสมิธชี ้ให้ เห็นว่า
“แม้ มนุษย์จะมีความโน้ มเอียงที่ จะเห็น
แก่ตวั โดยมุ่งแสวงหาประโยชน์ส่วนตน (selfinterest) เป็ นสาคัญ แต่มนุษย์ก็ยงั มีศีลธรรม
หรื อมโนธรรมที่เกิดจากปฏิสมั พันธ์ในสังคม”
นอกจากนี ้ ในหนังสือ “Theory of Moral Sentiment”
ได้ เสนอทฤษฎีแห่ งความเห็นอกเห็นใจ (Theoryof Sympathy)
โดยชีใ้ ห้ เห็นว่ า
“การสังเกตดูพฤติกรรมของผู้อ่ ืน จะทาให้ เขาตระหนั กรู้ ใน
ตัวเองและสร้ างศีลธรรมประจาใจในตนขึน้ ”
ปี 1778 หนังสือที่สร้ างชื่อเสียง
มากที่สุดชื่อ An Inquiry into the
Nature and Causes of the Wealth of
Nations หรือรู้จักใน ชื่อ
“The Wealth of Nation”
(ความมั่งคั่งของประชาชาติ) ซึ่งสมิธใช้
เวลาเขียนนานถึง 10 ปี
 หนังสือ“The
Wealth of Nation” จัดเป็ นหนังสือ
เศรษฐศาสตร์ คลาสสิคที่ย่ ิงใหญ่ ของโลกและเป็ น
หนั งสือที่เป็ นที่ร้ ู จักมากที่สุดว่ าเป็ นภูมิปัญญาที่
ก่ อกาเนิ ดระบบการค้ าเสรี ระบอบทุนนิ ยมและ
ลัทธิเสรีนิยมประชาธิปไตยในยุคปั จจุบัน
อดัม สมิธเป็ นที่ร้ ูจกั มากที่สดุ ในฐานะผู้ให้ กาเนิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ ลทั ธิ
เสรี นิยม
 ยุโรปในศตวรรษที่ 18-19 มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจของรัฐ เข้ า
สูร่ ะบบการค้ าเสรี แบบตลาดเสรี
 กฎแห่งการทางาน (law of labor) มนุษย์ทก
ุ คนที่เกิดมาต้ องทางาน ซึง่
การทางานนัน้ ควรจะเป็ นการทางานตามความถนัดของตน (self interest) นาไปสู่การจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์
สูงสุดต่อสังคม
 การแบ่งงานกันทา(division of labor) จะทาให้ เกิดความชานาญในการ
ผลิต ซึง่ นามาสูป่ ระสิทธิภาพในการผลิต(productivity)

 กลไกตลาดเสรี
(Free Market Mechanism) :
รั ฐควรปล่ อยให้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจดาเนินไปอย่ าง
เสรี และต้ องไม่ เข้ าไปแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ
เขามีความเชื่อว่ าปั ญหาเศรษฐกิจจะไม่ เกิดขึน้ ทัง้ นี ้
เพราะจะมีกลไกการจัดการระบบเศรษฐกิจโดยอัตโนมัติ
โดยผ่ าน “มือที่มองไม่ เห็น (invisible hand)”

กลไกตลาดเสรี (Free Market Mechanism) (ต่ อ)
“มือที่มองไม่ เห็น (invisible hand)” คือกลไกตลาด จะทาให้ ระบบ
เท่ ากั บ อุ ป เศรษฐกิ จ จะเข้ าสู่ ดุ ล ยภาพได้ เอง นั่ นคื อ อุ ป สงค์
(ความต้ องการซือ้ หรื อ Demand) จะปรั บอุปทาน (ความต้ องการขาย
หรือ Supply) ได้ เองเสมอ
กล่ า วง่ า ย ๆ คื อ เขาเชื่ อ ว่ า ผลิ ตสิ น ค้ า อะไรก็ ตาม จะมี ค นซื อ้
เสมอ ทาให้ การจ้ างงานเกิดขึน้ ตลอดเวลา
มนุษย์ ทุกคนควรมีสิทธิเสรี ภาพทางเศรษฐกิจ โดย
ที่รัฐไม่ ควรเข้ ามาแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมี
หน้ า ที่ในการสร้ างความมั่ งคั่ ง ให้ กับ ประเทศและท าให้
ประชาชนอยู่ดีมีสุข โดยกระทาผ่ านการดาเนินกิจกรรม
ของรั ฐ เช่ น การป้ องกั น ประเทศ และการให้ บริ ก าร
สาธารณะแก่ ราษฎรอย่ างทั่วถึง
อดัม สมิธเห็นว่าภาษี สรรพสามิต ภาษี ศลุ กากร ภาษี กาไร (ส่วนใหญ่
คือดอกเบี ้ยสาหรับทุน ) จะสิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายมากเกินไปในการเก็บ
และทาให้ ผ้ ผู ลิตท้ อถอย เช่น ภาษีกาไร
 อดัม สมิ ธ คัด ค้ า นภาษี ที่ เ ปิ ดโอกาสให้ มี ก ารรุ ก ล า้ ความเป็ นส่ ว นตัว
โดยเฉพาะส าหรั บ ภาษี ส รรพสามิ ต นั น้ ท่ า นกล่ า วว่ า “ท าให้ ทุ ก
ครอบครั วอาจถูกเยี่ย มกรายและตรวจสอบอย่า งน่ ารั ง เกี ยจจากเจ้ า
พนักงานภาษี ...ไม่สอดคล้ องกับเสรี ภาพ”
 ภาษี ที่อดัม สมิธเสนอแนะให้ เก็บมี 2 ชนิด คือ ภาษี สินค้ าฟุ่ มเฟื อย และ
ภาษีคา่ เช่าที่ดิน โดยเน้ นให้ เก็บจากค่าเช่าที่ดินให้ มาก เนื่องจากมองว่า
เจ้ าของที่ดินไม่ได้ ลงทุนลงแรงอะไร

2.3 อัลเฟรด มาร์แชล
(Alfred Marshall)
(ค.ศ.1842-1904 หรือ
พ.ศ.2385-2447 ในรัชสมัย
ของรัชกาลที่ 3-5)
บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์จุลภาค
ประวัติการศึกษาและการทางาน
 มาร์ แชลเป็ นชาวอังกฤษเกิ ดที่ เมืองเคลเพม บิดาชื่อวิลเลี่ย ม มาร์ แชล
(William Marshall)
 มาร์ แชลได้ ศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เคมบริ ดจ์ ต่ อ จากนั น
้ ได้ รั บ
ทุนการศึกษาได้ เรี ยนต่อในระดับที่สงู ขึ ้นในสาขาเศรษฐศาสตร์
 เมื่อเรี ยนจบมาร์ แชลก็กลับมาทางานในมหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์
ในตาแหน่งศาสตราจารย์
 จุดมุ่งหมายสุดท้ ายของการศึกษาเศรษฐศาสตร์ ของมาร์ แชลมิใช่ อยู่ที่
การเรี ยนเพื่อรู้ อย่างเดียว แต่อยู่ที่การนาไปใช้ ให้ เกิด ประโยชน์ต่อการ
เพิ่มสวัสดิการทางเศรษฐกิจของมนุษยชาติ
ผลงานของ Alfred Marshall
 ปี
ค.ศ. 1890 หนังสือที่เผยแพร่ เป็ นงาน
เ ขี ย น เ ล่ ม แ ร ก ข อ ง ม า ร์ แ ช ล คื อ
“Principles of Economics” ได้ กล่าวถึง
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ว่าเป็ น
วิ ช าที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมของ
มนุษ ย์ ทัง้ ระดับบุคคลและสังคมในการ
ด าเนิ น กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ เพื่ อ การ
ดารงชีพให้ ได้ รับความสุขสมบูรณ์
ผลงานของ Alfred Marshall
 ปี
ค.ศ. 1919 มาร์ แชลได้ เขียน
หนังสือหลักเศรษฐศาสตร์ ที่เกี่ ยวกับ
เรื่ อง“อุ ต สาหกรรมและการค้ า ”
(Industry and Trade)
 ปี ค.ศ. 1923
มาร์ แชลได้ เขียน
หนังสือหลักเศรษฐศาสตร์ ที่เกี่ ยวกับ
เ รื่ อ ง “เ งิ น ต ร า สิ น เ ชื่ อ แ ล ะ ก า ร
พาณิชย์”
(Money, Credit and Commerce)
แนวคิด Alfred Marshall
 มาร์ แชลเป็ นบิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ จุลภาค โดยมาร์ แชลเป็ นผู้ให้ นิยาม
ความหมายของคาว่าเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ และอุปทานเป็ นคนแรก
 มาร์ แชลได้ นาเอาแนวความคิดของอดัม สมิธมาปรับปรุ ง โดยเน้ น ให้ เห็น
ถึ ง การมี อ ยู่ อ ย่ า งจ ากั ด ของทรั พ ยากร และการใช้ ทรั พ ยากรให้ ไ ด้
ประโยชน์ สูงสุดทังในระดั
้
บบุคคล หน่วยผลิต และประเทศ
 มาร์ แชลได้ เสนอแนวคิดเรื่ องความยืดหยุน
่ ของอุปสงค์
(Elasticity of Demand) ส่วนเกินผู้บริ โภคและส่วนเกินผู้ผลิต และกฎ
แห่งการลดน้ อยถอยลงของอรรถประโยชน์
(The Law of diminishing Utility)
แนวคิด Alfred Marshall
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
(Elasticity of Demand)
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ สามารถกล่าวง่าย ๆ คือ เมื่อ
ราคาสินค้ าเปลี่ยนแปลงไปจะส่งผลให้ ปริ มาณความต้ องการซื ้อ
(อุปสงค์)เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
แนวคิด Alfred Marshall
- ถ้ าราคาเปลี่ยนแปลงน้ อยกว่าปริ มาณสินค้ าที่เปลี่ ยนแปลงไป
แสดงว่าสินค้ านันมี
้ ความยืดหยุ่นมาก เช่น เสื ้อผ้ าแบรนด์เนม
ลดราคาที่เซ็นทรัลลาดพร้ าวลดราคานิดเดียวคนแห่มาซื อ้ เป็ น
จานวนมาก
- ถ้ าราคาเปลี่ยนแปลงมากกว่าปริ มาณสินค้ าที่เปลี่ ยนแปลง
ไป แสดงว่าสินค้ านัน้ มี ความยืดหยุ่นน้ อยเช่น สบู่แม้ ว่าจะลด
ราคาลงแต่ปริ มาณความต้ องการซือ้ ก็เปลี่ยนแปลงไปไม่ มาก
เพราะคนจาเป็ นต้ องซื ้อสบูใ่ ช้ อยูแ่ ล้ วทุกวัน
แนวคิด Alfred Marshall
 ส่ วนเกินผู้บริ โภค(Consumer’s Surplus)
◦ ส วนเกินของผู บริ โภค(Consumer’s Surplus) ก็คือ การส่วนต
างของราคาที่ยินดีจะซื ้อกับราคาที่ซื ้อจริ ง ถ าราคาที่ยินดีจะซื ้อ
หรื อความเต็มใจจ ายสูงกว าราคาที่ซื ้อจริ งก็จะเกิดส่วนเกินผู
บริโภค
◦ เช่น อาจารย์ชชั ชี่จะไปซื ้อซีดีเพลงโดยคิดว่าจะซื ้อซีดีเพลงราคา 250
บาทแต่เมื่อไปถึงร้ านซีดีเพลงลดราคาอยูเ่ หลือแผ่นละ 99 บาท ทาให้
อาจารย์ชชั ชี่ซื ้อซีดีมาในราคาถูกว่าที่คิดไว้ 151 บาทซึง่ ก็คือ ส่วนเกิน
ผู้บริโภคนัน่ เอง
แนวคิด Alfred Marshall
 ส่ วนเกินผู้ผลิต (Producer’s Surplus)
◦ ส่วนเกินผู้ผลิต (Producer’s Surplus) ก็คือ ผลต่างระหว่าง
ต้ นทุนกับราคาขาย ถ้ าต้ นทุนต่ากว่าราคาขายก็จะเกิดส่ วนเกิ น
ผู้ผลิต
◦ เช่น พี่แบงค์มีต้นทุนในการผลิตเสื ้อตัวละ 70 บาท แต่พี่แบงค์ขาย
เสื ้อได้ ในราคา 150 บาท ส่วนต่างระหว่างต้ นทุนกับราคาเสื ้อที่ขาย
80 บาท ก็คือส่วนเกินผู้ผลิตนัน่ เอง
แนวคิด Alfred Marshall

กฎแห่ งการลดน้ อยถอยลงของอรรถประโยชน์
(The Law of diminishing Utility)
- กล่าวว่า เมื่อคนบริ โภคสินค้ าหรื อบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่ มมากขึ ้นเรื่ อย
ๆ แล้ ว อรรถประโยชน์หรื อความพึงพอใจที่ได้ รับจากสินค้ าหรื อบริ การนัน้ ๆ
ในหน่วยต่อ ๆ ไปจะลดลง จนในที่สดุ เมื่อได้ รับสินค้ าหรื อบริ การนันมากเกิ
้
น
ระดับหนึ่งแล้ วความพึงพอใจในสินค้ าหรื อบริ การนันอาจจะเท่
้
ากั บศูนย์หรื อ
ติดลบได้
แนวคิด Alfred Marshall
 เช่น นางบีหิวข้ าวมากจึงไปซื ้อข้ าวมันไก่ที่บาร์ ใหม่กิน คาแรกที่กินนางบี
ก็ร้ ูสกึ อร่อยมาก (ความพอใจมาก) พอกินข้ าวคาต่อ ๆ ไปความหิวก็เริ่ ม
ลดลงเรื่ อยๆข้ าวคาต่อๆไปจึงไม่อร่อยเท่าคาแรก (ความพอใจเริ่ มลดลง)
จนถึงข้ าวคาสุดท้ ายนางบีก็เริ่ มอิ่มจนกินไม่ไหวและเหลือข้ าวทิ ้ง (ความ
พอใจเท่ากับศูนย์)
บิดาแห่ งเศรษฐศาสตร์ มหภาคผู้ย่ งิ ใหญ่ แห่ งศตวรรษที่ 20
จอห์ น เมย์ น าร์ ด เคนส์ เกิ ด ที่ เ มื อ งเคมบริ ดจ์ ประเทศอั ง กฤษ
เมื่อวันที่ 5 มิถนุ ายน 1883
 เป็ นบุตรชายคนโตของจอห์ น เนวิลล์ เคนส์ซึ่งเป็ นนักเศรษฐศาสตร์ และ
อาจารย์มีชื่อในมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์
 ปี ค.ศ.1902-1905เคนส์เรี ยนหนังสือที่อีตน
ั คอลเลจและเข้ าศึก ษาต่อด้ าน
เศรษฐศาสตร์ ที่คิงส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์
 ปี ค.ศ.1980เคนส์ได้ เป็ นผู้บรรยายวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่คิงส์คอลเลจ
 เคนส์ได้ ถึงแก่กรรมในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2489

Economic Consequences of the Peace
(1911) เป็ นผลงานที่ เ คนส์ เ ขี ย นในฐานะ
ตัวแทนกระทรวงการคลังของอังกฤษ ซึง่ ทาให้
เขาเริ่มมีชื่อเสียงระดับโลก
 The Means to Prosperity (1933)เป็ น
ผลงานของเคนส์ที่ชี ้ให้ เห็นว่าการลงทุนจานวน
มากในกิ จ กรรมสาธารณะโดยการออก
พันธบัตรรัฐบาลจะช่วยแก้ ปัญหาการว่างงาน
ได้


ในปี ค.ศ.1936เคนส์ได้ พิมพ์หนังสือที่มี อิทธิพล
ทางเศรษฐศาสตร์ แ ละนับ ว่ า เป็ นหนัง สื อ ที่ มี
ชื่อเสียงมากที่สดุ คือ “The General Theory of
Employment, Interest and Money” ซึง่ เป็ น
การวิ เ คราะห์ ส าเหตุ ข องการว่ า งงานและ
มาตรการในการเพิ่มการจ้ างงานและรายได้ อัน
เป็ นพื น้ ฐานส าคั ญ ในการก าหนดนโยบาย
เศรษฐกิจมหภาคของรัฐบาลในยุคต่อมา และ
เป็ นที่ร้ ูจกั ในนาม “Keynesian Policy”

แนวคิดของเคนส์เริ่ มได้ รับความนิย มในปี
1930 จากวิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ตกต่ า ครั ง้
ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ หรื อที่ ร้ ู จกั กันใน
ชื่อ “Great Depression” ซึ่งแนวคิด
ของอดั ม สมิ ธ ไม่ ส ามารถแก้ ไขวิ ก ฤต
เศรษฐกิจในขณะนันได้
้
ค าพู ด ของเคนส์ ที่ ค้ านกั บ แนวคิ ด ของ
อดั ม สมิ ธ อย่ า งชั ด เจนในขณะนั น้ คื อ
"In the long run, everybody dies" (นาน
กว่านี ้ทุกคนก็ตายกันหมดแล้ ว)
 เคนส์ได้ ชี ้ให้ เห็นว่ากลไกราคาในระบบตลาด
เสรี ของอดัม สมิธไม่อาจช่วยแก้ ปัญหาการ
ว่างงาน ปั ญหา เงินเฟ้อ เงินฝื ด หรื อ ภาวะ
ตกต่าทางเศรษฐกิจได้ จาเป็ นต้ องพึ่ งพา
บทบาทบาทของรั ฐบาลผ่ านการดาเนิ น
นโยบายการเงินและการคลังที่เหมาะสม

เคนส์ บอกว่าการปล่อยให้ ระบบเศรษฐกิจดาเนินไปโดยไม่มีก าร
แทรกแซงจากรัฐบาลจะไม่ก่อให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และไม่ก่ อให้ เกิด
การจ้ า งงานเต็ ม ที่ เนื่ อ งจากบางช่ ว งเวลา อุป สงค์ ม วลรวม(Aggregate
Demand) มีไม่มากพอ โดยเฉพาะในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่า (Depression)
การบริ โภคและการใช้ จ่ายลดลง การผลิตลดลง การจ้ างงานลดลง มีการ
ปลดคนงานออก เกิดการว่างงาน ประชาชนมีรายได้ ลดลง ส่งผลให้ การ
ลงทุนลดลงนาไปสูร่ ายได้ ประชาชาติของประเทศที่ลดลง
การกระตุ้นอุปสงค์ให้ อยูใ่ นระดับที่ทาให้ เกิดการจ้ างงานเต็มที่จงึ เป็ น
จุดหมายสาคัญที่จะทาให้ ระบบเศรษฐกิจเข้ าสูจ่ ดุ ดุลยภาพ โดยภาครัฐ
และเอกชนต้ องมีบทบาทร่วมกันในการกระตุ้นเศรษฐกิจ
 นอกจากนี ้ เคนส์ยงั ได้ วิเคราะห์ถึงหลักการและตัวแปรทังหลายในระบบ
้
เศรษฐกิจที่มีความเกี่ยวข้ องสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ ชิด ทัง้ การผลิต การ
จ้ างงาน รายได้ การออม การบริโภค การลงทุน การส่งออก ราคา
สินค้ าและบริการ รวมถึงปริมาณเงินและอัตราดอกเบี ้ย

เคนส์ถือได้ วา่ เป็ นบิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ มหภาค โดยเคนส์บอกว่า
นโยบายทางเศรษฐกิจขึ ้นอยูก่ บั ตัวแปรพื ้นฐานที่สาคัญ 4 ตัวแปรซึง่ เป็ น
ที่มาของรายได้ ประชาชาติ (Y) ของประเทศได้ แก่ การบริโภค
(Consumption: C) การลงทุน (Investment: I) การใช้ จ่ายของภาครัฐ
(Government spending: G) และการส่งออกสุทธิ (Net Export: X-M
คือ Export-Import) ทาให้ สามารถเขียนเป็ นสมการดังนี ้
 Y = C+I+G+(X-M)

ความรู้ ท่ วั ไปทางเศรษฐศาสตร์
ปั ญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์
(Economics of Basic Problem)
การที่ทรัพยากรมีจากัดเมื่อเทียบกับความต้ องการของ
มนุษย์ที่มีอยูอ่ ย่างไม่จากัด ทาให้ เกิดปั ญหาพื ้นฐาน
เศรษฐศาสตร์ ที่สาคัญคือ "ปั ญหาการขาดแคลน" ซึง่ ก่อให้ เกิด
ปั ญหาการจัดระบบผลิต (ปั ญหาการจัดสรรทรัพยากร) โดย
สาระสาคัญของปั ญหาการจัดสรรทรัพยากร คือ จะผลิตอะไร
อย่างไร และเพื่อใคร
ปั ญหาพืน้ ฐาน : What ,How and For whom
1. จะผลิตอะไร (What) : ควรผลิตสินค้ า - บริการอะไรใน
ปริมาณ เท่าใด
2. จะผลิตอย่ างไร (how): โดยใช้ ทรัพยากรได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพมากที่สดุ
3. จะผลิตเพื่อใคร (for whom) : จะกระจายสินค้ าบริการไปให้
ใคร
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
1. ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม
(Laissez-Faire or Capitalism)
เป็ นระบบเศรษฐกิ จที่ให้ เสรี ภาพแก่ภาคเอกชนในการเลือ ก
ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สามารถ
เป็ นเจ้ าของปั จจัยการผลิตหรื อเศรษฐทรัพย์ตา่ ง ๆ ที่ตนหามาได้
มีเสรี ภาพในการประกอบธุรกิจ รวมทังการเลื
้
อกอุปโภคบริ โภคสิ นค้ า
และบริการต่าง ๆ
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
2. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism)
ตรงกันข้ ามกับระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยมหรื อทุนนิยม
• รัฐบาลเป็ นเจ้ าของทรัพยากรต่างๆ รวมทังปั
้ จจัยการผลิตทุกชนิด เอกชน
ไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ตลอดจนเสรี ภาพที่จะเลือกใช้ ปัจจัยการผลิตได้
• รัฐบาลเป็ นผู้ประกอบการและทาหน้ าที่จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ หน่วย
ธุรกิจและครัวเรื อน จะผลิตและบริโภคตามคาสัง่ ของรัฐ
• กลไกราคาไม่มีบทบาทในการแก้ ไขปั ญหาพื ้นฐานทางเศรษฐกิจ การ
แก้ ไขปั ญหาพื ้นฐานทางเศรษฐกิจกระทาโดยรัฐบาล
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
2. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) (ต่ อ)
รัฐบาลจะเป็ นผู้ทาหน้ าที่ตดั สินใจว่า ทรัพยากรต่างๆที่ มีอยู่ควรจะ
น ามาผลิตสินค้ าและบริ การอะไร ผลิตอย่า งไร และผลิตเพื่อใคร การ
ตัดสินใจ มักจะทาอยู่ในรูปของ การวางแผนแบบบังคับจากส่ วนกลาง
(central planning) โดยคานึงถึงสวัสดิการ ของสังคมส่วนรวมเป็ นสาคัญ
โดยสรุ ประบบเศรษฐกิจแบบนีจ้ ะมีลกั ษณะเด่นอยู่ที่การรวมอานาจทุก
อย่าง ไว้ ที่ส่วนกลางรั ฐบาลจะเป็ นผู้ว างแผนแต่เพี ยงผู้เดี ยว เอกชนมี
หน้ าที่เพียงแต่ทาตามคาสัง่ ของทางการเท่านัน้
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
3. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism)
• เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีลกั ษณะใกล้ เคียงกับแบบคอมมิวนิสต์
• รัฐเป็ นผู้ครอบครองทรัพยากรการผลิตพื ้นฐานไว้ เกือบทังหมด
้
และกาหนด
แนวทางการแก้ ไขปั ญหาพื ้นฐานกิจการหลักที่มีความสาคัญต่ อเศรษฐกิจ
ส่ วนรวมของประเทศ เช่น กิจการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการต่างๆ
ฯลฯ รัฐจะเป็ นผู้เข้ ามาดาเนินการเอง
• รัฐยังให้ เสรี ภาพแก่ประชาชนบ้ างพอสมควร เอกชนมีเสรี ภาพและกรรมสิทธิ์
ในการถือครอง
•โดยสรุ ป อาศัยกลไกรั ฐเป็ นกลไกสาคัญในการจัดสรรทรัพยากรของระบบ
เศรษฐกิจ แต่ทว่ากลไกราคาพอจะมีบทบาทอยูบ่ ้ างในระบบเศรษฐกิจนี ้
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
มี ลัก ษณะผสมผสานระหว่า งระบบเศรษฐกิ จ แบบทุน นิ ย มกับ แบบ
สัง คมนิ ยม กล่าวคือ ทัง้ รั ฐบาลและเอกชนต่า งมี ส่ว นร่ ว มในการแก้ ไ ข
ปั ญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ ปั จจัยการผลิตมีทัง้ ส่วนที่เป็ นของรั ฐบาล
และเอกชน
ในส่วนที่เป็ นแบบทุนนิยม คือ เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินบางอย่าง
มีเสรี ภาพในการเลือกผลิตหรื อบริ โภค ใช้ ระบบของการแข่งขัน กลไกราคา
เข้ ามาทาหน้ าที่จดั สรรทรัพยากร
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) (ต่ อ)
ส่วนที่เป็ นแบบสังคมนิยม คือ รัฐบาลเข้ ามาควบคุมหรื อเข้ ามาดาเนิน
กิจการที่มีความสาคัญต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศ
เช่น กิจการสาธารณูปโภค อุตสาหกรรมหลัก และอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่
ต้ อ งมี ก ารลงทุน มากและเป็ นปั จ จัย พื น้ ฐานต่อ การด ารงชี พ เช่ น ไฟฟ้ า
น ้าประปา การขนส่ง และคมนาคม เหตุที่รัฐบาลเข้ ามาดาเนินการในกิจการ
ดัง กล่า วก็ เ พื่ อ ขจัด ปั ญ หาในเรื่ อ งการผูก ขาดหรื อ เอารั ด เอาเปรี ยบจาก
เอกชน
โดยสรุ ปแล้ วระบบเศรษฐกิจแบบผสมจึงเป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีก ารใช้
ทังระบบกลไกราคา
้
ควบคูไ่ ปกับระบบกลไกรัฐในการจัดสรรทรัพยากร
GDP (gross domestic product)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
หมายถึ ง มูลค่าตลาดของสิ นค้าและบริ การขั้น สุ ด ท้ายที่ ถูก
ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่ งๆ โดยไม่คานึ งว่าผลผลิตนั้นจะผลิต
ขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด
 ซึ่ งถูกคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ ชาวรัสเซี ย
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็ นตัวบ่งชี้ถึงมาตรฐานการ
ครองชีพของประชากรในประเทศนั้นๆ
 ดัช นี ช้ ี วัด ผลิ ต ภัณ ฑ์ม วลรวมของประเทศ แต่ ไ ม่ ส ามารถชี้ วัด
คุณภาพชีวิตที่แท้จริ งได้
GNH (Gross National Happiness)
ความสุขมวลรวมประชาชาติ
หมายถึง การให้ความสาคัญกับความสุ ขของประชาชนใน
ประเทศมากกว่าความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ
ในเชิ ง เศรษฐศาสตร์ GDP
ก็ คื อ ปั จ จัย ส่ ง ออกจาก
กระบวนการผลิต และ GNH ก็คือ ปั จจัยส่ งออกจากกระบวนการ
บริ โภคความพยายามที่จะหลีกเลี่ยงการใช้ GDP แล้วหันมาใช้ GNH
เป็ นเครื่ องชี้ สภาวะทางเศรษฐกิ จแทนนั้น เปรี ยบเหมือนกับการถ่าย
โอนน้ าหนักความสาคัญจากกิจกรรมการผลิตมาสู่กิจกรรมการบริ โภค
ทั้งที่ในทางปฏิบตั ิไม่สามารถละเลยความสาคัญของกิจกรรมการผลิต
หรื อการบริ โภคอันใดอันหนึ่งลงไปได้
GNP(Gross National Product)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
หมายถึง มูลค่าของสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายทั้งหมดที่
ผลิตขึ้นในระยะเวลาหนึ่ ง โดยใช้ทรัพยากรที่คนประเทศนั้นๆ เป็ น
เจ้าของปั จจัย ไม่ว่าจะโดยการผลิตภายในประเทศ หรื อ โดยการไป
ผลิตในต่างประเทศก็ตาม
อีกนัยหนึ่ ง คือ ผลิตผลหรื อรายได้ที่พลเมืองของประเทศ
นั้นได้ก่อให้เกิดขึ้นภายในประเทศ บวกด้วย ผลผลิตหรื อรายได้ที่
พลเมืองของประเทศนั้นก่อให้เกิ ดขึ้นในต่างประเทศ หรื อรายได้
สุ ทธิจากต่างประเทศ (Net Factor Income from Abroad)
นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
เพื่อการควบคุมปริ มาณเงินและสิ นเชื่อ โดยธนาคารกลางแบ่งเป็ น
 นโยบายการเงินแบบเข้ มงวด
ผลที่ได้จะทาให้ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง
 นโยบายการเงินแบบผ่ อนคลาย
ผลที่ได้จะทาให้ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น
ภาวะเงินเฟ้ อ ( inflation) หมายถึง การทีร่ ะดับราคาราคาของ
สินค้าหรือการบริการในช่วงระยะเวลาหนึ่งราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ
อย่างต่อเนื่อง
ภาวะเงินฝื ด(Deflation) เป็ นภาวะทีร่ ะดับราคาสินค้าและ
บริการทัว่ ไปลดตา่ ลงเรื่อยๆ
นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
หมายถึง นโยบายที่เกี่ ยวกับการใช้รายได้ และรายจ่ายของ
รัฐบาลเป็ นเครื่ องมือให้บรรลุเป้ าหมายทางเศรษฐกิจ
ประเภทของนโยบายการคลัง
1.
2.
นโยบายการคลัง แบบขยายตั ว (ใช้ง บประมาณขาดดุ ล ) โดยมี
รายจ่ายรัฐบาลมากกว่ารายรับ ใช้ ในกรณี เศรษฐกิจตกตำ่
นโยบายการคลังแบบหดตัว (ใช้งบประมาณเกินดุล) โดยมีรายรั บ
มากกว่ารายจ่าย ใช้ ในกรณี เศรษฐกิจฟองสบู่ เกิดภำวะเงินเฟ้ อ
งบประมาณ ( Budgeting )
นโยบายงบประมาณแผ่นดิน แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท

งบประมาณสมดุล (Balance Budget Policy)
รายรับ = รายจ่าย
เพื่อ แก้ไ ขปัญ หาเสถีย รภาพทางเศรษฐกิ จ ใช้ใ นช่ ว งที่เ ศรษฐกิ จ
ขยายตัวในอัตราสูง

งบประมาณเกินดุล (Surplus Budget Policy)
รายรับ > รายจ่าย
เพื่อแก้ไขปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ใช้ช่วงที่เศรษฐกิจเกิดปัญหา
เงินเฟ้ อ
 งบประมาณขาดดุล (Deficit Budget Policy)
รายได้ < รายจ่าย
เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกตา่ ให้ขยายตัว แก้ไขปัญหาการ
ว่างงาน
หนี้ สาธารณะ (Public Debt)
 หนีส้ าธารณะ หมายถึง หนี้สินของรัฐบาลซึ่งอยูใ่ นรู ปของสัญญา
ที่ รั ฐ บาลให้ไ ว้แ ก่ ผูท้ ี่ รั ฐ บาลกู้ยืม ว่า รั ฐ บาลจะจ่ า ยคื น เงิ น ต้น
พร้ อ มดอกเบี้ ย จ านวนหนึ่ งให้ แ ก่ ผูท้ ี่ รั ฐ บาลขอกูย้ ื ม เมื่ อ ครบ
กาหนดเวลา กล่าวง่าย ๆ คือ หนี้สาธาณะเป็ นหนี้ที่รัฐบาลเป็ น
ผูก้ ่อนัน่ เอง
 ตัวแทนในการกู้ กระทรวงการคลัง
 แหล่งให้ ก้ ู ธนาคารพาณิ ชย์,ธนาคารออมสิ น,สถาบันการเงินอื่น ,
ธนาคารโลก
 หลักทรัพย์ รัฐบาล ตัว๋ เงินคลัง , พันธบัตรรัฐบาล
วัตถุประสงค์ของการก่อหนี้ สาธารณะ
1) เพื่อการลงทุนพัฒนาเศรษฐกิจ เป็ นรายจ่ายลงทุนในโครงการพัฒนา
โครงการก่อสร้างสาธารณูปโภค , การศึกษา , การสาธารณสุข
2)เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ทัง้ ด้านรายได้ (เศรษฐกิจขยายตัว-เศรษฐกิจหดตัว)
และระดับราคา (เงินเฟ้ อ-เงินฝื ด)
3)เพือ่ ชดเชยงบประมาณที่ขาดดุล (รายรับ<รายจ่าย)
4)เพื่อใช้จา่ ยในยามฉุกเฉิ น เช่น ประสบภัยทางธรรมชาติ สงคราม
อุปสงค์ (Demand)
ความหมายของอุปสงค์
อุปสงค์ หมายถึง ปริ มาณสินค้าและบริ การชนิ ดใดชนิ ด
หนึ่ งที่มีผตู้ อ้ งการซื้ อ ณ ระดับราคาตางๆ ของสินค้าชนิ ดนั้นภายใน
ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ ง โดยสมมุติให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่
ความต้องการในที่นี้ต้องมีอานาจซื้อ (purchasing power
หรือ ability to pay) ด้วย ถ้าบุคคลใดบุคคลหนึ่ ง มีแตความต้องการ
ในตัวสินค้าโดยไมมีเงินที่จะจายซื้ อ เราเรียกความต้อ งการลักษณะ
นั้นวา “ความต้องการ (want)” ไมใช อุปสงค์ ดังนั้น องค์ประกอบ
ของอุปสงค์ จะประกอบด้วย ความต้องการและอานาจซื้อ
กฏของอุปสงค์ (Law of Demand)
อธิบายถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในการตัดสินใจซื้ อสิ นค้าเมื่อ
ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป กฎของอุปสงค์กลาววา "ปริมาณสินค้า
ที่ผูบ้ ริโภคต้องการซื้ อในขณะใดขณะหนึ่ งจะมีความสัม พันธ์ในทาง
ตรงกันข้ามกับราคาสินค้าชนิ ดนั้ น " โดยมีขอ้ สมมติให้ปัจจัยอื่นๆ
คงที่ แสดงวา
อุปทาน(Supply)
 ความหมายของอุปทาน
อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริมาณสินค้าและบริการชนิ ด
ใดชนิ ด หนึ่ ง ที่ ผู้ผ ลิ ต เต็ ม ใจน าออกเสนอขาย ในตลาดภายใน
ระยะเวลาหนึ่ ง ณ ระดับราคาตางๆ กันของสินค้าและบริการนั้ น
โดยสมมติให้ปัจจัยอื่นๆที่กาหนดอุปทานคงที่
 กฎของอุปทาน (Law of Supply)
จะอธิบายถึงพฤติกรรมของผูผ้ ลิตในการแสวงหากาไรสู งสุด
กฎของอุปทานกลาววา
“ปริ มาณสินค้า ที่ ผูผ้ ลิ ตเต็ มใจจะนาออกขายในระยะเวลา
หนึ่ งขึ้ นอยูกับราคาสินค้านั้นๆ ในทิศทางเดียวกัน”
กล าวคื อ เมื่ อ ราคาสิ น ค้ า สู ง ขึ้ น ปริ ม าณอุ ป ทานจะ
เพิ่มขึ้ น เนื่ องจากผูผ้ ลิตมีความต้องการที่จะเสนอขายมากขึ้ น เพราะ
คาดการณ์วาจะได้กาไรสูงขึ้ น ในทางกลับกัน เมื่อราคาสิ นค้าลดลง
ปริมาณอุปทานจะน้อยลง เนื่ องจากคาดการณ์วากาไรที่ได้จะลดลง
ดุลยภาพ (Equilibrium )
จากที่ได้กลาวมาแล้วถึงความต้องการซื้ อ และความต้องการ
ขายสินค้า ณ ระดับราคาตาง ๆ ของทั้งผูบ้ ริโภคและผูผ้ ลิต
ดังนั้น ระดับดุลยภาพ ก็คือ ระดับราคาที่ผซู้ ื้ อและผูข้ ายเห็น
พ้องต้องกัน หรือระดับราคาที่อุปสงค์เทากับอุปทาน หรือเส้นอุปสงค์
ตัดกับเส้นอุปทาน ดังภาพ
สหกรณ์
สหกรณ์ คือ องค์การธุรกิจซึ่งกลุ่มบุคคลผู้มีอาชีพเหมือนกัน หรื อ
อาศัย อยู่ในท้ องที่ใกล้ เคียงกันและมีวตั ถุประสงค์อย่างเดียวกัน รวมตัวกัน
เป็ นสมาชิก ก่อตังและจดทะเบี
้
ยนเป็ นนิติบคุ คลต่อนายทะเบียนสหกรณ์ตาม
พระราชบัญญัติสหกรณ์ เพื่อร่ วมมือกันดาเนินธุรกิจอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อ
หลายอย่าง
สหกรณ์เป็ นของสมาชิก บริหารงานโดยสมาชิก และเพื่อผลประโยชน์
ของสมาชิกทังนี
้ ้ เพื่อสร้ างสรรค์และปรับปรุ งการประกอบสัมมาชี พและความ
เป็ นอยู่ใ ห้ ดี ขึ น้ ส่ ง ผลให้ ประเทศชาติ มี ก ารพัฒ นาเศรษฐกิ จ สัง คม และ
ประชาธิปไตยด้ วยวิธีการสหกรณ์ ซึง่ ยึดหลักการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึง่
กันและกันเป็ นวิธีการในการดาเนินงาน
สหกรณ์ (ตอ)
บิดาของสหกรณ์ คือ โรเบิร์ต โอเว่ น ซึ่งความคิด เรื่ อง
การสหกรณ์ เกิ ด ขึ น้ ในประเทศไทย ในสมั ย รั ชกาลที่ 5
ประมาณ พ.ศ. 2457
ลักษณะมูลฐานของสหกรณ์ ประกอบด้ วย
1 . ก ลุ่ ม บุ ค ค ล ที่ มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ ย่ า ง เ ดี ย ว กั น
2 . เ จ ต น า ร ม ณ์ ที่ จ ะ ช่ ว ย ต น เ อ ง แ ล ะ ช่ ว ย เ ห ลื อ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น
3. จัดตัง้ องค์ กรทางธุรกิจขึน้ และร่ วมกันดาเนินการอย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้
บรรลุวตั ถุประสงค์
4. วัตถุประสงค์ขององค์การธุรกิจนี ้คือ ส่งเสริ มผลประโยชน์ของสมาชิกและ
ครอบครัว
รัฐสวัสดิการ
รั ฐสวัสดิการ (Welfare state) เป็ นระบบทางสังคมที่ รัฐให้
หลัก ประกัน แก่ ป ระชาชนทุก คนอย่า งเท่ า เที ย มกัน ในด้ า นปั จ จัย พื น้ ฐานที่
จาเป็ นสาหรับการมีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี เช่น
• หลักประกันด้ านสุขภาพ ทุกคนมีสทิ ธิ์ได้ รับบริการป้องกันและรักษาโรคฟรี
• หลั ก ประกั น ด้ านการศึ ก ษา ทุ ก คนมี โ อกาสได้ รั บ การศึ ก ษาตาม
ความสามารถโดยได้ รับทุนการศึกษาฟรี จนทางานได้ ตามความสามารถใน
การเรี ยน
รัฐสวัสดิการ(ต่ อ)
• หลักประกันด้ านการว่างงาน รัฐต้ องช่วยให้ ทุกคนได้ งานทา ใครยังหา
งานไม่ได้ รัฐต้ องให้ เงินเดือนขันต
้ ่าไปพลางก่อน
• หลัก ประกั น ด้ านชราภาพ รั ฐ ให้ หลัก ประกั น ด้ านบ านาญส าหรั บ
ผู้สงู อายุทกุ คน หลักประกันด้ านที่อยูอ่ าศัย ที่ดินทากิน เป็ นต้ น
รัฐสวัสดิการถูกสร้ างสรรค์ขึ ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั ง้ ที่สอง
ในประเทศอังกฤษ สวีเดน นอร์ เวย์ เดนมาร์ ก เนเธอร์ แลนด์ เยอรมนี ด้ วย
นโยบายสังคมของพรรคแรงงาน พรรคสังคมประชาธิ ปไตย และพรรค
สังคมนิยมในยุโรป